SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต 
           สาขาวิชาการสอนภาษาไทย  ภาควิชาหลักสูตรและการสอน 
           คณะครุศาสตร  มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 
                    หลักสูตรปรับปรุง  พุทธศักราช  ๒๕๕๐ 


๑.  ชื่อหลักสูตร 
    ๑.๑  ชื่อหลักสูตรภาษาไทย           :  หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต 
                                           สาขาวิชาการสอนภาษาไทย 
      ๑.๒  ชื่อหลักสูตรภาษาอังกฤษ  :  Bachelor  of  Arts  Programme 
                                           in  Thai Language Teaching 
๒.  ชื่อปริญญา 
      ๒.๑  ชื่อเต็มภาษาไทย             :  พุทธศาสตรบัณฑิต  (การสอนภาษาไทย) 
           ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ  :  Bachelor of  Education 
                                           (Thai Language Teaching) 
      ๒.๒  ชื่อยอภาษาไทย              :  พธ.บ.  (การสอนภาษาไทย) 
           ชื่อยอภาษาอังกฤษ           :  B. Ed. (Thai Language Teaching) 
๓.  หนวยงานที่รับผิดชอบ 
      ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 
๔.  วัตถุประสงคของหลักสูตร 
      ๔.๑  เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีความรูความเขาใจในภาษาไทย 
      ๔.๒  เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีความสามารถในการสอนภาษาไทย 
      ๔.๓  เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีความสามารถนําความรูทางพุทธศาสตรและภาษาไทยมาประยุกต 
เพื่อแกปญหาและพัฒนาสังคม 
      ๔.๔  เพื่อผลิตบัณฑิตใหเปนผูนําที่มีศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม ตามหลักพระพุทธ-ศาสนา 
๕.  โครงสรางหลักสูตร 
      ๕.๑  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                               ๓๐       หนวยกิต 
      ๕.๒  หมวดวิชาชีพครู                                    ๕๐       หนวยกิต 
      ๕.๓  หมวดวิชาเฉพาะดาน                                 ๙๑       หนวยกิต 
              ๑)  วิชาแกนพระพุทธศาสนา                        ๓๐       หนวยกิต 
              ๒)  วิชาพระพุทธศาสนาประยุกต                   ๑๐       หนวยกิต
คณะครุศาสตร 

             ๓)  วิชาเฉพาะสาขา                          ๕๑        หนวยกิต 
    ๕.๔  หมวดวิชาเลือกเสรี                              ๖         หนวยกิต 
                  รวม                                 ๑๗๗         หนวยกิต 
๖.  รายวิชา 
    ๖.๑  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป  ๓๐  หนวยกิต 
           ดูรายละเอียดในหมวดวิชาศึกษาทัวไป ในสาขาวิชาพระพุทธศาสนา คณะพุทธศาสตร 
                                         ่
    ๖.๒  หมวดวิชาชีพครู  ๕๐  หนวยกิต 
           ดูรายละเอียดในหมวดวิชาชีพครู ในสาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร 
       ๖.๓  หมวดวิชาเฉพาะดาน  ๙๑  หนวยกิต 
           ๑) วิชาแกนพระพุทธศาสนา  ๓๐  หนวยกิต 
              ดูรายละเอียดในวิชาแกนพระพุทธศาสนา  ในสาขาวิชาพระพุทธศาสนา 
คณะพุทธศาสตร 
              ๒)  วิชาพระพุทธศาสนาประยุกต  ๑๐  หนวยกิต 
              ดูรายละเอียดในวิชาพระพุทธศาสนาประยุกต  ในสาขาวิชาการบริหารการศึกษา 
คณะครุศาสตร
           ๓)  วิชาเฉพาะสาขา  ๕๑  หนวยกิต 
    ใหนิสิตสาขาวิชาการสอนภาษาไทย เรียนรายวิชาในวิชาเฉพาะสาขา ๕๑ หนวยกิต  โดยเรียน 
วิชาบังคับ ๓๐ หนวยกิต  และวิชาเลือก ๒๑ หนวยกิต  มีรายละเอียดดังนี้ 
          ก.  วิชาบังคับ  ๓๐  หนวยกิต 
          ๒๐๔  ๓๐๑  หลักภาษาไทยสําหรับครู                                ๓(๓-๐-๖) 
          ๒๐๔  ๓๐๒  การใชภาษาไทยสําหรับครู                              ๓(๒-๒-๕) 
          ๒๐๔  ๓๐๓  การพัฒนาทักษะการอาน                                 ๓(๓-๐-๖) 
          ๒๐๔  ๓๐๔  การพัฒนาทักษะการเขียน                                ๓(๓-๐-๖) 
          ๒๐๔  ๓๐๕  รอยกรองไทย                                          ๓(๓-๐-๖) 
          ๒๐๔  ๓๐๖  วรรณคดีสาหรับครู 
                                  ํ                                      ๓(๓-๐-๖) 
          ๒๐๔  ๓๐๗  คติชนวิทยากับกระบวนการเรียนรู                       ๓(๒-๒-๕) 
          ๒๐๔  ๓๐๘  การวัดและประเมินผลการเรียนรูภาษาไทย                 ๓(๓-๐-๖) 
          ๒๐๔  ๓๐๙  การวิจัยการเรียนการสอนภาษาไทย                        ๓(๒-๒-๕) 
          ๒๐๔  ๓๑๐  การสอนภาษาไทย                                        ๓(๒-๒-๕) 
          ข.  วิชาเลือก  ๒๑  หนวยกิต 
          ๒๐๔  ๔๑๑  สัมมนาการสอนภาษาและวรรณคดีไทย                        ๓(๒-๒-๕)
คณะครุศาสตร 

         ๒๐๔  ๔๑๒  สัมมนางานเขียนรอยแกวและรอยกรอง                    ๓(๒-๒-๕) 
         ๒๐๔  ๔๑๓  วรรณคดีวิจารณ                                       ๓(๓-๐-๖) 
         ๒๐๔  ๔๑๔  ภาษาถิ่นสําหรับครู                                   ๓(๓-๐-๖) 
         ๒๐๔  ๔๑๕  ภาษาศาสตรสําหรับครู                                 ๓(๓-๐-๖) 
         ๒๐๔  ๔๑๖  วิวัฒนาการของภาษาไทย                                 ๓(๓-๐-๖) 
         ๒๐๔  ๔๑๗  วิเคราะหแบบเรียนภาษาไทย                             ๓(๓-๐-๖) 
         ๒๐๔  ๔๑๘  การเขียนเชิงสรางสรรค                               ๓(๓-๐-๖) 
         ๒๐๔  ๔๑๙  ภาษาบาลีและสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย                ๓(๓-๐-๖) 
         ๒๐๔  ๔๒๐  ภาษาเขมรที่เกี่ยวกับภาษาไทย                          ๓(๓-๐-๖) 
         ๒๐๔  ๔๒๑  ภาษาตางประเทศในภาษาไทย                              ๓(๓-๐-๖) 
         ๒๐๔  ๔๒๒  การสอนภาษาไทยแกชาวตางประเทศ                        ๓(๓-๐-๖) 
         ๒๐๔  ๔๒๓  วรรณคดีพระพุทธศาสนา                                  ๓(๓-๐-๖) 
         ๒๐๔  ๔๒๔  วรรณคดีประวัตศาสตร     ิ                            ๓(๓-๐-๖) 
         ๒๐๔  ๔๒๕  วรรณคดีเปรียบเทียบ                                   ๓(๓-๐-๖) 
         ๒๐๔  ๔๒๖  วรรณกรรมปจจุบัน                                     ๓(๓-๐-๖) 
         ๒๐๔  ๔๒๗  วรรณกรรมการเมือง                                     ๓(๓-๐-๖) 
         ๒๐๔  ๔๒๘  ตรรกศาสตรทางภาษา                                    ๓(๓-๐-๖) 
         ๒๐๔  ๔๒๙  ศึกษาอิสระทางการสอนภาษาไทย                           ๓(๐-๖-๖) 
        ๖.๔  หมวดวิชาเลือกเสรี  ๖  หนวยกิต 
        นิสิตตองศึกษารายวิชาอื่น ๆ ที่เปดสอนในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยเปน 
วิชาเลือกเสรี จํานวน  ๖ หนวยกิต  โดยความเห็นชอบของอาจารยที่ปรึกษา 
        ๖.๕  วิชาโท  ๑๘  หนวยกิต 
        นิสิตสาขาวิชาอื่นที่ประสงคจะศึกษาสาขาวิชาการสอนภาษาไทย เปนวิชาโท  ตองศึกษา 
วิชาเฉพาะสาขา ไมนอยกวา ๑๘  หนวยกิต โดยศึกษาวิชาบังคับ ๑๒  หนวยกิต  และวิชาเลือก ๖ 
หนวยกิต  มีรายละเอียดดังนี้ 
        ๑)  วิชาบังคับ  ๑๒  หนวยกิต 
         ๒๐๔  ๓๐๑  หลักภาษาไทยสําหรับครู                                 ๓(๓-๐-๖) 
         ๒๐๔  ๓๐๒  การใชภาษาไทยสําหรับครู                               ๓(๒-๒-๕) 
         ๒๐๔  ๓๐๖  วรรณคดีสาหรับครู 
                                   ํ                                     ๓(๓-๐-๖) 
         ๒๐๔  ๓๑๐  การสอนภาษาไทย                                         ๓(๒-๒-๕) 
         ๒)  วิชาเลือก  ๖  หนวยกิต
คณะครุศาสตร 

        ใหเลือกศึกษาจากรายวิชาอื่น ๆ  ในสาขาวิชาการสอนภาษาไทย ไมนอยกวา  ๖  หนวยกิต 
โดยความเห็นชอบของอาจารยที่ปรึกษา 
๗.  คําอธิบายรายวิชา 
      ๗.๑  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป  ๓๐  หนวย 
     ดูรายละเอียดในหมวดวิชาศึกษาทัวไป ในสาขาวิชาพระพุทธศาสนา คณะพุทธศาสตร 
                                       ่
     ๗.๒  หมวดวิชาชีพครู  ๕๐  หนวยกิต 
     ดูรายละเอียดในหมวดวิชาชีพครู ในสาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร 
     ๗.๓  วิชาแกนพระพุทธศาสนา  ๓๐  หนวยกิต 
     ดูรายละเอียดในวิชาแกนพระพุทธศาสนา ในสาขาวิชาพระพุทธศาสนา  คณะพุทธศาสตร 
     ๗.๔  วิชาพระพุทธศาสนาประยุกต  ๑๐  หนวยกิต 
     ดูรายละเอียดในวิชาพระพุทธศาสนาประยุกต  ในสาขาวิชาการบริหารการศึกษา  คณะ ครุ 
ศาสตร 
     ๗.๕  วิชาเฉพาะสาขา  ๕๑  หนวยกิต 
               ๑)  วิชาบังคับ  ๓๐  หนวยกิต 
๒๐๔  ๓๐๑  หลักภาษาไทยสําหรับครู                                          ๓(๓-๐-๖) 
               (Foundation of Thai Language for Teachers) 
        ศึกษาหลักและลักษณะสําคัญของภาษาไทย  ระบบเสียง  อักขรวิธี   คําและโครงสรางของ 
คํา    การสรางคํา    การจําแนกคํา    ชนิดและโครงสรางของวลีและประโยคและการใชถอยคํา 
วิเคราะหหลักภาษาไทยเพื่อนําไปใชในการเรียนการสอน    การวิเคราะหการใชหลักภาษาทาง 
วิชาการสําหรับครู 
๒๐๔  ๓๐๒  การใชภาษาไทยสําหรับครู                                     ๓(๒-๒-๕) 
               (Usage of Thai Language for Teachers) 
        ศึกษาการใชภาษาเพื่อการสื่อสาร  เนนทักษะการฟง  การพูด  การอาน  การเขียน  และ 
การดู    กระบวนการและการแกปญหาในการใชภาษา    ฝกปฏิบติการใชภาษาอยางมีศิลปะ  เนน 
                                                           ั
การแกไขขอบกพรองการใชทักษะทางภาษาของผูเรียน    การใชภาษาที่มีลักษณะเฉพาะในองคกร 
การใชภาษาตามลําดับขั้นในสังคม    การวิเคราะหการใชภาษาในสังคม    การใชภาษาวิชาการทาง 
การศึกษา 
๒๐๔  ๓๐๓  การพัฒนาทักษะการอาน                                           ๓(๓-๐-๖) 
               (Reading Skill Development) 
        ศึกษาความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการอาน    พัฒนาทักษะการอาน    การอานอยางมี 
วิจารณญาณ    การอานวรรณกรรมประเภทตาง  ๆ    การอานขอมูลขาวสารและสื่อรวมสมัย
คณะครุศาสตร 

หลักการเลือกหนังสือ    การใชทรัพยากรเพื่อการสอนอานอยางมีประสิทธิภาพ    การประเมินการ 
ทักษะการอาน 
๒๐๔  ๓๐๔  การพัฒนาทักษะการเขียน                                               ๓(๓-๐-๖) 
               (Writing Skill Development) 
         ศึกษาการเลือกใชคาใหเหมาะสม การสรางประโยค การเรียบเรียงขอความ การใชภาษาให 
                            ํ
เหมาะสมกับกาล  โอกาสและบุคคล  การใชสํานวนโวหาร  รูปแบบและกลวิธีการเขียน  โดย ศึกษา 
และเขียนงานเขียนแตละประเภท 
๒๐๔  ๓๐๕  รอยกรองไทย                                                         ๓(๓-๐-๖) 
               (Thai Poetry) 
         ศึกษาวิวัฒนาการรอยกรองไทยประเภทตาง  ๆ    ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน    ลักษณะเนื้อหา 
ลีลา  รูปแบบคําประพันธ  และวรรณศิลปในแตละสมัย 
๒๐๔  ๓๐๖  วรรณคดีสําหรับครู                                                         ๓(๓-๐-๖) 
               (Literature for Teachers) 
         ศึกษาภูมิหลังวรรณคดี    ลักษณะของวรรณคดี    ประเภทของวรรณคดี    พัฒนาการของ 
วรรณคดีไทยในดานรูปแบบ    เนื้อหา    แนวคิด      กลวิธีการประพันธ    อิทธิพลตางประเทศที่มีตอ 
วรรณคดีไทย  วิเคราะหวรรณคดีไทยที่สําคัญประเภทตาง  ๆ  คุณคาวรรณคดีทั้งดานสารัตถะและ 
สุนทรีภาพ  หลักและวิธีการสอนวรรณคดี 
๒๐๔  ๓๐๗  คติชนวิทยากับกระบวนการเรียนรู                                            ๓(๒-๒-๕) 
               (Folklore and Learning Process) 
         ศึกษาความรูพื้นฐานทั่วไป  ระเบียบและวิธีการศึกษาของคติชนวิทยา   บทบาทของคติชน 
ในบริบทของสังคมไทย      โดยเนนวิถีชีวิต      วัฒนธรรม      ภาษา      คติชนในวรรณคดีไทย    โดย 
เฉพาะที่ปรากฏในหนังสือเรียน  ความสัมพันธระหวางคติชนวิทยากับศาสตรสาขาอื่น  การนํา  คติ 
ชนมาใชในการเรียนการสอน  ฝกการศึกษาคนควาตามระเบียบวิธีและนําเสนอผลงาน 
๒๐๔  ๓๐๘  การวัดและประเมินผลการเรียนรูภาษาไทย                                ๓(๓-๐-๖) 
               (Thai Learning Measurement and Evaluation) 
         ศึกษาหลักการสรางและพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรูวิชาภาษาไทย 
ธรรมชาติของการวัดผล    ความเที่ยงตรงของขอสอบ    การสรางขอสอบ    การสรางขอสอบในชั้น 
เรียน    การวัดผลสัมฤทธิ์ตามหลักการเรียนรูภาษา    หลักการประเมินในชั้นเรียนที่มีประสิทธิภาพ 
การวางแผนและวิธีการเก็บขอมูล  การรายงานผลการประเมิน
คณะครุศาสตร 
๒๐๔  ๓๐๙  การวิจัยการเรียนการสอนภาษาไทย                                        ๓(๒-๒-๕) 
                (Thai Learning and Teaching Research) 
        ศึกษาแนวทาง  วิธีการการวิจัยทางการเรียนการสอนภาษาไทย    ฝกการออกแบบงานวิจัย 
เพื่อศึกษาคนควาและพัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทย      โดยใชกระบวนการวิจัยทางการศึกษา 
และการวิจัยในชั้นเรียน 
๒๐๔  ๓๑๐  การสอนภาษาไทย                                                    ๓(๒-๒-๕) 
                (Thai Language Teaching) 
        ศึกษาหลักสูตรภาษาไทย  ทฤษฎีการเรียนรูและการสอนรวมสมัย      วิธีสอน    เทคนิคและ 
ทักษะที่นํามาใชในการสอนภาษาไทย    การพัฒนาและการเขียนแผนการจัดการเรียนรูภาษาไทย 
การสาธิตการสอน  การประเมินผลการสอน 
        ๒)  วิชาเลือก  ๒๑  หนวยกิต 
๒๐๔  ๔๑๑  สัมมนาการสอนภาษาและวรรณคดีไทย                                            ๓(๒-๒-๕) 
                (Seminar on Thai Language and Literature Teaching) 
        การวิเคราะห    สังเคราะห    และประมวลปญหาจากการเรียนการสอนภาษาและวรรณคดี 
ไทย    ซึ่งเกี่ยวกับเนื้อหาและวิธีการสื่อสารภาษาไทยและเนื้อหาวรรณคดีไทย    การนําเสนอและ 
อภิปรายเกี่ยวกับภาษาและวรรณคดีไทย      แนวทางแกไขปญหาที่เปนประเด็นสําคัญของการเรียน 
การสอนภาษาและวรรณคดีไทย  การศึกษาเปนกรณีศึกษา 
๒๐๔  ๔๑๒  สัมมนางานเขียนรอยแกวและรอยกรอง                                     ๓(๒-๒-๕) 
                (Seminar on Thai Prose and Thai Poetry) 
        เลือกศึกษาคนควางานเขียนทั้งรอยแกวและรอยกรองของนักเขียนและกวีไทยสมัยตาง  ๆ 
ในดานสารัตถะและสุนทรียภาพ    พัฒนาการแนวคิดและวิธีการเขียน    เพื่อนํามาเปนประเด็น 
สัมมนา 
๒๐๔  ๔๑๓  วรรณคดีวิจารณ                                                   ๓(๓-๐-๖) 
                (Literature Critique) 
                ศึกษาหลักเกณฑและแนวการวิจารณวรรณคดี    ฝกวิจารณวรรณคดีประเภทตาง ๆ 
ทั้งวรรณคดีตางสมัยและวรรณกรรมปจจุบัน 
๒๐๔  ๔๑๔  ภาษาถิ่นสําหรับครู                                               ๓(๓-๐-๖) 
                (Dialects for Teachers) 
        ศึกษาหนวยเสียง  หนวยคํา  การสรางประโยค  ที่มาของคําที่ใชในถิ่นนั้น ๆ  ความหมาย 
ของภาษาแตละทองถิ่นของไทย  การเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกตางของการใชภาษา 
ในแตละภูมิภาค  และเปรียบเทียบกับภาษาราชการไทย
คณะครุศาสตร 
๒๐๔  ๔๑๕  ภาษาศาสตรสําหรับครู                                                   ๓(๓-๐-๖) 
                (Linguistics for Teachers) 
          ศึกษาความรูทั่วไปเกี่ยวกับภาษาศาสตร   ทฤษฎีทางภาษาศาสตร   ระบบเสียง   ระบบคํา 
และระบบความสัมพันธของคําในประโยคภาษาไทย  การวิเคราะหเสียงและการเกิดของเสียง  คํา 
และการสรางคํา    รูปลักษณของประโยคโดยอาศัยทฤษฎีทางภาษาศาสตร    การนําความรูทาง 
ภาษาศาสตรไปใชในการสอนภาษาไทย 
๒๐๔  ๔๑๖  วิวัฒนาการของภาษาไทย                                                   ๓(๓-๐-๖) 
               (Thai Language Evolution) 
          ศึกษาประวัตและความเปนมาของภาษาไทย    การเปลี่ยนแปลงของภาษาไทยดานเสียง 
                       ิ
ตัวอักษร      อักขรวิธี      และสํานวนภาษาตั้งแตสมัยสุโขทัยจนถึงปจจุบัน      การรับอิทธิพลภาษา 
ตางประเทศมาใชในภาษาไทย 
๒๐๔  ๔๑๗  วิเคราะหแบบเรียนภาษาไทย                                               ๓(๓-๐-๖) 
                 (Thai Textbooks Analysis) 
               ศึกษาความเปนมาของหนังสือเรียนภาษาไทยนับตั้งแตหนังสือจินดามณี  จนถึง 
หนังสือเรียนภาษาไทยระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตามหลักสูตรปจจุบัน    โดยวิเคราะห 
วัตถุประสงค   เนื้อหา  การใชภาษา  กิจกรรม  การเรียนการสอน  การประเมินผลหนังสือเรียนใน 
ระดับตาง  ๆ  การใชหนังสือเรียนเพื่อการเรียนการสอน    การเปรียบเทียบการจัดหนังสือเรียน 
ภาษาไทยของแตละหลักสูตร 
๒๐๔  ๔๑๘  การเขียนเชิงสรางสรรค                                                 ๓(๓-๐-๖) 
               (Creative Writing) 
          ศึกษาหลักและศิลปะการเขียน    ฝกการเขียนทั้งรอยแกวและรอยกรองชนิดตาง  ๆ    โดย 
คํานึงถึงความคิดริเริ่มสรางสรรค  และความถนัดของผูเ รียนเปนสําคัญ 
๒๐๔  ๔๑๙  ภาษาบาลีและสันสกฤตที่เกียวกับภาษาไทย 
                                             ่                                   ๓(๓-๐-๖) 
               (Pali and Sansakrit Related to Thai Language) 
          ศึกษาประวัติภาษาบาลี  สันสกฤต    การยืมคํามาใชในภาษาไทย    ตลอดจนการ 
เปลี่ยนแปลงในดานตาง ๆ  ประกอบดวยเสียง  ความหมาย  และไวยากรณ 
๒๐๔  ๔๒๐  ภาษาเขมรที่เกียวกับภาษาไทย 
                                 ่                                               ๓(๓-๐-๖) 
               (Khmer Related to Thai Language) 
          ศึกษาประวัตความเปนมาของภาษาเขมรในภาษาไทย    อักษร    เสียง  และอักขรวิธี 
                         ิ
ลักษณะการสรางคําในภาษาเขมร  ลักษณะวลี   และสรางประโยคในภาษาเขมร  คําภาษาเขมร ที่ 
มีใชอยูในภาษาไทย และคําในภาษาไทยที่ใชวิธีสรางคําแบบเขมรและคําที่ใชรวมกัน
คณะครุศาสตร 


๒๐๔  ๔๒๑  ภาษาตางประเทศในภาษาไทย                                                ๓(๓-๐-๖) 
               (Foreign Language in Thai Language) 
        ศึกษาภาษาตาง ๆ  ที่เขามามีบทบาทในภาษาไทย  โดยศึกษาที่มา  รากศัพท   การกลาย 
รูปคํา  การกลายเสียง  การกลายความหมายลักษณะสําคัญที่แตกตางกันของภาษานั้น ๆ 
๒๐๔  ๔๒๒  การสอนภาษาไทยแกชาวตางประเทศ                                     ๓(๓-๐-๖) 
               (Teaching Thai Language to Foreigners) 
        ศึกษาเทคนิควิธีการสอนภาษาไทย      การออกแบบวิธีสอนโดยเนนสัมพันธทักษะ 
กระบวนการ   และการนําไปใชเพื่อการสื่อสาร   การสรางนวัตกรรมการเรียนการสอน   การเรียนรู 
วัฒนธรรมไทยในการใชภาษา   การใชทักษะทางภาษาเกี่ยวกับการฟง   การดู    การพูด การอาน 
และการเขียน  การประเมินผลการเรียนรูภาษาตามสภาพจริง 
๒๐๔  ๔๒๓  วรรณคดีพระพุทธศาสนา                                              ๓(๓-๐-๖) 
               (Literature in Buddhism) 
        ศึกษาลักษณะ    ประเภท    วัตถุประสงค    ปรัชญา    คุณคา    และอิทธิพลของวรรณคดี 
พระพุทธศาสนา   ตลอดจนวรรณคดีชาดก   และเลือกศึกษาวรรณคดีพระพุทธศาสนาที่สําคัญโดย 
ละเอียด 
๒๐๔  ๔๒๔  วรรณคดีประวัตศาสตร   ิ                                           ๓(๓-๐-๖) 
               (Literature in History) 
        ศึกษาลักษณะ    วัตถุประสงค    ประเภทและคุณคาของวรรณคดี    เหตุการณใน 
ประวัติศาสตรประวัตศาสตรเปรียบเทียบในวรรณคดี    และเลือกศึกษาวรรณคดีบางเรื่องโดย 
                      ิ
ละเอียด 
๒๐๔  ๔๒๕  วรรณคดีเปรียบเทียบ                                               ๓(๓-๐-๖) 
               (Comparative Literatures) 
        ศึกษาแนวคิดและหลักวรรณคดีเปรียบเทียบ    วิเคราะหความสัมพันธระหวางวรรณคดีไทย 
ตางถิ่นหรือตางสมัย    และวรรณคดีไทยกับวรรณคดีตางประเทศบางเรื่อง    เปรียบเทียบความ 
เหมือนและความตางในดานตาง ๆ ของวรรณคดี 
๒๐๔  ๔๒๖  วรรณกรรมปจจุบัน                                                 ๓(๓-๐-๖) 
               (Current Literary Works) 
        ศึกษาพัฒนาการ      ประเภท      และองคประกอบของวรรณกรรมปจจุบัน      ความสัมพันธ 
ระหวางวรรณกรรมปจจุบันกับสังคม  วิเคราะหและประเมินคาวรรณกรรมปจจุบันประเภทตาง ๆ
คณะครุศาสตร 


๒๐๔  ๔๒๗  วรรณกรรมการเมือง                                            ๓(๓-๐-๖) 
              (Political Literary Works) 
       ศึกษาวิเคราะหแนวคิดทางการเมืองในวรรณกรรม      อิทธิพลระหวางสภาพทางการเมือง 
สภาพสังคม  และวรรณกรรมที่มีตอกัน  เลือกศึกษาวรรณกรรมการเมืองบางเรื่องโดยละเอียด 
๒๐๔  ๔๒๘  ตรรกศาสตรทางภาษา                                           ๓(๓-๐-๖) 
              (Language Logic) 
       ศึกษาความหมายของการคิด    ภาษากับการแสดงความคิด    ระเบียบวิธีคด    การนิยาม 
                                                                         ิ
การคิดเพื่อแกปญหา   การเกิดของเหตุผลในความคิด   การแสดงเหตุผลตามระเบียบตรรกวิทยา 
ลักษณะของการพิสูจนแบบอุปนัยและนิรนัย  คุณคาของการพิสูจนในการคนหาความจริง   ฝกฝน 
ความสามารถในการคิดอยางมีเหตุผล  โดยเนนบทบาทของภาษาในการพัฒนาความคิด  อุปสรรค 
และการแกปญหาของการคิด 
๒๐๔  ๔๒๙  ศึกษาอิสระทางการสอนภาษาไทย                                  ๓(๐-๖-๖) 
              (Independent Study on Thai Teaching) 
       ศึกษาคนควาวิจัยภาคสนามทางการสอนภาษาไทย    ที่สามารถประยุกตใชในกิจการทาง 
พระพุทธศาสนา  โดยความเห็นชอบและควบคุมดูแลของอาจารยที่ปรึกษา

More Related Content

What's hot

เพาเวอร์พอยท์โครงงานภาษาไทย
เพาเวอร์พอยท์โครงงานภาษาไทยเพาเวอร์พอยท์โครงงานภาษาไทย
เพาเวอร์พอยท์โครงงานภาษาไทยครูเจริญศรี
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3Khunnawang Khunnawang
 
เอกสารประกอบการจัดทำโครงงานภาษาไทย
เอกสารประกอบการจัดทำโครงงานภาษาไทยเอกสารประกอบการจัดทำโครงงานภาษาไทย
เอกสารประกอบการจัดทำโครงงานภาษาไทยครูเจริญศรี
 
วิชาภาษาไทย มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...
วิชาภาษาไทย มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...วิชาภาษาไทย มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...
วิชาภาษาไทย มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...Kruthai Kidsdee
 
สาขาวิชาพระพุทธศาสนา
สาขาวิชาพระพุทธศาสนาสาขาวิชาพระพุทธศาสนา
สาขาวิชาพระพุทธศาสนาpentanino
 
คู่มือการเขียนบทความ วารสารการวัดผลการศึกษา
คู่มือการเขียนบทความ วารสารการวัดผลการศึกษา คู่มือการเขียนบทความ วารสารการวัดผลการศึกษา
คู่มือการเขียนบทความ วารสารการวัดผลการศึกษา Chitpon Chuapaiboon
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒Manas Panjai
 
แฟ้มสะสมงาน
แฟ้มสะสมงานแฟ้มสะสมงาน
แฟ้มสะสมงานpeter dontoom
 
โครงสร้างเวลาเรียน
โครงสร้างเวลาเรียนโครงสร้างเวลาเรียน
โครงสร้างเวลาเรียนChainarong Maharak
 

What's hot (18)

Kruthairakphasa4 contest
Kruthairakphasa4 contestKruthairakphasa4 contest
Kruthairakphasa4 contest
 
เพาเวอร์พอยท์โครงงานภาษาไทย
เพาเวอร์พอยท์โครงงานภาษาไทยเพาเวอร์พอยท์โครงงานภาษาไทย
เพาเวอร์พอยท์โครงงานภาษาไทย
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย ป.3
 
เอกสารประกอบการจัดทำโครงงานภาษาไทย
เอกสารประกอบการจัดทำโครงงานภาษาไทยเอกสารประกอบการจัดทำโครงงานภาษาไทย
เอกสารประกอบการจัดทำโครงงานภาษาไทย
 
วิชาภาษาไทย มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...
วิชาภาษาไทย มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...วิชาภาษาไทย มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...
วิชาภาษาไทย มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่ง...
 
สาขาวิชาพระพุทธศาสนา
สาขาวิชาพระพุทธศาสนาสาขาวิชาพระพุทธศาสนา
สาขาวิชาพระพุทธศาสนา
 
คู่มือการเขียนบทความ วารสารการวัดผลการศึกษา
คู่มือการเขียนบทความ วารสารการวัดผลการศึกษา คู่มือการเขียนบทความ วารสารการวัดผลการศึกษา
คู่มือการเขียนบทความ วารสารการวัดผลการศึกษา
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
 
Test Blueprint O-NET ม.6
Test Blueprint O-NET ม.6Test Blueprint O-NET ม.6
Test Blueprint O-NET ม.6
 
O net 53
O net 53O net 53
O net 53
 
แฟ้มสะสมงาน
แฟ้มสะสมงานแฟ้มสะสมงาน
แฟ้มสะสมงาน
 
ตอนที่1 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
ตอนที่1 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20ตอนที่1 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
ตอนที่1 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
 
รูปแบบข้อสอบ O-NET ปี 2556 [O-net56 pattern]
รูปแบบข้อสอบ O-NET ปี 2556 [O-net56 pattern]รูปแบบข้อสอบ O-NET ปี 2556 [O-net56 pattern]
รูปแบบข้อสอบ O-NET ปี 2556 [O-net56 pattern]
 
Sar peter 60
Sar peter 60Sar peter 60
Sar peter 60
 
Port peter
Port peterPort peter
Port peter
 
ฟิสิกส์โอ
ฟิสิกส์โอฟิสิกส์โอ
ฟิสิกส์โอ
 
Olympic54
Olympic54Olympic54
Olympic54
 
โครงสร้างเวลาเรียน
โครงสร้างเวลาเรียนโครงสร้างเวลาเรียน
โครงสร้างเวลาเรียน
 

Viewers also liked

Place of articulation and Phonetics
Place of articulation and PhoneticsPlace of articulation and Phonetics
Place of articulation and Phoneticschepeach
 
บทที่ 1 ภาษาศาสตร์คืออะไร
บทที่ 1 ภาษาศาสตร์คืออะไรบทที่ 1 ภาษาศาสตร์คืออะไร
บทที่ 1 ภาษาศาสตร์คืออะไรWilawun Wisanuvekin
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียง ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียง Art Pb
 
บทที่ 5 ระบบเสียง
บทที่ 5 ระบบเสียงบทที่ 5 ระบบเสียง
บทที่ 5 ระบบเสียงWilawun Wisanuvekin
 
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์Wilawun Wisanuvekin
 
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆบทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆWilawun Wisanuvekin
 
บทที่ 2 ภาษาศาสตร์
บทที่ 2 ภาษาศาสตร์บทที่ 2 ภาษาศาสตร์
บทที่ 2 ภาษาศาสตร์Wilawun Wisanuvekin
 
Phonetics - Manner of Articulation
Phonetics - Manner of ArticulationPhonetics - Manner of Articulation
Phonetics - Manner of ArticulationAjez Ahmad
 

Viewers also liked (8)

Place of articulation and Phonetics
Place of articulation and PhoneticsPlace of articulation and Phonetics
Place of articulation and Phonetics
 
บทที่ 1 ภาษาศาสตร์คืออะไร
บทที่ 1 ภาษาศาสตร์คืออะไรบทที่ 1 ภาษาศาสตร์คืออะไร
บทที่ 1 ภาษาศาสตร์คืออะไร
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียง ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียง
 
บทที่ 5 ระบบเสียง
บทที่ 5 ระบบเสียงบทที่ 5 ระบบเสียง
บทที่ 5 ระบบเสียง
 
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์
 
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆบทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
 
บทที่ 2 ภาษาศาสตร์
บทที่ 2 ภาษาศาสตร์บทที่ 2 ภาษาศาสตร์
บทที่ 2 ภาษาศาสตร์
 
Phonetics - Manner of Articulation
Phonetics - Manner of ArticulationPhonetics - Manner of Articulation
Phonetics - Manner of Articulation
 

Similar to สาขาวิชาการสอนภาษาไทย

รายงานประจำปีของสถานศึกษา
รายงานประจำปีของสถานศึกษารายงานประจำปีของสถานศึกษา
รายงานประจำปีของสถานศึกษาKrupetch Songkwamjarearn
 
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)wasan
 
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)wasan
 
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครองสาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครองpentanino
 
หลักสูตรปริญญาโทวิปสสนาภาวนา
หลักสูตรปริญญาโทวิปสสนาภาวนาหลักสูตรปริญญาโทวิปสสนาภาวนา
หลักสูตรปริญญาโทวิปสสนาภาวนาmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
โรงเรียนดนตรีี
โรงเรียนดนตรีีโรงเรียนดนตรีี
โรงเรียนดนตรีีsuperstar college
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลphornphan1111
 
นำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยม
นำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยมนำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยม
นำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยมkrupawit
 
การเขียนรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา1
การเขียนรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา1การเขียนรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา1
การเขียนรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา1nam-kaew_25
 
ผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอ ในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2556
ผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอ ในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2556ผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอ ในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2556
ผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอ ในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2556Jaturapad Pratoom
 
ประกาศส่งงานวิจัยปี 56
ประกาศส่งงานวิจัยปี 56ประกาศส่งงานวิจัยปี 56
ประกาศส่งงานวิจัยปี 56Drnine Nan
 
หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1kruthailand
 
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์Krupol Phato
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาSophinyaDara
 
Ssr รร 2555
Ssr รร 2555Ssr รร 2555
Ssr รร 2555supphawan
 
Personal dl31
Personal dl31Personal dl31
Personal dl31noismart
 
คู่มือเกณฑ์การเลื่อนวิทยฐานนะ
คู่มือเกณฑ์การเลื่อนวิทยฐานนะคู่มือเกณฑ์การเลื่อนวิทยฐานนะ
คู่มือเกณฑ์การเลื่อนวิทยฐานนะkrupornpana55
 

Similar to สาขาวิชาการสอนภาษาไทย (20)

รายงานประจำปีของสถานศึกษา
รายงานประจำปีของสถานศึกษารายงานประจำปีของสถานศึกษา
รายงานประจำปีของสถานศึกษา
 
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
 
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
 
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครองสาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
 
หลักสูตรปริญญาโทวิปสสนาภาวนา
หลักสูตรปริญญาโทวิปสสนาภาวนาหลักสูตรปริญญาโทวิปสสนาภาวนา
หลักสูตรปริญญาโทวิปสสนาภาวนา
 
โรงเรียนดนตรีี
โรงเรียนดนตรีีโรงเรียนดนตรีี
โรงเรียนดนตรีี
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
 
นำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยม
นำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยมนำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยม
นำเสนอหลักสูตร ร.ร.เมืองยม
 
Port arom 2561
Port arom 2561Port arom 2561
Port arom 2561
 
การเขียนรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา1
การเขียนรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา1การเขียนรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา1
การเขียนรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา1
 
ผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอ ในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2556
ผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอ ในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2556ผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอ ในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2556
ผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอ ในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2556
 
ประกาศส่งงานวิจัยปี 56
ประกาศส่งงานวิจัยปี 56ประกาศส่งงานวิจัยปี 56
ประกาศส่งงานวิจัยปี 56
 
Sar arom
Sar aromSar arom
Sar arom
 
หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1
 
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
 
รายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sar
รายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sarรายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sar
รายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sar
 
Ssr รร 2555
Ssr รร 2555Ssr รร 2555
Ssr รร 2555
 
Personal dl31
Personal dl31Personal dl31
Personal dl31
 
คู่มือเกณฑ์การเลื่อนวิทยฐานนะ
คู่มือเกณฑ์การเลื่อนวิทยฐานนะคู่มือเกณฑ์การเลื่อนวิทยฐานนะ
คู่มือเกณฑ์การเลื่อนวิทยฐานนะ
 

More from pentanino

การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยpentanino
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมpentanino
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารpentanino
 
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555pentanino
 
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559pentanino
 
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖pentanino
 
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555pentanino
 
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...pentanino
 
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...pentanino
 
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554pentanino
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาpentanino
 
ประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมpentanino
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรpentanino
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์pentanino
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาpentanino
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทpentanino
 

More from pentanino (20)

การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
 
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
 
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
 
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
 
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
 
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
 
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
 
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
 
ประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรม
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจร
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
 

สาขาวิชาการสอนภาษาไทย

  • 1. หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต  สาขาวิชาการสอนภาษาไทย  ภาควิชาหลักสูตรและการสอน  คณะครุศาสตร  มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย  หลักสูตรปรับปรุง  พุทธศักราช  ๒๕๕๐  ๑.  ชื่อหลักสูตร  ๑.๑  ชื่อหลักสูตรภาษาไทย  :  หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต  สาขาวิชาการสอนภาษาไทย  ๑.๒  ชื่อหลักสูตรภาษาอังกฤษ  :  Bachelor  of  Arts  Programme  in  Thai Language Teaching  ๒.  ชื่อปริญญา  ๒.๑  ชื่อเต็มภาษาไทย  :  พุทธศาสตรบัณฑิต  (การสอนภาษาไทย)  ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ  :  Bachelor of  Education  (Thai Language Teaching)  ๒.๒  ชื่อยอภาษาไทย  :  พธ.บ.  (การสอนภาษาไทย)  ชื่อยอภาษาอังกฤษ  :  B. Ed. (Thai Language Teaching)  ๓.  หนวยงานที่รับผิดชอบ  ภาควิชาหลักสูตรและการสอน คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย  ๔.  วัตถุประสงคของหลักสูตร  ๔.๑  เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีความรูความเขาใจในภาษาไทย  ๔.๒  เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีความสามารถในการสอนภาษาไทย  ๔.๓  เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีความสามารถนําความรูทางพุทธศาสตรและภาษาไทยมาประยุกต  เพื่อแกปญหาและพัฒนาสังคม  ๔.๔  เพื่อผลิตบัณฑิตใหเปนผูนําที่มีศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม ตามหลักพระพุทธ-ศาสนา  ๕.  โครงสรางหลักสูตร  ๕.๑  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป  ๓๐  หนวยกิต  ๕.๒  หมวดวิชาชีพครู  ๕๐  หนวยกิต  ๕.๓  หมวดวิชาเฉพาะดาน  ๙๑  หนวยกิต  ๑)  วิชาแกนพระพุทธศาสนา  ๓๐  หนวยกิต  ๒)  วิชาพระพุทธศาสนาประยุกต  ๑๐  หนวยกิต
  • 2. คณะครุศาสตร  ๓)  วิชาเฉพาะสาขา  ๕๑  หนวยกิต  ๕.๔  หมวดวิชาเลือกเสรี  ๖  หนวยกิต  รวม  ๑๗๗  หนวยกิต  ๖.  รายวิชา  ๖.๑  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป  ๓๐  หนวยกิต  ดูรายละเอียดในหมวดวิชาศึกษาทัวไป ในสาขาวิชาพระพุทธศาสนา คณะพุทธศาสตร  ่ ๖.๒  หมวดวิชาชีพครู  ๕๐  หนวยกิต  ดูรายละเอียดในหมวดวิชาชีพครู ในสาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร  ๖.๓  หมวดวิชาเฉพาะดาน  ๙๑  หนวยกิต  ๑) วิชาแกนพระพุทธศาสนา  ๓๐  หนวยกิต  ดูรายละเอียดในวิชาแกนพระพุทธศาสนา  ในสาขาวิชาพระพุทธศาสนา  คณะพุทธศาสตร  ๒)  วิชาพระพุทธศาสนาประยุกต  ๑๐  หนวยกิต  ดูรายละเอียดในวิชาพระพุทธศาสนาประยุกต  ในสาขาวิชาการบริหารการศึกษา  คณะครุศาสตร ๓)  วิชาเฉพาะสาขา  ๕๑  หนวยกิต  ใหนิสิตสาขาวิชาการสอนภาษาไทย เรียนรายวิชาในวิชาเฉพาะสาขา ๕๑ หนวยกิต  โดยเรียน  วิชาบังคับ ๓๐ หนวยกิต  และวิชาเลือก ๒๑ หนวยกิต  มีรายละเอียดดังนี้  ก.  วิชาบังคับ  ๓๐  หนวยกิต  ๒๐๔  ๓๐๑  หลักภาษาไทยสําหรับครู  ๓(๓-๐-๖)  ๒๐๔  ๓๐๒  การใชภาษาไทยสําหรับครู  ๓(๒-๒-๕)  ๒๐๔  ๓๐๓  การพัฒนาทักษะการอาน  ๓(๓-๐-๖)  ๒๐๔  ๓๐๔  การพัฒนาทักษะการเขียน  ๓(๓-๐-๖)  ๒๐๔  ๓๐๕  รอยกรองไทย  ๓(๓-๐-๖)  ๒๐๔  ๓๐๖  วรรณคดีสาหรับครู  ํ ๓(๓-๐-๖)  ๒๐๔  ๓๐๗  คติชนวิทยากับกระบวนการเรียนรู  ๓(๒-๒-๕)  ๒๐๔  ๓๐๘  การวัดและประเมินผลการเรียนรูภาษาไทย  ๓(๓-๐-๖)  ๒๐๔  ๓๐๙  การวิจัยการเรียนการสอนภาษาไทย  ๓(๒-๒-๕)  ๒๐๔  ๓๑๐  การสอนภาษาไทย  ๓(๒-๒-๕)  ข.  วิชาเลือก  ๒๑  หนวยกิต  ๒๐๔  ๔๑๑  สัมมนาการสอนภาษาและวรรณคดีไทย  ๓(๒-๒-๕)
  • 3. คณะครุศาสตร  ๒๐๔  ๔๑๒  สัมมนางานเขียนรอยแกวและรอยกรอง  ๓(๒-๒-๕)  ๒๐๔  ๔๑๓  วรรณคดีวิจารณ  ๓(๓-๐-๖)  ๒๐๔  ๔๑๔  ภาษาถิ่นสําหรับครู  ๓(๓-๐-๖)  ๒๐๔  ๔๑๕  ภาษาศาสตรสําหรับครู  ๓(๓-๐-๖)  ๒๐๔  ๔๑๖  วิวัฒนาการของภาษาไทย  ๓(๓-๐-๖)  ๒๐๔  ๔๑๗  วิเคราะหแบบเรียนภาษาไทย  ๓(๓-๐-๖)  ๒๐๔  ๔๑๘  การเขียนเชิงสรางสรรค  ๓(๓-๐-๖)  ๒๐๔  ๔๑๙  ภาษาบาลีและสันสกฤตที่เกี่ยวกับภาษาไทย  ๓(๓-๐-๖)  ๒๐๔  ๔๒๐  ภาษาเขมรที่เกี่ยวกับภาษาไทย  ๓(๓-๐-๖)  ๒๐๔  ๔๒๑  ภาษาตางประเทศในภาษาไทย  ๓(๓-๐-๖)  ๒๐๔  ๔๒๒  การสอนภาษาไทยแกชาวตางประเทศ  ๓(๓-๐-๖)  ๒๐๔  ๔๒๓  วรรณคดีพระพุทธศาสนา  ๓(๓-๐-๖)  ๒๐๔  ๔๒๔  วรรณคดีประวัตศาสตร  ิ ๓(๓-๐-๖)  ๒๐๔  ๔๒๕  วรรณคดีเปรียบเทียบ  ๓(๓-๐-๖)  ๒๐๔  ๔๒๖  วรรณกรรมปจจุบัน  ๓(๓-๐-๖)  ๒๐๔  ๔๒๗  วรรณกรรมการเมือง  ๓(๓-๐-๖)  ๒๐๔  ๔๒๘  ตรรกศาสตรทางภาษา  ๓(๓-๐-๖)  ๒๐๔  ๔๒๙  ศึกษาอิสระทางการสอนภาษาไทย  ๓(๐-๖-๖)  ๖.๔  หมวดวิชาเลือกเสรี  ๖  หนวยกิต  นิสิตตองศึกษารายวิชาอื่น ๆ ที่เปดสอนในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยเปน  วิชาเลือกเสรี จํานวน  ๖ หนวยกิต  โดยความเห็นชอบของอาจารยที่ปรึกษา  ๖.๕  วิชาโท  ๑๘  หนวยกิต  นิสิตสาขาวิชาอื่นที่ประสงคจะศึกษาสาขาวิชาการสอนภาษาไทย เปนวิชาโท  ตองศึกษา  วิชาเฉพาะสาขา ไมนอยกวา ๑๘  หนวยกิต โดยศึกษาวิชาบังคับ ๑๒  หนวยกิต  และวิชาเลือก ๖  หนวยกิต  มีรายละเอียดดังนี้  ๑)  วิชาบังคับ  ๑๒  หนวยกิต  ๒๐๔  ๓๐๑  หลักภาษาไทยสําหรับครู  ๓(๓-๐-๖)  ๒๐๔  ๓๐๒  การใชภาษาไทยสําหรับครู  ๓(๒-๒-๕)  ๒๐๔  ๓๐๖  วรรณคดีสาหรับครู  ํ ๓(๓-๐-๖)  ๒๐๔  ๓๑๐  การสอนภาษาไทย  ๓(๒-๒-๕)  ๒)  วิชาเลือก  ๖  หนวยกิต
  • 4. คณะครุศาสตร  ใหเลือกศึกษาจากรายวิชาอื่น ๆ  ในสาขาวิชาการสอนภาษาไทย ไมนอยกวา  ๖  หนวยกิต  โดยความเห็นชอบของอาจารยที่ปรึกษา  ๗.  คําอธิบายรายวิชา  ๗.๑  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป  ๓๐  หนวย  ดูรายละเอียดในหมวดวิชาศึกษาทัวไป ในสาขาวิชาพระพุทธศาสนา คณะพุทธศาสตร  ่ ๗.๒  หมวดวิชาชีพครู  ๕๐  หนวยกิต  ดูรายละเอียดในหมวดวิชาชีพครู ในสาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร  ๗.๓  วิชาแกนพระพุทธศาสนา  ๓๐  หนวยกิต  ดูรายละเอียดในวิชาแกนพระพุทธศาสนา ในสาขาวิชาพระพุทธศาสนา  คณะพุทธศาสตร  ๗.๔  วิชาพระพุทธศาสนาประยุกต  ๑๐  หนวยกิต  ดูรายละเอียดในวิชาพระพุทธศาสนาประยุกต  ในสาขาวิชาการบริหารการศึกษา  คณะ ครุ  ศาสตร  ๗.๕  วิชาเฉพาะสาขา  ๕๑  หนวยกิต  ๑)  วิชาบังคับ  ๓๐  หนวยกิต  ๒๐๔  ๓๐๑  หลักภาษาไทยสําหรับครู  ๓(๓-๐-๖)  (Foundation of Thai Language for Teachers)  ศึกษาหลักและลักษณะสําคัญของภาษาไทย  ระบบเสียง  อักขรวิธี   คําและโครงสรางของ  คํา    การสรางคํา    การจําแนกคํา    ชนิดและโครงสรางของวลีและประโยคและการใชถอยคํา  วิเคราะหหลักภาษาไทยเพื่อนําไปใชในการเรียนการสอน    การวิเคราะหการใชหลักภาษาทาง  วิชาการสําหรับครู  ๒๐๔  ๓๐๒  การใชภาษาไทยสําหรับครู  ๓(๒-๒-๕)  (Usage of Thai Language for Teachers)  ศึกษาการใชภาษาเพื่อการสื่อสาร  เนนทักษะการฟง  การพูด  การอาน  การเขียน  และ  การดู    กระบวนการและการแกปญหาในการใชภาษา    ฝกปฏิบติการใชภาษาอยางมีศิลปะ  เนน  ั การแกไขขอบกพรองการใชทักษะทางภาษาของผูเรียน    การใชภาษาที่มีลักษณะเฉพาะในองคกร  การใชภาษาตามลําดับขั้นในสังคม    การวิเคราะหการใชภาษาในสังคม    การใชภาษาวิชาการทาง  การศึกษา  ๒๐๔  ๓๐๓  การพัฒนาทักษะการอาน  ๓(๓-๐-๖)  (Reading Skill Development)  ศึกษาความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการอาน    พัฒนาทักษะการอาน    การอานอยางมี  วิจารณญาณ    การอานวรรณกรรมประเภทตาง  ๆ    การอานขอมูลขาวสารและสื่อรวมสมัย
  • 5. คณะครุศาสตร  หลักการเลือกหนังสือ    การใชทรัพยากรเพื่อการสอนอานอยางมีประสิทธิภาพ    การประเมินการ  ทักษะการอาน  ๒๐๔  ๓๐๔  การพัฒนาทักษะการเขียน  ๓(๓-๐-๖)  (Writing Skill Development)  ศึกษาการเลือกใชคาใหเหมาะสม การสรางประโยค การเรียบเรียงขอความ การใชภาษาให  ํ เหมาะสมกับกาล  โอกาสและบุคคล  การใชสํานวนโวหาร  รูปแบบและกลวิธีการเขียน  โดย ศึกษา  และเขียนงานเขียนแตละประเภท  ๒๐๔  ๓๐๕  รอยกรองไทย  ๓(๓-๐-๖)  (Thai Poetry)  ศึกษาวิวัฒนาการรอยกรองไทยประเภทตาง  ๆ    ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน    ลักษณะเนื้อหา  ลีลา  รูปแบบคําประพันธ  และวรรณศิลปในแตละสมัย  ๒๐๔  ๓๐๖  วรรณคดีสําหรับครู  ๓(๓-๐-๖)  (Literature for Teachers)  ศึกษาภูมิหลังวรรณคดี    ลักษณะของวรรณคดี    ประเภทของวรรณคดี    พัฒนาการของ  วรรณคดีไทยในดานรูปแบบ    เนื้อหา    แนวคิด      กลวิธีการประพันธ    อิทธิพลตางประเทศที่มีตอ  วรรณคดีไทย  วิเคราะหวรรณคดีไทยที่สําคัญประเภทตาง  ๆ  คุณคาวรรณคดีทั้งดานสารัตถะและ  สุนทรีภาพ  หลักและวิธีการสอนวรรณคดี  ๒๐๔  ๓๐๗  คติชนวิทยากับกระบวนการเรียนรู  ๓(๒-๒-๕)  (Folklore and Learning Process)  ศึกษาความรูพื้นฐานทั่วไป  ระเบียบและวิธีการศึกษาของคติชนวิทยา   บทบาทของคติชน  ในบริบทของสังคมไทย      โดยเนนวิถีชีวิต      วัฒนธรรม      ภาษา      คติชนในวรรณคดีไทย    โดย  เฉพาะที่ปรากฏในหนังสือเรียน  ความสัมพันธระหวางคติชนวิทยากับศาสตรสาขาอื่น  การนํา  คติ  ชนมาใชในการเรียนการสอน  ฝกการศึกษาคนควาตามระเบียบวิธีและนําเสนอผลงาน  ๒๐๔  ๓๐๘  การวัดและประเมินผลการเรียนรูภาษาไทย  ๓(๓-๐-๖)  (Thai Learning Measurement and Evaluation)  ศึกษาหลักการสรางและพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรูวิชาภาษาไทย  ธรรมชาติของการวัดผล    ความเที่ยงตรงของขอสอบ    การสรางขอสอบ    การสรางขอสอบในชั้น  เรียน    การวัดผลสัมฤทธิ์ตามหลักการเรียนรูภาษา    หลักการประเมินในชั้นเรียนที่มีประสิทธิภาพ  การวางแผนและวิธีการเก็บขอมูล  การรายงานผลการประเมิน
  • 6. คณะครุศาสตร  ๒๐๔  ๓๐๙  การวิจัยการเรียนการสอนภาษาไทย  ๓(๒-๒-๕)  (Thai Learning and Teaching Research)  ศึกษาแนวทาง  วิธีการการวิจัยทางการเรียนการสอนภาษาไทย    ฝกการออกแบบงานวิจัย  เพื่อศึกษาคนควาและพัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทย      โดยใชกระบวนการวิจัยทางการศึกษา  และการวิจัยในชั้นเรียน  ๒๐๔  ๓๑๐  การสอนภาษาไทย  ๓(๒-๒-๕)  (Thai Language Teaching)  ศึกษาหลักสูตรภาษาไทย  ทฤษฎีการเรียนรูและการสอนรวมสมัย      วิธีสอน    เทคนิคและ  ทักษะที่นํามาใชในการสอนภาษาไทย    การพัฒนาและการเขียนแผนการจัดการเรียนรูภาษาไทย  การสาธิตการสอน  การประเมินผลการสอน  ๒)  วิชาเลือก  ๒๑  หนวยกิต  ๒๐๔  ๔๑๑  สัมมนาการสอนภาษาและวรรณคดีไทย  ๓(๒-๒-๕)  (Seminar on Thai Language and Literature Teaching)  การวิเคราะห    สังเคราะห    และประมวลปญหาจากการเรียนการสอนภาษาและวรรณคดี  ไทย    ซึ่งเกี่ยวกับเนื้อหาและวิธีการสื่อสารภาษาไทยและเนื้อหาวรรณคดีไทย    การนําเสนอและ  อภิปรายเกี่ยวกับภาษาและวรรณคดีไทย      แนวทางแกไขปญหาที่เปนประเด็นสําคัญของการเรียน  การสอนภาษาและวรรณคดีไทย  การศึกษาเปนกรณีศึกษา  ๒๐๔  ๔๑๒  สัมมนางานเขียนรอยแกวและรอยกรอง  ๓(๒-๒-๕)  (Seminar on Thai Prose and Thai Poetry)  เลือกศึกษาคนควางานเขียนทั้งรอยแกวและรอยกรองของนักเขียนและกวีไทยสมัยตาง  ๆ  ในดานสารัตถะและสุนทรียภาพ    พัฒนาการแนวคิดและวิธีการเขียน    เพื่อนํามาเปนประเด็น  สัมมนา  ๒๐๔  ๔๑๓  วรรณคดีวิจารณ  ๓(๓-๐-๖)  (Literature Critique)  ศึกษาหลักเกณฑและแนวการวิจารณวรรณคดี    ฝกวิจารณวรรณคดีประเภทตาง ๆ  ทั้งวรรณคดีตางสมัยและวรรณกรรมปจจุบัน  ๒๐๔  ๔๑๔  ภาษาถิ่นสําหรับครู  ๓(๓-๐-๖)  (Dialects for Teachers)  ศึกษาหนวยเสียง  หนวยคํา  การสรางประโยค  ที่มาของคําที่ใชในถิ่นนั้น ๆ  ความหมาย  ของภาษาแตละทองถิ่นของไทย  การเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกตางของการใชภาษา  ในแตละภูมิภาค  และเปรียบเทียบกับภาษาราชการไทย
  • 7. คณะครุศาสตร  ๒๐๔  ๔๑๕  ภาษาศาสตรสําหรับครู  ๓(๓-๐-๖)  (Linguistics for Teachers)  ศึกษาความรูทั่วไปเกี่ยวกับภาษาศาสตร   ทฤษฎีทางภาษาศาสตร   ระบบเสียง   ระบบคํา  และระบบความสัมพันธของคําในประโยคภาษาไทย  การวิเคราะหเสียงและการเกิดของเสียง  คํา  และการสรางคํา    รูปลักษณของประโยคโดยอาศัยทฤษฎีทางภาษาศาสตร    การนําความรูทาง  ภาษาศาสตรไปใชในการสอนภาษาไทย  ๒๐๔  ๔๑๖  วิวัฒนาการของภาษาไทย  ๓(๓-๐-๖)  (Thai Language Evolution)  ศึกษาประวัตและความเปนมาของภาษาไทย    การเปลี่ยนแปลงของภาษาไทยดานเสียง  ิ ตัวอักษร      อักขรวิธี      และสํานวนภาษาตั้งแตสมัยสุโขทัยจนถึงปจจุบัน      การรับอิทธิพลภาษา  ตางประเทศมาใชในภาษาไทย  ๒๐๔  ๔๑๗  วิเคราะหแบบเรียนภาษาไทย  ๓(๓-๐-๖)  (Thai Textbooks Analysis)  ศึกษาความเปนมาของหนังสือเรียนภาษาไทยนับตั้งแตหนังสือจินดามณี  จนถึง  หนังสือเรียนภาษาไทยระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตามหลักสูตรปจจุบัน    โดยวิเคราะห  วัตถุประสงค   เนื้อหา  การใชภาษา  กิจกรรม  การเรียนการสอน  การประเมินผลหนังสือเรียนใน  ระดับตาง  ๆ  การใชหนังสือเรียนเพื่อการเรียนการสอน    การเปรียบเทียบการจัดหนังสือเรียน  ภาษาไทยของแตละหลักสูตร  ๒๐๔  ๔๑๘  การเขียนเชิงสรางสรรค  ๓(๓-๐-๖)  (Creative Writing)  ศึกษาหลักและศิลปะการเขียน    ฝกการเขียนทั้งรอยแกวและรอยกรองชนิดตาง  ๆ    โดย  คํานึงถึงความคิดริเริ่มสรางสรรค  และความถนัดของผูเ รียนเปนสําคัญ  ๒๐๔  ๔๑๙  ภาษาบาลีและสันสกฤตที่เกียวกับภาษาไทย  ่ ๓(๓-๐-๖)  (Pali and Sansakrit Related to Thai Language)  ศึกษาประวัติภาษาบาลี  สันสกฤต    การยืมคํามาใชในภาษาไทย    ตลอดจนการ  เปลี่ยนแปลงในดานตาง ๆ  ประกอบดวยเสียง  ความหมาย  และไวยากรณ  ๒๐๔  ๔๒๐  ภาษาเขมรที่เกียวกับภาษาไทย  ่ ๓(๓-๐-๖)  (Khmer Related to Thai Language)  ศึกษาประวัตความเปนมาของภาษาเขมรในภาษาไทย    อักษร    เสียง  และอักขรวิธี  ิ ลักษณะการสรางคําในภาษาเขมร  ลักษณะวลี   และสรางประโยคในภาษาเขมร  คําภาษาเขมร ที่  มีใชอยูในภาษาไทย และคําในภาษาไทยที่ใชวิธีสรางคําแบบเขมรและคําที่ใชรวมกัน
  • 8. คณะครุศาสตร  ๒๐๔  ๔๒๑  ภาษาตางประเทศในภาษาไทย  ๓(๓-๐-๖)  (Foreign Language in Thai Language)  ศึกษาภาษาตาง ๆ  ที่เขามามีบทบาทในภาษาไทย  โดยศึกษาที่มา  รากศัพท   การกลาย  รูปคํา  การกลายเสียง  การกลายความหมายลักษณะสําคัญที่แตกตางกันของภาษานั้น ๆ  ๒๐๔  ๔๒๒  การสอนภาษาไทยแกชาวตางประเทศ  ๓(๓-๐-๖)  (Teaching Thai Language to Foreigners)  ศึกษาเทคนิควิธีการสอนภาษาไทย      การออกแบบวิธีสอนโดยเนนสัมพันธทักษะ  กระบวนการ   และการนําไปใชเพื่อการสื่อสาร   การสรางนวัตกรรมการเรียนการสอน   การเรียนรู  วัฒนธรรมไทยในการใชภาษา   การใชทักษะทางภาษาเกี่ยวกับการฟง   การดู    การพูด การอาน  และการเขียน  การประเมินผลการเรียนรูภาษาตามสภาพจริง  ๒๐๔  ๔๒๓  วรรณคดีพระพุทธศาสนา  ๓(๓-๐-๖)  (Literature in Buddhism)  ศึกษาลักษณะ    ประเภท    วัตถุประสงค    ปรัชญา    คุณคา    และอิทธิพลของวรรณคดี  พระพุทธศาสนา   ตลอดจนวรรณคดีชาดก   และเลือกศึกษาวรรณคดีพระพุทธศาสนาที่สําคัญโดย  ละเอียด  ๒๐๔  ๔๒๔  วรรณคดีประวัตศาสตร  ิ ๓(๓-๐-๖)  (Literature in History)  ศึกษาลักษณะ    วัตถุประสงค    ประเภทและคุณคาของวรรณคดี    เหตุการณใน  ประวัติศาสตรประวัตศาสตรเปรียบเทียบในวรรณคดี    และเลือกศึกษาวรรณคดีบางเรื่องโดย  ิ ละเอียด  ๒๐๔  ๔๒๕  วรรณคดีเปรียบเทียบ  ๓(๓-๐-๖)  (Comparative Literatures)  ศึกษาแนวคิดและหลักวรรณคดีเปรียบเทียบ    วิเคราะหความสัมพันธระหวางวรรณคดีไทย  ตางถิ่นหรือตางสมัย    และวรรณคดีไทยกับวรรณคดีตางประเทศบางเรื่อง    เปรียบเทียบความ  เหมือนและความตางในดานตาง ๆ ของวรรณคดี  ๒๐๔  ๔๒๖  วรรณกรรมปจจุบัน  ๓(๓-๐-๖)  (Current Literary Works)  ศึกษาพัฒนาการ      ประเภท      และองคประกอบของวรรณกรรมปจจุบัน      ความสัมพันธ  ระหวางวรรณกรรมปจจุบันกับสังคม  วิเคราะหและประเมินคาวรรณกรรมปจจุบันประเภทตาง ๆ
  • 9. คณะครุศาสตร  ๒๐๔  ๔๒๗  วรรณกรรมการเมือง  ๓(๓-๐-๖)  (Political Literary Works)  ศึกษาวิเคราะหแนวคิดทางการเมืองในวรรณกรรม      อิทธิพลระหวางสภาพทางการเมือง  สภาพสังคม  และวรรณกรรมที่มีตอกัน  เลือกศึกษาวรรณกรรมการเมืองบางเรื่องโดยละเอียด  ๒๐๔  ๔๒๘  ตรรกศาสตรทางภาษา  ๓(๓-๐-๖)  (Language Logic)  ศึกษาความหมายของการคิด    ภาษากับการแสดงความคิด    ระเบียบวิธีคด    การนิยาม  ิ การคิดเพื่อแกปญหา   การเกิดของเหตุผลในความคิด   การแสดงเหตุผลตามระเบียบตรรกวิทยา  ลักษณะของการพิสูจนแบบอุปนัยและนิรนัย  คุณคาของการพิสูจนในการคนหาความจริง   ฝกฝน  ความสามารถในการคิดอยางมีเหตุผล  โดยเนนบทบาทของภาษาในการพัฒนาความคิด  อุปสรรค  และการแกปญหาของการคิด  ๒๐๔  ๔๒๙  ศึกษาอิสระทางการสอนภาษาไทย  ๓(๐-๖-๖)  (Independent Study on Thai Teaching)  ศึกษาคนควาวิจัยภาคสนามทางการสอนภาษาไทย    ที่สามารถประยุกตใชในกิจการทาง  พระพุทธศาสนา  โดยความเห็นชอบและควบคุมดูแลของอาจารยที่ปรึกษา