More Related Content
More from Wilawun Wisanuvekin
More from Wilawun Wisanuvekin(13)
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์
- 12. “ระบบ” กับไวยากรณ์
ระบบ (system) เป็ นมโนทัศน์พื้นฐานหนึ่งในการวิเคราะห์ไวยากรณ์
ควบคู่กับโครงสร้าง (structure) และหน้าที่ (function)
ระบบ = หน่วยต่างๆ ที่รวมกันเป็ นหนึ่ง มีความสัมพันธ์กัน ถ้าเรามี
หน่วยหรือส่วนมูลฐาน (elements) ต่างๆ และหน่วยต่างๆ เหล่านั้น
ไม่ได้อยู่อย่างอิสระแต่สัมพันธ์กัน เราก็จะได้ระบบ ความสัมพันธ์อาจ
อยู่ในรูปของการมีความเหมือนกัน ต่างกัน หรือมีลักษณะร่วมกัน
บางอย่าง
- 13. กลุ่มที่ 1 1 3 7 2 5 9
กลุ่มที่ 2 1 2 4 8 16
32
กลุ่มที่ 3 1 3 5 7 9 11
ภาษาเป็ นระบบ ระบบเสียงประกอบด้วยส่วนต่างๆ เช่น หน่วย
เสียงจานวนหนึ่ง และจานวนเสียงแต่ละหน่วยเสียงมีความสัมพันธ์กัน
วัด / wàt/ w + a +` + t
ระบบไวยากรณ์ ประกอบด้วยหน่วยย่อยหลายระบบ และในแต่
ละระบบย่อยต่างๆ ก็มีส่วนประกอบที่สัมพันธ์กัน
- 14. “โครงสร้าง” กับไวยากรณ์
โครงสร้าง (structure) = ความสัมพันธ์ของส่วนต่างๆ ที่ประกอบกัน
เป็ นบางสิ่งบางอย่างที่ซับซ้อน หรือหมายถึงกรอบ แกนกลาง หรือ
องค์ประกอบที่ขาดไม่ได้ของบางสิ่งบางอย่าง
ความสัมพันธ์เชิงโครงสร้าง หรือ ความสัมพันธ์
แนวนอน (syntagmatic relationship)
- 18. ฟรีส แบ่งคาหลักออกเป็ น 4 ชนิด ได้แก่ nouns, verbs,
adjectives และ adverbs
คาแต่ละชนิดสามารถปรากฏตามกรอบโครงสร้างต่างๆ เช่น
คาชนิดที่ 1 (Word class 1)
The________
__________s
A_________
** คาที่จะปรากฏในกรอบเหล่านี้ได้คือ คานาม
- 20. “หน้าที่” กับไวยากรณ์
หน้าที่ (function) เป็ นอีกมิติหนึ่งของความสัมพันธ์ในไวยากรณ์
หน้าที่หมายถึงบทบาทของหน่วยแต่ละหน่วยในประโยค
น้องกินข้าวแล้ว
น้อง เป็ นประธาน
กิน เป็ นภาคแสดง
ข้าว เป็ นกรรมของประโยค (นับเป็ นส่วนของภาคแสดงได้)
แล้ว เป็ นส่วนขยายภาคแสดง
- 22. ป ส ต
เพื่อน จะขอยืม รถคันนี้
ต ป ส
รถคันนี้ เพื่อน จะขอยืม
ร ป ท ต
รถคันนี้ คนรถ ยังไม่ได้ เติมน้ามัน