SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
Download to read offline
ระเบียบโรงเรียนดงมะไฟพิทยาคม
ว่าด้ วยการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสู ตรสถานศึกษา พุทธศักราช 2553
           ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืนฐาน พุทธศักราช 2551
                                            ้
                         ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้ น
ประกาศโรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคม
                                เรื่ อง ระเบียบโรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคม
           ว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ตามหลักสู ตรสถานศึกษา พุทธศักราช 2553
                     ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
                        ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย
                                        ..............................................

          ตามที่โรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคม ได้ดาเนิ นการจัดทาระเบียบว่าด้วยการวัดผลประเมินผลการเรี ยน
ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม. 1 – ม. 3) และ
ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4 –ม. 6) คณะกรรมการบริ หารหลักสู ตรและงานวิชาการ ได้กาหนดระเบียบว่า
ด้วยการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ตามแนวปฏิบติการวัดและประเมินผลการเรี ยนตามหลักสู ตรแกนกลาง
                                                           ั
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 บนพื้นฐานสองประการคือ เพื่อการวัดและประเมินเพื่อพัฒนาผูเ้ รี ยน
(Formative Assessment) และเพื่อตัดสิ นผลการเรี ยน (Summative Assessment) เป็ นกระบวนการพัฒนา
ปรับปรุ งการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยน และตัดสิ นว่าผูเ้ รี ยนมีความรู้ความสามารถ ทักษะ คุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ อันเป็ นผลจากการเรี ยนการสอน บรรลุมาตรฐาน การเรี ยนรู้ / ตัวชี้วด ในระดับใด เป็ นการรองรับ
                                                                                  ั
ความรู ้ ความสามารถของผูเ้ รี ยน ว่าควรได้รับการเลื่อนชั้น หรื อจบหลักสู ตรหรื อไม่         โดยสถานศึกษามี
หน้าที่อนุมติและรายงานผลการเรี ยน
              ั
          ทั้งนี้ ระเบียบว่าด้วยการวัดผลและประเมินผลการเรี ยนตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม
2553 จึงประกาศใช้ในโรงเรี ยนตั้งแต่บดนี้เป็ นต้นไป
                                          ั

        ประกาศ ณ วันที่ 16 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2553




         (นายทวี ผลจันทร์)                                          (นายสมหมาย เกิดศิริ)
ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน                          ผูอานวยการโรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคม
                                                                ้
ระเบียบโรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคม
          ว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ตามหลักสู ตรสถานศึกษา พุทธศักราช 2553
                    ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
                            ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม. 1 – ม.3)
                                   ..............................................


         โดยที่กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ตาม
คาสั่งกระทรวงศึกษาธิ การ ที่ สพฐ.293/2551 ลงวันที่ 11 กรกฎาคม 2551 เรื่ องให้ใช้หลักสู ตรแกนกลาง
สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และกระจายอานาจให้สถานศึกษากาหนดหลักสู ตรสถานศึกษา
ขึ้นใช้เอง จึงเป็ นการสมควรที่จะกาหนดระเบียบโรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคมว่าด้วยการวัดผลและประเมินผล
การเรี ยนตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1-ม.3)
ให้สอดคล้องกับคาสั่งดังกล่าว โรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคม จึงวางระเบียบไว้ดงต่อไปนี้
                                                                       ั
         ข้อ 1 ระเบียบนี้เรี ยกว่า “ระเบียบโรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคม ว่าด้วยการวัดและประเมินผล
การเรี ยนตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
(ม.1 – ม. 3)”
         ในระเบียบนี้ คาว่า “สถานศึกษา” หมายถึง โรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคม
         คาว่า “ผูเ้ รี ยน” หมายถึง ผูที่ข้ ึนทะเบียนเป็ นนักเรี ยน โรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคม
                                      ้
         คาว่า “ผูส อน” หมายถึ ง ครู โรงเรี ย นดงมะไฟพิ ทยาคม หรื อผูที่ ได้รับมอบหมายจากหัวหน้า
                     ้                                                           ้
สถานศึกษา ให้รับผิดชอบเกี่ยวกับการเรี ยนการสอน
         ข้อ 2 ให้ใช้ระเบียบนี้ในชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ปี การศึกษา 2553 เป็ นต้นไป
         ข้อ 3 ให้ยกเลิกบรรดาระเบียบ ข้อบังคับ หรื อคาสั่งใด ๆ ในส่ วนที่โรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคม
กาหนดไว้ ซึ่ งขัดหรื อแย้งกับระเบียบนี้ ให้ใช้ระเบียบนี้ แทน
         ข้อ 4 ให้ใช้ระเบียบนี้ ควบคู่กบหลักสู ตรโรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคม พุทธศักราช 2553 อิง
                                              ั
หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
         ข้อ 5 ให้หวหน้าสถานศึกษารักษาการให้เป็ นไปตามระเบียบนี้
                         ั
หมวด 1
                                    หลักการวัดและประเมินผลการเรียน

           ข้อ 6 การประเมินผลการเรี ยน ให้เป็ นไปตามหลักการต่อไปนี้
                 6.1 สถานศึ ก ษามี ห น้า ที่ ป ระเมิ น ผลการเรี ย น โดยความเห็ น ชอบของคณะกรรมการ
สถานศึ ก ษาขั้นพื้ นฐานโรงเรี ย นดงมะไฟพิ ท ยาคม ในเรื่ องของเกณฑ์และแนวด าเนิ นการเกี่ ย วกับ การ
ประเมินผลการเรี ยน
                 6.2 ประเมิ นผลการเรี ย นเป็ นรายวิช า/รายภาค ให้ป ฏิ บ ัติต ามที่ ก าหนดไว้ใ นหลัก สู ต ร
สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2553 ของโรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคม (ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551)
                 6.3 ประเมิ น ผลการเรี ย นให้ ส อดคล้อ งและครอบคลุ ม มาตรฐานการเรี ย นรู ้ / ตัว ชี้ ว ด    ั
สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รี ยน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสาระการเรี ยนรู ้ รวมทั้งสอดคล้องกับสภาพ
และความต้องการของท้องถิ่ นและชุ มชน
                 6.4 ประเมิ นทั้ง เพื่ อปรั บ ปรุ ง พัฒนาผูเ้ รี ย น การจัดการเรี ย นการสอนและเพื่ อตัดสิ นผล
การเรี ยน
                 6.5 ประเมิ นความสามารถในการอ่าน คิ ดวิเคราะห์ และเขี ยนสื่ อความของนักเรี ยนเป็ น
รายภาค
                 6.6 ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผูเ้ รี ยนเป็ นรายภาค
                 6.7 ประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนเป็ นรายกิจกรรมเป็ นรายภาค
                 6.8 สถานศึกษาต้องจัดให้ผเู ้ รี ยนทุกคนที่เรี ยนปี การศึกษาสุ ดท้ายของแต่ละระดับชั้นเข้ารับ
การประเมินระดับชาติตามที่กระทรวงศึกษาธิ การกาหนด
หมวด 2
                                      วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้

           ข้อ 7 การประเมินผลเพื่อปรับปรุ งพัฒนาผูเ้ รี ยน การจัดการเรี ยนการสอนให้ถือปฏิบติ ดังนี้
                                                                                          ั
                     7.1 ผูส อนแจ้ง ให้ ผูเ้ รี ย นทราบมาตรฐานการเรี ย นรู้ /ตัว ชี้ วัด สาระการเรี ย นรู้ วิธี ก าร
                             ้
ประเมินผลการเรี ยน เกณฑ์การผ่านและเกณฑ์ข้ นต่ าของการผ่านรายวิชาก่ อนการจัดกิ จกรรมการเรี ยนรู ้ ให้
                                                       ั
ผูเ้ รี ยนในแต่ละกลุ่มสาระการเรี ยนรู้
                     7.2 ตัว ชี้ วด จะต้องครอบคลุ ม ทั้ง ด้า นความรู ้ ทัก ษะกระบวนการ คุ ณธรรม จริ ย ธรรม
                                    ั
และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
                   7.3 ประเมินวิเคราะห์ผเู้ รี ยน เพื่อศึกษาความรู ้พ้ืนฐานและความรอบรู ้ในเรื่ องที่จะศึกษา
                     7.4 วัดและประเมินผลระหว่างภาค เพื่อศึกษาผลการเรี ยน เพื่อจัดสอนซ่อมเสริ มและเพื่อนา
คะแนนจากการวัดและประเมินผลไปรวมกับการวัดผลปลายภาค โดยให้วดและประเมินผลตามมาตรฐาน  ั
การเรี ยนรู้ / ตัวชี้วด ตามที่กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้กาหนด
                      ั
                        การวัดผลและประเมินผลระหว่างภาค
                        7.4.1 วัดผลและประเมินผลระหว่างเรี ยนเป็ นระยะ ๆ โดยใช้สถานศึกษาเป็ นผูกาหนด        ้
มาตรฐานการเรี ยนรู้ / ตัวชี้วด ตามกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้
                                  ั
                        7.4.2 วัดผลระหว่า งเรี ยน 2 ครั้ ง (วัดก่ อนวัดผลกลางภาค 1 ครั้ ง และวัดผลหลังวัดผล
กลางภาค 1 ครั้ง ) วัดผลกลางภาค 1 ครั้ง โดยให้สถานศึกษาเป็ นผูกาหนดมาตรฐานการเรี ยนรู ้ / ตัวชี้ วด ตาม
                                                                        ้                                    ั
กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้
                        การประเมินตามข้อ 7.4.1 และ 7.4.2 ถ้าผูเ้ รี ยนมีความรู ้ความสามารถต่ ากว่าเกณฑ์ที่
กาหนดไว้ในมาตรฐานการเรี ยนรู ้ / ตัวชี้ วด ตามกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ให้ผสอนวินิจฉัยหาข้อบกพร่ องของ
                                                   ั                           ู้
                                                     ่
ผูเ้ รี ยนและสอนซ่อมเสริ มแล้วประเมินเพื่อให้ผานเกณฑ์ตวชี้วด   ั ั
                        7.4.3 ประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนของผูเ้ รี ยน เป็ นรายภาค โดยสถานศึกษา
เป็ นผูกาหนดมาตรฐานการเรี ยนรู ้ / ตัวชี้ วด แนวทาง วิธีการ เกณฑ์การประเมินและแนวทางปรับปรุ งแก้ไข
          ้                                      ั
นักเรี ยน
                        7.4.4 ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผูเ้ รี ยน ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน และตามที่สถานศึกษากาหนด
                        7.4.5 ประเมิ นกิ จกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนเป็ นรายภาค สถานศึ กษาเป็ นผูกาหนดแนวทาง
                                                                                                ้
การประเมิน และให้สอดคล้องกับหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผูรับผิดชอบกิจกรรม / ผูสอน
                                                                                      ้                        ้
ดาเนินการประเมินผลการปฏิบติกิจกรรมตามจุดประสงค์และเวลาในการเข้าร่ วมกิจกรรม
                                      ั
                     7.5 วัดผลปลายภาคเพื่อตัดสิ นผลการเรี ยนโดยวัดให้ครอบคลุมมาตรฐานการเรี ยนรู้ /
ตัวชี้วด ตามกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ที่กาหนด
            ั
ข้อ 8 การตัดสิ นผลการเรี ยนให้นาคะแนนระหว่างภาครวมกับคะแนนปลายภาค ตามอัตราส่ วนที่
สถานศึกษากาหนด แล้วนามาเปลี่ยนเป็ นระดับผลการเรี ยน
        ข้อ 9 ให้ใช้ตวเลขแสดงระดับผลการเรี ยนในแต่ละรายวิชา ดังต่อไปนี้
                     ั


               ระดับผลการเรียน                         ความหมาย                     ช่ วงคะแนนเป็ นร้ อยละ
                      4                           ผลการเรี ยนดีเยียม
                                                                  ่                         80 - 100
                     3.5                          ผลการเรี ยนดีมาก                           75 - 79
                      3                             ผลการเรี ยนดี                            70 - 74
                     2.5                        ผลการเรี ยนค่อนข้างดี                        65 - 69
                      2                          ผลการเรี ยนน่าพอใจ                          60 - 64
                     1.5                         ผลการเรี ยนน่าพอใช้                         55 - 59
                      1                       ผลการเรี ยนผ่านเกณฑ์ข้ นต่า
                                                                     ั                       50 - 54
                      0                        ผลการเรี ยนต่ากว่าเกณฑ์                        0 - 49

         ข้อ 10 ให้ใช้อกษรแสดงผลการเรี ยนที่มีเงื่อนไขในแต่ละรายวิชา ดังนี้
                          ั
                      มส หมายถึง ผูเ้ รี ยนไม่มีสิทธิ์ เข้ารับการวัดผลปลายภาคเรี ยน เนื่ องจากผูเ้ รี ยนเวลาเรี ยน
ไม่ถึงร้อยละ 80 ของเวลาเรี ยนในแต่ละรายวิชาและไม่ได้รับการผ่อนผันให้เข้ารับการวัดผลปลายภาคเรี ยน
                        ร หมายถึง รอการตัดสิ นและยังตัดสิ นผลการเรี ยนไม่ได้ เนื่ องจากผูเ้ รี ยนไม่มีขอมูล  ้
ผลการเรี ยนรายวิชานั้นครบถ้วน ได้แก่ ไม่ได้วดผลกลางภาค / ปลายภาค ๆไม่ได้ส่งงานที่มอบหมายให้ทา
                                                    ั
ซึ่ งงานนั้นเป็ นส่ วนหนึ่งของการตัดสิ นผลการเรี ยน หรื อมีเหตุสุดวิสัยที่ทาให้ประเมินผลการเรี ยนไม่ได้
         ข้อ 11 ให้ใช้ตวอักษรแสดงผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน ดังนี้
                            ั
(กิจกรรมแนะแนว / กิจกรรมนักเรี ยน)
                      ผ หมายถึง ผ่าน ผูเ้ รี ยนเข้าร่ วมกิ จกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน ร้ อยละ 80 ขึ้นไปของเวลาเรี ยน
ทั้งหมด ปฏิบติกิจกรรมและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์ข้ นต่าทุกข้อ คือไม่ต่ากว่าร้อยละ 60
                 ั                                            ั
                      มผ หมายถึ ง ไม่ผ่า น ต้องปรั บปรุ ง ผูเ้ รี ยนมี เวลาเข้าร่ วมกิ จกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนไม่ถึ ง
ร้อยละ 80 ของเวลาเรี ยนทั้งหมด ปฏิบติกิจกรรมและมีผลการประเมินทุกข้อต่ากว่าร้อยละ 80
                                           ั
(กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ )
                      ผ หมายถึง ผ่าน ผูเ้ รี ยนมีเวลาเข้าร่ วมกิจกรรมไม่นอยกว่า 15 ชัวโมง ใน 1 ชั้นปี
                                                                           ้              ่
                                         ่
                      มผ หมายถึง ไม่ผาน ผูเ้ รี ยนมีเวลาเข้าร่ วมกิจกรรมต่ากว่า 15 ชัวโมง ใน 1 ชั้นปี
                                                                                        ่
         ข้อ 12 ให้ใช้คาแสดงผลการเรี ยนประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา ดังนี้
ดี เ ยี่ ย ม หมายถึ ง ผู้เ รี ยนปฏิ บ ัติ ต นตามคุ ณ ลั ก ษณะจนเป็ นนิ สั ย และน าไปใช้ ใ น
ชีวตประจาวันเพื่อประโยชน์สุขของตนเองและสังคม โดยพิจารณาจากผลการประเมินระดับดีเยี่ยม จานวน
   ิ
5 - 8 คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใดได้ผลการประเมินต่ากว่าระดับดี
                ดี หมายถึ ง ผูเ้ รี ย นมี คุณลัก ษณะในการปฏิ บติตามกฎเกณฑ์เพื่อให้เป็ นการยอมรั บของ
                                                                   ั
สังคมโดยพิจารณาจาก
                    1. ได้ผลการประเมินระดับดีเยียม จานวน 1 - 4 คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใดได้ผล
                                                       ่
การประเมินต่ากว่าระดับดี หรื อ
                    2. ได้ผลการประเมินระดับดีเยี่ยม จานวน 4 คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใดได้ผล
การประเมินต่ากว่าระดับผ่าน หรื อ
                    3. ได้ผลการประเมิ นระดับดี จานวน 5 - 8 คุ ณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใดได้ผ ล
การประเมินต่ากว่าระดับผ่าน
                ผ่ าน หมายถึ ง ผูเ้ รี ยนรับรู ้ และปฏิ บติตามกฎเกณฑ์และเงื่ อนไขที่สถานศึ กษากาหนดโดย
                                                           ั
พิจารณาจาก
                 1. ได้ผลการประเมินระดับผ่าน จานวน 5 - 8 คุ ณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใดได้ผล
การประเมินต่ากว่าระดับผ่าน หรื อ
                 2. ได้ผ ลการประเมิ น ระดับ ดี จ านวน 4 คุ ณ ลัก ษณะ และไม่ มี คุ ณ ลัก ษณะใดได้ผ ล
การประเมินต่ากว่าระดับผ่าน
                ไม่ ผ่าน หมายถึง ผูเ้ รี ยนรับรู้และปฏิบ ัติได้ไม่ครบตามกฎเกณฑ์และเงื่อนไขที่สถานศึกษา
                                                     ่
กาหนด โดยพิจารณาจากผลการประเมินระดับไม่ผาน ตั้งแต่ 1 คุณลักษณะ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของนักเรียนโรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคม

        1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
                   ตัวชี้วด 1.1 เป็ นพลเมืองดีของชาติ
                              ั
                                          1.2 ธารงไว้ซ่ ึงความเป็ นไทย
                                          1.3 ศรัทธา ยึดมันและปฏิบติตนตามหลักศาสนา
                                                             ่         ั
                                          1.4 เคารพ เทิดทูน สถาบันพระมหากษัตริ ย ์
        2. ซื่อสั ตย์ สุจริต
                   ตัวชี้วด 2.1ประพฤติตรงตามความเป็ นจริ งต่อตนเอง ทั้งทางกาย วาจา ใจ
                                ั
                                          2.2 ประพฤติตรงตามความเป็ นจริ งต่อผูอื่น ทั้งทางกาย วาจา ใจ
                                                                                      ้
        3. มีวนัย
                ิ
                   ตัวชี้วด 3.1 ปฏิบติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับ ของครอบครัว โรงเรี ยน และสังคม
                            ั                     ั
        4. ใฝ่ เรียนรู้
                   ตัวชี้วด 4.1 ตั้งใจ เพียรพยายาม ในการเรี ยน และเข้าร่ วมกิจกรรม
                                  ั
                                          4.2 แสวงหาความรู ้จากแหล่งต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรี ยน
ด้วยการเลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม สรุ ปเป็ นองค์ความรู ้ สามารถนาไปใช้ในชีวตประจาวันได้           ิ
        5. อยู่อย่ างพอเพียง
                   ตัวชี้วด 5.1 ดาเนิ นชีวตอย่างพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรม
                                    ั                    ิ
                                                                                    ่
                                          5.2 มีภูมิคุมกันในตัวที่ดี ปรับตัวเพื่ออยูในสังคม ได้อย่างมีความสุ ข
                                                      ้
        6. มุ่งมั่นในการทางาน
                   ตัวชี้วด 6.1 ตั้งใจและรับผิดชอบ ในหน้าที่การงาน
                                      ั
                                          6.2 ทางานด้วยความเพียรพยายามและอดทนเพื่อให้งานสาเร็ จตามเป้ าหมาย
        7. รักความเป็ นไทย
                   ตัวชี้วด 7.1 ภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรมไทยและมีความกตัญญูกตเวที
                          ั
                                          7.2 เห็นคุณค่าและใช้ภาษาไทย ในการสื่ อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
                                          7.3 อนุรักษ์และสื บทอดภูมิปัญญาไทย
        8. มีจิตสาธารณะ
                   ตัวชี้วด 8.1 ช่วยเหลือผูอื่นด้วยความเต็มใจโดยไม่หวังผลตอบแทน
                                        ั                  ้
                                          8.2 เข้าร่ วมกิจกรรมที่เป็ นประโยชน์ต่อโรงเรี ยน ชุมชนและสังคม
                                          8.3 ศรัทธา ยึดมันและปฏิบติตนตามหลักศาสนา
                                                               ่         ั
                                          8.4 เคารพ เทิดทูน สถาบันพระมหากษัตริ ย ์
ข้อ 13 ให้ใช้คาแสดงผลการเรี ยนประเมินความสามารถด้านการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนของ
สถานศึกษา ดังนี้
                  ดีเยียม หมายถึง มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนที่มี
                       ่
คุณภาพดีเลิศอยูเ่ สมอ
                  ดี หมายถึง มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนที่มีคุณภาพ
เป็ นที่ยอมรับ แต่ยงมีขอบกพร่ องบางประการ
                   ั ้
                  ไม่ ผ่าน หมายถึง ไม่มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน
หรื อถ้ามีผลงาน ผลงานนั้นยังมีขอบกพร่ องที่ตองได้รับการปรับปรุ งแก้ไขหลายประการ
                                ้            ้
หมวด 3
                                             การตัดสิ นผลการเรียน

         ข้อ 14 หลักสู ตรสถานศึกษา พุทธศักราช 2553 การตัดสิ นผลการเรี ยนตามหลักสู ตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กาหนดหลักเกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ ดังนี้
                     14.1 ตัดสิ นผลการเรี ยนเป็ นรายวิชา ผูเ้ รี ยนต้องมีเวลาเรี ยนตลอดภาคเรี ยนไม่นอยกว่า
                                                                                                      ้
ร้อยละ 80 ของเวลาเรี ยนทั้งหมดในรายวิชานั้น ๆ
                     14.2 ผูเ้ รี ยนต้องเรี ยนได้รับการประเมินทุกตัวชี้วดและผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษา
                                                                        ั
กาหนด
                     14.3 ผูเ้ รี ยนต้องได้รับการตัดสิ นผลการเรี ยนทุกรายวิชา
                     14.4 ผูเ้ รี ยนต้องได้รับการประเมินและมีผลการประเมินตามเกณฑ์ที่สถานศึกษา
กาหนดในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์และกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน
         ข้อ 15 การตัดสิ นเพื่อให้ระดับผลการเรี ยนรายวิชาของกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ให้ใช้ตวเลขแสดง
                                                                                                 ั
ระดับผลการเรี ยนเป็ น 8 ระดับ (0 ,1 ,1.5 , 2 , 3.5 ,3 ,3.5 ,4) ในกรณี ที่ไม่สามารถให้ระดับผลการเรี ยนเป็ น 8
ระดับได้ให้ใช้อกษรระบุเงื่อนไขของผลการเรี ยนเป็ น 8 ระดับได้ให้ใช้อกษรระบุเงื่อนไของผลการเรี ยนดังนี้
                  ั                                                            ั
                     มส. หมายถึง ผูเ้ รี ยนไม่มีสิทธิ เข้ารับการวัดผลปลายภาคเรี ยน เนื่องจากผูเ้ รี ยนมีเวลาเรี ยน
ไม่ถึงร้อยละ 80 ของเวลาเรี ยนในรายวิชา และไม่ได้รับการผ่อนผันให้เข้ารับการวัดผลปลายภาคเรี ยน
ม                   ร หมายถึง รอการตัดสิ นและยังตัดสิ นผลการเรี ยนไม่ได้ เนื่ องจากผูเ้ รี ยนไม่มีขอมูลผลการ
                                                                                                        ้
เรี ยนรายวิชานั้นครบถ้วน ได้แก่ ไม่ได้วดผลกลางภาคเรี ยน / ปลายภาคเรี ยน ไม่ได้ส่งงานที่มอบหมายให้ทา
                                                ั
ซึ่ งงานนั้นเป็ นส่ วนหนึ่งของการตัดสิ นผลการเรี ยน หรื อมีเหตุสุดวิสัยที่ทาให้ประเมินผลการเรี ยนไม่ได้
            ข้อ 16 การประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ เขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ให้ใช้ระดับผลการ
                            ่            ่
ประเมินเป็ นผ่านและไม่ผาน กรณี ที่ผานให้ระดับผลการเรี ยนเป็ นดีเยียม ดีและผ่าน
                                                                     ่
            ข้อ 17 การประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน พิจารณาทั้งเวลาเข้าร่ วมกิจกรรม การปฏิบติกิจกรรมและ
                                                                                           ั
ผลงานของผูเ้ รี ยนตามเกณฑ์ท่ีกาหนด และให้ผลการประเมินเป็ นผ่าน และไม่ผาน        ่
            กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนมี 3 ลักษณะ คือ
            1. กิจกรรมแนะแนว
            2. กิจกรรมนักเรียน ซึ่งประกอบด้ วย
                 2.1 กิจกรรมลูกเสื อ – เนตรนารี ยุวกาชาด ผูบาเพ็ญประโยชน์และนักศึกษาวิชาทหารโดย
                                                           ้
ผูเ้ รี ยนเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ ง 1 กิจกรรม
                 2.2 กิจกรรมชุมนุมหรื อชมรมอีก 1 กิจกรรม
ให้ใช้ตวอักษรแสดงผลการประเมิน ดังนี้
                           ั
                   “ผ” หมายถึง “ผ่าน” ผูเ้ รี ยนมีเวลาเข้าร่ วมกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน ร้อยละ 80 ขึ้นไปของเวลา
เรี ยนทั้งหมด ปฏิบติกิจกรรมและมีผลการประเมินทุกข้อต่ากว่าร้อยละ 80
                         ั
                                                      ่
                   “มผ” หมายถึง “ไม่ผาน” ต้องปรับปรุ ง ผูเ้ รี ยนมีเวลาเข้าร่ วมกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนไม่ถึง
ร้อยละ80 ของเวลาเรี ยนทั้งหมด ปฏิบติกิจกรรมและมีผลการประเมินทุกข้อต่ากว่าร้อยละ 50
                                                          ั
           3. กิจกรรมเพือสั งคมและสาธารณประโยชน์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1 – ม. 3) รวม 3 ปี
                                 ่
จานวน 45 ชัวโมงให้ใช้ตวอักษรแสดงผลการประเมินดังนี้
                 ่                 ั
                   “ผ” หมายถึง “ผ่าน” ผูเ้ รี ยนมีเวลาเข้าร่ วมกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ไม่
น้อยกว่า 15 ชัวโมง / ปี โดยประเมินจากหลักฐานแบบบันทึกที่ผมีส่วนเกี่ยวข้องให้การรับรอง
                    ่                                                        ู้
                                                    ่
                   “มผ” หมายถึง “ไม่ผาน” ผูเ้ รี ยนมีเวลาเข้าร่ วมกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
ไม่ถึง 15 ชัวโมง / ปี โดยประเมินจากหลักฐานแบบบันทึกที่ผมีส่วนเกี่ยวข้องให้การรับรอง
              ่                                                           ู้
                   ในกรณี ผเู้ รี ยนได้ผลการเรี ยน “มผ” สถานศึกษาจัดซ่อมเสริ มให้ผเู ้ รี ยนทากิจกรรมในส่ วนที่
ผูเ้ รี ยนไม่ได้เข้าร่ วมหรื อไม่ได้ทาจนครบถ้วน แล้วจึงจะเปลี่ยนผลการเรี ยนจาก “มผ” เป็ น “ผ” ได้ท้ งนี้ตอง            ั ้
                                                                                   ่
ดาเนินการให้เสร็ จสิ้ นภายในภาคเรี ยนนั้น ๆ ยกเว้นมีเหตุสุดวิสัยให้อยูในดุลยพินิจของหัวหน้าสถานศึกษา
และคณะกรรมการสถานศึกษาในการที่จะขยายเวลาออกไปอีกไม่เกิน 1 ภาคเรี ยน แต่ตองดาเนินการให้เสร็ จ           ้
สิ้ นภายในปี การศึกษานั้น
           ข้อ 18 การเปลี่ยนผลการเรี ยน
                       18.1 การเปลี่ยนผลการเรี ยน “0”
                                     โรงเรี ยนจะจัดให้มีการสอนซ่อมเสริ มในมาตรฐานการเรี ยนรู ้ / ตัวชี้วด ที่ผเู ้ รี ยน
                                                                                                               ั
            ่
สอบไม่ผานก่อน แล้วจึงสอบแก้ตวได้ไม่เกิน 2 ครั้ง ถ้าผูเ้ รี ยนไม่ดาเนินการสอบแก้ตวตามระยะเวลาที่
                                                  ั                                                 ั
                               ่
สถานศึกษากาหนด อยูในดุลยพินิจของสถานศึกษาที่จะพิจารณาขยายเวลาออกไปอีก 1 ภาคเรี ยน ทั้งนี้ตอง                             ้
ดาเนินการให้เสร็ จสิ้ นภายในปี การศึกษานั้น
                                     ถ้าสอบแก้ตว 2 ครั้งแล้ว ยังได้รับผลการเรี ยน “0” อีก โรงเรี ยนจะดาเนินการ
                                                        ั
แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินการเกี่ยวกับการเปลี่ยนผลการเรี ยนของผูเ้ รี ยน ดังนี้
                                     1. ถ้าเป็ นรายวิชาพื้นฐานให้เรี ยนซ้ ารายวิชานั้น
                                     2. ถ้าเป็ นรายวิชาเพิมเติมให้เรี ยนซ้ าหรื อเปลี่ยนรายวิชาใหม่ ทั้งนี้ข้ ึนอยูกบ
                                                              ่                                                      ่ ั
ดุลยพินิจของสถานศึกษา
                       18.2 การเปลี่ยนผลการเรี ยน “ร”
                                     ให้ผเู ้ รี ยนดาเนิ นการแก้ไข “ร” ตามสาเหตุเมื่อผูเ้ รี ยนแก้ไขปั ญหาเสร็ จสิ้ นแล้วให้
ได้ระดับผลการเรี ยนตามปกติ (0 - 4)
่ ั
                                  ถ้าผูเ้ รี ยนไม่ดาเนินการแก้ไข “ร” ให้ครู ผสอนนาข้อมูลที่มีอยูตดสิ นผลการเรี ยน
                                                                             ู้
                                ่
ยกเว้นมีเหตุสุดวิสัยให้อยูในดุลยพินิจของสถานศึกษาที่จะขยายเวลาการแก้ “ร” ออกไปอีกไม่เกิน 1 ภาค
เรี ยน ทั้งนี้ ดาเนิ นการให้เสร็ จสิ้ นภายในปี การศึกษานั้น เมื่อพ้นกาหนดแล้วหากผลการเรี ยนเป็ น 0 ให้แก้ไข
ตามหลักเกณฑ์
                      18.3 การเปลี่ยนผลการเรี ยน “มส”
                             การเปลี่ยนผลการเรี ยน “มส” มี 2 กรณี ดงนี้ั
อ                            1. กรณี ผเู้ รี ยนได้ผลการเรี ยน “มส” เพราะมีเวลาเรี ยน เพราะมีเวลาเรี ยนไม่ถึงร้อยละ
80 แต่มีเวลาเรี ยนไม่นอยกว่าร้อยละ 60 ของเวลาเรี ยนทั้งหมด สถานศึกษาจะจัดให้เรี ยนเพิ่มเติมโดยใช้
                           ้
ชัวโมงสอนซ่ อมเสริ มหรื อเวลาว่างหรื อวันหยุดหรื อมอบหมายงานให้ทาจนมีเวลาเรี ยนครบตามที่กาหนดไว้
  ่
สาหรับรายวิชานั้น แล้วจึงสอบให้เป็ นกรณี พิเศษ ผลการแก้ “มส”ให้ได้รับผลการเรี ยนไม่เกิน “1”
                             การแก้ “มส” กรณี น้ ีให้ทาให้เสร็ จภายในปี การศึกษานั้น ถ้าผูเ้ รี ยนไม่มาดาเนิ นการ
                                                                                            ่
แก้ “มส” ให้เสร็ จตามระยะเวลาที่กาหนดไว้น้ ีให้เรี ยนซ้ า ยกเว้นมีเหตุสุดวิสยให้อยูในดุลยพินิจของ
                                                                                      ั
สถานศึกษาที่จะขยายเวลาการแก้ “มส” ออกไปอีกไม่เกิน 1 ภาคเรี ยนแต่เมื่อพ้นกาหนดนี้แล้วให้ปฏิบติดงนี้             ั ั
                                  1.1 ถ้าเป็ นรายวิชาพื้นฐาน ให้เรี ยนซ้ ารายวิชานั้น
                           1.2 ถ้าเป็ นรายวิชาเพิมเติม ให้เรี ยนซ้ าหรื อเปลี่ยนรายวิชาใหม่
                                                 ่
                  2. กรณี ผเู้ รี ยนได้ผลการเรี ยน “มส” และมีเวลาเรี ยนน้อยกว่าร้อยละ 60 ของเวลา
ทั้งหมด สถานศึกษาจะดาเนิ นการดังนี้
                           2.1 ถ้าเป็ นรายวิชาพื้นฐาน ให้เรี ยนซ้ ารายวิชานั้น
                                                              ่
                           1.2 ถ้าเป็ นรายวิชาเพิ่มเติม ให้อยูในดุลยพินิจของสถานศึกษาจะให้เรี ยนซ้ าหรื อ
เปลี่ยนรายวิชาใหม่
                             การเรี ยนซ้ ารายวิชา หากผูเ้ รี ยนได้รับการสอนซ่อมเสริ มและสอบแก้ตว 2 ครั้งแล้วไม่
                                                                                                       ั
                                                                  ่
ผ่านเกณฑ์การประเมินให้เรี ยนซ้ ารายวิชานั้น ทั้งนี้ให้อยูในดุลยพินิจของสถานศึกษาในการจัดการเรี ยนซ้ า
ในช่วงใดช่วงหนึ่งที่สถานศึกษาเห็นว่าเหมาะสม เช่น พักกลางวัน วันหยุด หลังเลิกเรี ยน ภาคฤดูร้อน เป็ น
ต้น (ในกรณี ภาคเรี ยนที่ 2 หากผูเ้ รี ยนยังมีผลการเรี ยน “0 ร มส” ให้ดาเนินการให้เสร็ จสิ้ นก่อนเปิ ดภาคเรี ยน
ปี การศึกษาถัดไป)
m                      18.4 การเปลี่ยนผลการเรี ยน “มผ”
ท                            ในกรณี ที่ผเู้ รี ยนผลการเรี ยน “มผ” สถานศึกษาจัดซ่อมเสริ มให้ผเู ้ รี ยนทากิจกรรมใน
ส่ วนที่ผเู ้ รี ยนไม่ได้เข้าร่ วมหรื อไม่ได้ทาจนครบถ้วน แล้วจึงเปลี่ยนผลการเรี ยนจาก “มผ” เป็ น “ผ” ได้
                                                                                 ่
ทั้งนี้ดาเนิ นการให้เสร็ จสิ้ นภายในภาคเรี ยนนั้น ๆ ยกเว้นมีเหตุสุดวิสัยให้อยูในดุลพินิจของสถานศึกษาที่จะ
พิจารณาขยายเวลาออกไปอีกไม่เกิน 1 ภาคเรี ยน แต่ตองดาเนินการให้เสร็ จสิ้ นภายในปี การศึกษานั้น
                                                               ้
18.5 การเลื่อนชั้น
                            การพิจารณาเลื่ อนชั้น ถ้าผูเ้ รี ยนมีขอบกพร่ องเพียงเล็กน้อยและสถานศึ กษาพิจารณา
                                                                       ้
                                                               ่
เห็นว่าสามารถพัฒนาและสอนซ่อมเสริ มได้ให้อยูในดุลยพินิจของสถานศึกษาที่จะผ่อนผันให้เลื่อนชั้นได้
                          เมื่อสิ้ นปี การศึกษา ผูเ้ รี ยนจะได้รับการเลื่อนชั้นเมื่อมีคุณสมบัติตามเกณฑ์ ดังนี้
                              1) รายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติม ได้รับการตัดสิ นผลการเรี ยนในระดับผ่านตาม
เกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด
                              2) ผูเ้ รี ยนต้องได้รับการประเมินและมีผลการประเมินในระดับผ่านตามเกณฑ์ที่
สถานศึกษากาหนด การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์และกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน
                              3) ระดับผลการเรี ยนเฉลี่ยในปี การศึกษานั้นควรได้ไม่ต่ากว่า 1.00
                      18.6 การสอนซ่ อมเสริ ม
                          สถานศึกษาจาดาเนิ นการดังกรณี ต่อไปนี้
                                   1. ผูเ้ รี ยนมีความรู ้ ทักษะพื้นฐานไม่เพียงพอที่จะศึกษาในแต่ละรายวิชานั้น จะจัด
สอนซ่อมเสริ มปรับความรู ้พ้ืนฐาน
                                   2. ผูเ้ รี ยนไม่สามารถแสดงความรู ้ ทักษะกระบวนการหรื อเจตคติ คุณลักษณะที่
กาหนดไว้ตามมาตรฐานการเรี ยนรู ้ / ตัวชี้วด ในการประเมินผลระหว่างเรี ยน
                                                        ั
                                  3. ผูเ้ รี ยนที่ได้ระดับผลการเรี ยน “0” ให้จดสอนซ่ อมเสริ มก่อนสอบแก้ตว
                                                                               ั                           ั
                                                                         ่
                                  4. กรณี ท่ีผเู ้ รี ยนมีผลการเรี ยนไม่ผาน สามารถจัดสอนซ่อมเสริ มในภาคฤดูร้อน
                                              ่
เพื่อแก้ไขผลการเรี ยน ทั้งนี้ให้อยูในดุลยพินิจของหัวหน้าสถานศึกษา
                      18.7 การเรี ยนซ้ าชั้น
                                                                     ่           ่
                         ผูเ้ รี ยนที่มีผลการประเมินรายวิชาอยูในระดับไม่ผานจานวนมาก และมีแนวโน้มจะเป็ น
ปั ญหาต่อการเรี ยนในระดับชั้นที่สูงขึ้น สถานศึกษาจะแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาให้เรี ยนซ้ าชั้น ทั้งนี้จะ
คานึงถึงวุฒิภาวะและความรู้ของผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ
                          การเรี ยนซ้ าชั้นมี 2 กรณี คือ
                          1. ผูเ้ รี ยนมีระดับผลการเรี ยนเฉลี่ยในปี การศึกษานั้นต่ากว่า 1.00 และมีแนวโน้มที่จะ
เป็ นปั ญหาต่อการเรี ยนในระดับชั้นที่สูงขึ้น
                          2. ผูเ้ รี ยนมีผลการเรี ยน 0, ร , มส เกินครึ่ งหนึ่งของรายวิชาที่ลงทะเบียนเรี ยนใน
การศึกษานั้น ทั้งนี้หากเกิดลักษณะใดลักษณะหนึ่งสถานศึกษาจะแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาหากเห็นว่า
มีผลอันสมควรก็ให้ซ้ าโดยยกเลิกผลการเรี ยนเดิมและให้ใช้ผลการเรี ยนใหม่แทน หากพิจารณาแล้วไม่ตอง                   ้
                    ่
เรี ยนซ้ าชั้นให้อยูในดุลยพินิจของสถานศึกษาในการที่จะแก้ไขผลการเรี ยน
18.8 เกณฑ์การจบระดับการศึกษาตอนต้น
                         1. ผูเ้ รี ยนเรี ยนรายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติมไม่เกิน 81 หน่วยกิต โดยเป็ น
รายวิชาพื้นฐาน 66 หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากาหนด
                         2. ผูเ้ รี ยนต้องได้หน่ วยกิ ต ตลอดหลักสู ตรไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกิต โดยเป็ นรายวิชา
พื้นฐาน 66 หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมไม่นอยกว่า 11 หน่วยกิต
                                               ้
                         3. ผูเ้ รี ยนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนในระดับผ่านเกณฑ์
การประเมินตามที่สถานศึกษากาหนด
                         4. ผูเ้ รี ย นมี ผ ลการประเมิ น คุ ณ ลัก ษณะอัน พึ ง ประสงค์ใ นระดับ ผ่า นเกณฑ์
การประเมินตามที่สถานศึกษากาหนด
                         5. ผู ้เ รี ย นเข้า ร่ ว มกิ จ กรรมพัฒ นาผู ้เ รี ยนและมี ผ ลการประเมิ น ผ่ า นเกณฑ์
การประเมินตามที่สถานศึกษากาหนด
หมวด 4
                                          การเทียบโอนผลการเรียน


          ข้อ 19 สถานศึกษาจะเทียบโอนผลการเรี ยนของผูเ้ รี ยนจากสถานศึกษาได้ในกรณี ต่างๆ ได้แก่
การย้ายสถานศึกษา การเปลี่ยนรู ปแบบการศึกษา การย้ายหลักสู ตร การละทิ้งการศึกษาและการขอกลับเข้ารับ
การศึกษาต่อ การศึกษาจากต่างประเทศและขอเข้าศึกษาต่อในประเทศ และสามารถเทียบโอนความรู้ ทักษะ
ประสบการณ์จากแหล่งการเรี ยนรู ้อื่น ๆ เช่น สถานประกอบการ สถาบันทางศาสนา สถาบันการฝึ กอบรม
อาชีพ การศึกษาโดยครอบครัว เป็ นต้น
          การเทียบโอนผลการเรี ยนผูเ้ รี ยนควรดาเนินการอนุญาตให้ผเู ้ รี ยนเรี ยนรายวิชาต่าง ๆ และรับโอน
ผลการเรี ยนจากสถานบันอื่นได้ในวิชาชีพจากแหล่งวิทยากร สถานประกอบการหรื อสถานประกอบอาชีพ
อิสระ ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิ การว่าด้วยการให้นกเรี ยนศึกษาหาความรู ้จากแหล่งวิทยาการสถาน
                                                    ั
ประกอบการและสถานประกอบอาชีพอิสระในระดับมัธยมศึกษา
          ข้อ 20 ผูเ้ รี ยนคนใดย้ายสถานศึกษา ให้สถานศึกษาจัดทาเอกสารแสดงผลการเรี ยน ดังนี้
                 20.1 ในกรณี ที่ผเู ้ รี ยนเรี ยนที่สถานศึกษาอย่างน้อย 1 ปี การศึกษาให้ทาระเบียนแสดงผลการ
เรี ยน (ปพ. 1)
                20.2 ในกรณี ที่ผเู ้ รี ยนย้ายสถานศึกษาในระหว่างปี การศึกษา ให้สถานศึกษาทารายงานเวลา
เรี ยน ผลการเรี ยนตามสาระการเรี ยนรู ้ กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน การประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์และเขียนสื่ อ
ความและแบบบันทึกการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษาเดิม
          ข้อ 21 สถานศึกษารับผูเ้ รี ยนเข้าเรี ยนระหว่างช่วงชั้น ให้ถือปฏิบติ ดังนี้
                                                                           ั
                 21.1 ให้คณะกรรมการเทียบโอนของสถานศึกษา ปฏิบติ ดังนี้
                                                            ั
                   21.1.1 พิจารณาระเบียนแสดงผลการเรี ยน (ปพ.1) ของสถานศึกษา พิจารณารายงานเรื่ อง
เวลาเรี ยน ผลการเรี ยนตามสาระการเรี ยนรู้ เอกสารบันทึกผลการพัฒนาคุณภาพของผูเ้ รี ยน แบบบันทึกผล
การพัฒนาคุณภาพของผูเ้ รี ยน แบบบันทึกการอ่าน คิด วิเคราะห์และเขียนสื่ อความและแบบบันทึกการ
พัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษาเดิม
                         21.1.2 ทาการเทียบโอนตามคาสังกระทรวงศึกษาธิ การและเสนอความเห็นในการจัด
                                                    ่
ชั้นเรี ยน ให้ผเู ้ รี ยนต่อคณะกรรมการการบริ หารหลักสู ตรและวิชาการของสถานศึกษา จัดชั้นเรี ยนให้ผเู ้ รี ยน
                 21.2 คณะกรรมการบริ หารหลักสู ตรและวิชาการของสถานศึกษา จัดชั้นเรี ยนให้ผเู ้ รี ยน
หมวด 5
                                       หน้ าที่ของสถานศึกษา

      ข้อ 22 ให้สถานศึกษาจัดให้มีเอกสารการประเมินผลการเรี ยนต่าง ๆ ตามที่กระทรวงศึกษาธิ การ
กาหนด ดังต่อไปนี้
              22.1 ระเบียบแสดงผลการเรี ยน (ปพ.1)                                        ม
              22.2 หลักฐานแสดงวุฒิการศึกษา หรื อประกาศนียบัตร) (ปพ.2)
              22.3 แบบรายงานผูสาเร็ จการศึกษา (ปพ.3)
                                ้
              22.4 แบบแสดงผลการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์(ปพ.4)
              22.5 เอกสารแสดงบันทึกผลการพัฒนาคุณภาพของผูเ้ รี ยน (ปพ.5)
              22.6 เอกสารรายงานผลการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รี ยนรายบุคคล (ปพ.6)
              22.7 ใบรับรองผลการศึกษา (ปพ.7)
              22.8 เอกสารระเบียนสะสม (ปพ.8)
               22.9 สมุดบันทึกผลการเรี ยนรู้ (ปพ.9)
      ข้อ 23 การออกประกาศนียบัตร ให้เป็ นไปตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิ การว่าด้วยการออก
ประกาศนียบัตร
        ข้อ 24 ในการประเมินผลการเรี ยน ให้เป็ นไปตามระเบียบว่าด้วยการวัดผลประเมินผล ตามหลักสู ตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ของโรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคม ให้ใช้ระเบียบนี้ควบคู่กบ
                                                                                            ั
หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคมและหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิ การ

                  ประกาศ ณ วันที่ 16 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2553




                                (นายทวี ผลจันทร์)
                       ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
                             โรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคม
ระเบียบโรงเรียนดงมะไฟพิทยาคม
ว่าด้ วยการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสู ตรสถานศึกษา พุทธศักราช 2553
           ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืนฐาน พุทธศักราช 2551
                                            ้
                        ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
ระเบียบโรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคม
          ว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ตามหลักสู ตรสถานศึกษา พุทธศักราช 2553
                    ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
                            ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4 – ม.6)
                                   ..............................................


         โดยที่กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ตาม
คาสั่งกระทรวงศึกษาธิ การ ที่ สพฐ.293/2551 ลงวันที่ 11 กรกฎาคม 2551 เรื่ องให้ใช้หลักสู ตรแกนกลาง
สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และกระจายอานาจให้สถานศึกษากาหนดหลักสู ตรสถานศึกษา
ขึ้นใช้เอง จึงเป็ นการสมควรที่จะกาหนดระเบียบโรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคมว่าด้วยการวัดผลประเมินผลการ
เรี ยนตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-ม.6)
ให้สอดคล้องกับคาสั่งดังกล่าว โรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคม จึงวางระเบียบไว้ดงต่อไปนี้
                                                                       ั
         ข้อ 1 ระเบี ยบนี้ เรี ยกว่า “ระเบียบโรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคม ว่าด้วยการวัดและประเมิ นผล
การเรี ยนรู้หลักสู ตรสถานศึกษา พุทธศักราช 2553 ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551 ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4 – ม.6)”
         ในระเบียบนี้ คาว่า “สถานศึกษา” หมายถึง โรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคม
         คาว่า “ผูเ้ รี ยน” หมายถึง ผูที่ข้ ึนทะเบียนเป็ นนักเรี ยน โรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคม
                                      ้
         คาว่า “ผูส อน” หมายถึ ง ครู โรงเรี ย นดงมะไฟพิ ทยาคม หรื อผูที่ ได้รับมอบหมายจากหัวหน้า
                     ้                                                           ้
สถานศึกษา ให้รับผิดชอบเกี่ยวกับการเรี ยนการสอน
         ข้อ 2 ให้ใช้ระเบียบนี้ในชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ปี การศึกษา 2553 เป็ นต้นไป
         ข้อ 3 ให้ยกเลิกบรรดาระเบียบ ข้อบังคับ หรื อคาสั่งใด ๆ ในส่ วนที่โรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคม
กาหนดไว้ ซึ่ งขัดหรื อแย้งกับระเบียบนี้ ให้ใช้ระเบียบนี้ แทน
         ข้อ 4 ให้ใช้ระเบียบนี้ ควบคู่กบหลักสู ตรโรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคม พุทธศักราช 2553 อิง
                                              ั
หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
         ข้อ 5 ให้หวหน้าสถานศึกษารักษาการให้เป็ นไปตามระเบียบนี้
                         ั
หมวด 1
                                    หลักการวัดและประเมินผลการเรียน

           ข้อ 6 การประเมินผลการเรี ยน ให้เป็ นไปตามหลักการต่อไปนี้
                 6.1 สถานศึ ก ษามี ห น้า ที่ ป ระเมิ น ผลการเรี ย น โดยความเห็ น ชอบของคณะกรรมการ
สถานศึ ก ษาขั้นพื้ นฐานโรงเรี ย นดงมะไฟพิ ท ยาคม ในเรื่ องของเกณฑ์และแนวด าเนิ นการเกี่ ย วกับ การ
ประเมินผลการเรี ยน
                 6.2 ประเมิ นผลการเรี ย นเป็ นรายวิช า/รายภาค ให้ป ฏิ บ ัติต ามที่ ก าหนดไว้ใ นหลัก สู ต ร
สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2553 ของโรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคม (ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551)
                 6.3 ประเมิ น ผลการเรี ย นให้ ส อดคล้อ งและครอบคลุ ม มาตรฐานการเรี ย นรู ้ / ตัว ชี้ ว ด    ั
สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รี ย น คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสาระการเรี ยนรู ้ รวมทั้งสอดคล้องกับสภาพ
และความต้องการของท้องถิ่ นและชุ มชน
                 6.4 ประเมิ นทั้ง เพื่ อปรั บ ปรุ ง พัฒนาผูเ้ รี ย น การจัดการเรี ย นการสอนและเพื่ อตัดสิ นผล
การเรี ยน
                 6.5 ประเมิ นความสามารถในการอ่าน คิ ดวิเคราะห์ และเขี ยนสื่ อความของนักเรี ยนเป็ น
รายภาค
                 6.6 ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผูเ้ รี ยนเป็ นรายภาค
                 6.7 ประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนเป็ นรายกิจกรรมเป็ นรายภาค
                 6.8 สถานศึกษาต้องจัดให้ผเู ้ รี ยนทุกคนที่เรี ยนปี การศึกษาสุ ดท้ายของแต่ละระดับชั้นเข้ารับ
การประเมินระดับชาติตามที่กระทรวงศึกษาธิ การกาหนด
หมวด 2
                                      วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้

           ข้อ 7 การประเมินผลเพื่อปรับปรุ งพัฒนาผูเ้ รี ยน การจัดการเรี ยนการสอนให้ถือปฏิบติ ดังนี้
                                                                                          ั
                     7.1 ผูส อนแจ้ง ให้ ผูเ้ รี ย นทราบมาตรฐานการเรี ย นรู้ /ตัว ชี้ วัด สาระการเรี ย นรู้ วิธี ก าร
                             ้
ประเมินผลการเรี ยน เกณฑ์การผ่านและเกณฑ์ข้ นต่าของการผ่านรายวิชาก่อนการจัดกิ จกรรมการเรี ยนรู ้ ให้
                                                          ั
ผูเ้ รี ยนในแต่ละกลุ่มสาระการเรี ยนรู้
                     7.2 ตัว ชี้ วด จะต้องครอบคลุ ม ทั้ง ด้า นความรู ้ ทัก ษะกระบวนการ คุ ณธรรม จริ ย ธรรม
                                    ั
และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
                   7.3 ประเมินวิเคราะห์ผเู ้ รี ยน เพื่อศึกษาความรู ้พ้ืนฐานและความรอบรู ้ในเรื่ องที่จะศึกษา
                     7.4 วัดและประเมินผลระหว่างภาค เพื่อศึกษาผลการเรี ยน เพื่อจัดสอนซ่อมเสริ มและเพื่อนา
คะแนนจากการวัดและประเมินผลไปรวมกับการวัดผลปลายภาค โดยให้วดและประเมินผลตามมาตรฐาน   ั
การเรี ยนรู้ / ตัวชี้วด ตามที่กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้กาหนด
                      ั
                        การวัดผลและประเมินผลระหว่างภาค
                        7.4.1 วัดผลและประเมินผลระหว่างเรี ยนเป็ นระยะ ๆ โดยใช้สถานศึกษาเป็ นผูกาหนด        ้
มาตรฐานการเรี ยนรู้ / ตัวชี้วด ตามกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้
                                  ั
                        7.4.2 วัดผลระหว่า งเรี ยน 2 ครั้ ง (วัดก่ อนวัดผลกลางภาค 1 ครั้ ง และวัดผลหลังวัดผล
กลางภาค 1 ครั้ง ) วัดผลกลางภาค 1 ครั้ง โดยให้สถานศึกษาเป็ นผูกาหนดมาตรฐานการเรี ยนรู ้ / ตัวชี้ วด ตาม
                                                                         ้                                   ั
กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้
                        การประเมินตามข้อ 7.4.1 และ 7.4.2 ถ้าผูเ้ รี ยนมีความรู ้ความสามารถต่ ากว่าเกณฑ์ที่
กาหนดไว้ในมาตรฐานการเรี ยนรู ้ / ตัวชี้ วด ตามกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ให้ผสอนวินิจฉัยหาข้อบกพร่ องของ
                                                   ั                            ู้
                                                     ่
ผูเ้ รี ยนและสอนซ่อมเสริ มแล้วประเมินเพื่อให้ผานเกณฑ์ตวชี้วด   ั ั
                        7.4.3 ประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนของผูเ้ รี ยน เป็ นรายภาค โดยสถานศึกษา
เป็ นผูกาหนดมาตรฐานการเรี ยนรู ้ / ตัวชี้ วด แนวทาง วิธีการ เกณฑ์การประเมินและแนวทางปรับปรุ งแก้ไข
          ้                                      ั
นักเรี ยน
                        7.4.4 ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผูเ้ รี ยน ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน และตามที่สถานศึกษากาหนด
                        7.4.5 ประเมิ นกิ จกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนเป็ นรายภาค สถานศึ กษาเป็ นผูกาหนดแนวทาง
                                                                                                 ้
การประเมิน และให้สอดคล้องกับหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผูรับผิดชอบกิจกรรม / ผูสอน
                                                                                      ้                        ้
ดาเนินการประเมินผลการปฏิบติกิจกรรมตามจุดประสงค์และเวลาในการเข้าร่ วมกิจกรรม
                                      ั
7.5 วัดผลปลายภาคเพื่อตัดสิ นผลการเรี ยนโดยวัดให้ครอบคลุมมาตรฐานการเรี ยนรู้ /
ตัวชี้วด ตามกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ที่กาหนด
       ั
           ข้อ 8 การตัดสิ นผลการเรี ยนให้นาคะแนนระหว่างภาครวมกับคะแนนปลายภาค ตามอัตราส่ วนที่
สถานศึกษากาหนด แล้วนามาเปลี่ยนเป็ นระดับผลการเรี ยน
           ข้อ 9 ให้ใช้ตวเลขแสดงระดับผลการเรี ยนในแต่ละรายวิชา ดังต่อไปนี้
                        ั


          ระดับผลการเรียน                         ความหมาย                     ช่ วงคะแนนเป็ นร้ อยละ
                 4                           ผลการเรี ยนดีเยียม
                                                             ่                         80 - 100
                3.5                          ผลการเรี ยนดีมาก                           75 - 79
                 3                             ผลการเรี ยนดี                            70 - 74
                2.5                        ผลการเรี ยนค่อนข้างดี                        65 - 69
                 2                          ผลการเรี ยนน่าพอใจ                          60 - 64
                1.5                         ผลการเรี ยนน่าพอใช้                         55 - 59
                 1                       ผลการเรี ยนผ่านเกณฑ์ข้ นต่า
                                                                ั                       50 - 54
                 0                        ผลการเรี ยนต่ากว่าเกณฑ์                        0 - 49

         ข้อ 10 ให้ใช้อกษรแสดงผลการเรี ยนที่มีเงื่อนไขในแต่ละรายวิชา ดังนี้
                          ั
                      มส หมายถึง ผูเ้ รี ยนไม่มีสิทธิ์ เข้ารับการวัดผลปลายภาคเรี ยน เนื่ องจากผูเ้ รี ยนเวลาเรี ยน
ไม่ถึงร้อยละ 80 ของเวลาเรี ยนในแต่ละรายวิชาและไม่ได้รับการผ่อนผันให้เข้ารับการวัดผลปลายภาคเรี ยน
                       ร หมายถึง รอการตัดสิ นและยังตัดสิ นผลการเรี ยนไม่ได้ เนื่ องจากผูเ้ รี ยนไม่มีขอมูล   ้
ผลการเรี ยนรายวิชานั้นครบถ้วน ได้แก่ ไม่ได้วดผลกลางภาค / ปลายภาค ๆไม่ได้ส่งงานที่มอบหมายให้ทา
                                                    ั
ซึ่ งงานนั้นเป็ นส่ วนหนึ่งของการตัดสิ นผลการเรี ยน หรื อมีเหตุสุดวิสัยที่ทาให้ประเมินผลการเรี ยนไม่ได้
         ข้อ 11 ให้ใช้ตวอักษรแสดงผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน ดังนี้
                            ั
(กิจกรรมแนะแนว / กิจกรรมนักเรี ยน)
                      ผ หมายถึ ง ผ่าน ผูเ้ รี ยนเข้าร่ วมกิ จกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน ร้ อยละ 80 ขึ้นไปของเวลาเรี ยน
ทั้งหมด ปฏิบติกิจกรรมและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์ข้ นต่าทุกข้อ คือไม่ต่ากว่าร้อยละ 60
                 ั                                            ั
                                         ่
                      มผ หมายถึง ไม่ผาน ต้องปรับปรุ ง ผูเ้ รี ยนมีเวลาเข้าร่ วมกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนไม่ถึงร้อย
ละ 80 ของเวลาเรี ยนทั้งหมด ปฏิบติกิจกรรมและมีผลการประเมินทุกข้อต่ากว่าร้อยละ 80
                                    ั
(กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ )
                     ผ หมายถึง ผ่าน ผูเ้ รี ยนมีเวลาเข้าร่ วมกิจกรรมไม่นอยกว่า 15 ชัวโมง ใน 1 ชั้นปี
                                                                            ้         ่
                                         ่
                     มผ หมายถึง ไม่ผาน ผูเ้ รี ยนมีเวลาเข้าร่ วมกิจกรรมต่ากว่า 15 ชัวโมง ใน 1 ชั้นปี
                                                                                    ่
         ข้อ 12 ให้ใช้คาแสดงผลการเรี ยนประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา ดังนี้
                 ดี เ ยี่ ย ม หมายถึ ง ผู้เ รี ยนปฏิ บ ัติ ต นตามคุ ณ ลั ก ษณะจนเป็ นนิ สั ย และน าไปใช้ ใ น
ชีวตประจาวันเพื่อประโยชน์สุขของตนเองและสังคม โดยพิจารณาจากผลการประเมินระดับดีเยี่ยม จานวน
   ิ
5 - 8 คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใดได้ผลการประเมินต่ากว่าระดับดี
                 ดี หมายถึ ง ผูเ้ รี ย นมี คุณลัก ษณะในการปฏิ บติตามกฎเกณฑ์เพื่อให้เป็ นการยอมรั บของ
                                                                    ั
สังคมโดยพิจารณาจาก
                     1. ได้ผลการประเมินระดับดีเยียม จานวน 1 - 4 คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใดได้ผล
                                                        ่
การประเมินต่ากว่าระดับดี หรื อ
                     2. ได้ผลการประเมินระดับดีเยี่ยม จานวน 4 คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใดได้ผล
การประเมินต่ากว่าระดับผ่าน หรื อ
                     3. ได้ผลการประเมิ นระดับดี จานวน 5 - 8 คุ ณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใดได้ผ ล
การประเมินต่ากว่าระดับผ่าน
                 ผ่ าน หมายถึ ง ผูเ้ รี ยนรับรู ้ และปฏิ บติตามกฎเกณฑ์และเงื่ อนไขที่สถานศึ กษากาหนดโดย
                                                            ั
พิจารณาจาก
                  1. ได้ผลการประเมินระดับผ่าน จานวน 5 - 8 คุ ณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใดได้ผล
การประเมินต่ากว่าระดับผ่าน หรื อ
                  2. ได้ผ ลการประเมิ น ระดับ ดี จ านวน 4 คุ ณ ลัก ษณะ และไม่ มี คุ ณ ลัก ษณะใดได้ผ ล
การประเมินต่ากว่าระดับผ่าน
                 ไม่ ผ่าน หมายถึง ผูเ้ รี ยนรับรู้และปฏิบติได้ไ ม่ครบตามกฎเกณฑ์และเงื่อนไขที่สถานศึกษา
                                                              ั
                                                      ่
กาหนด โดยพิจารณาจากผลการประเมินระดับไม่ผาน ตั้งแต่ 1 คุณลักษณะ
10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.

More Related Content

What's hot

หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางsawitreesantawee
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51Suwanan Nonsrikham
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้kruteerapol
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51Suwanan Nonsrikham
 
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานkruthai40
 
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบWongduean Phumnoi
 
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)wasan
 
บทที่ 1 หลักการและเทคนิคการวัดและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 1 หลักการและเทคนิคการวัดและประเมินการเรียนรู้บทที่ 1 หลักการและเทคนิคการวัดและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 1 หลักการและเทคนิคการวัดและประเมินการเรียนรู้ืnattakamon thongprung
 
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้Bhayubhong
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงkruteerapol
 
หลักสูตรปรับปรุง 2553
หลักสูตรปรับปรุง 2553หลักสูตรปรับปรุง 2553
หลักสูตรปรับปรุง 2553weerawat pisurat
 
Utq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผลUtq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผลkrusoon1103
 
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอกphiphitthanawat
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้Sasipron Tosuk
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐานtassanee chaicharoen
 

What's hot (18)

หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51
 
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
 
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
 
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
 
บทที่ 1 หลักการและเทคนิคการวัดและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 1 หลักการและเทคนิคการวัดและประเมินการเรียนรู้บทที่ 1 หลักการและเทคนิคการวัดและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 1 หลักการและเทคนิคการวัดและประเมินการเรียนรู้
 
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
 
หลักสูตรปรับปรุง 2553
หลักสูตรปรับปรุง 2553หลักสูตรปรับปรุง 2553
หลักสูตรปรับปรุง 2553
 
Utq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผลUtq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผล
 
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
 
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการนโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
 

Similar to 10.ระเบียบวัดผล ดพ.

Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
ปรับปรุงหลักสูตร
ปรับปรุงหลักสูตรปรับปรุงหลักสูตร
ปรับปรุงหลักสูตรkrutep
 
แนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลแนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลnarongsak promwang
 
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิตประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิตtassanee chaicharoen
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานkruthai40
 
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...Totsaporn Inthanin
 
Quality Assurance communication Arts KBU
Quality Assurance communication Arts KBUQuality Assurance communication Arts KBU
Quality Assurance communication Arts KBUPises Tantimala
 
ประกาศการใช้มาตรฐานสถานศึกษาโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศการใช้มาตรฐานสถานศึกษาโรงเรียนวัดพวงนิมิตประกาศการใช้มาตรฐานสถานศึกษาโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศการใช้มาตรฐานสถานศึกษาโรงเรียนวัดพวงนิมิตtassanee chaicharoen
 
การใช้O net
การใช้O netการใช้O net
การใช้O netDhanee Chant
 
การปรับ คอศ. 1
การปรับ คอศ. 1การปรับ คอศ. 1
การปรับ คอศ. 1Totsaporn Inthanin
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02Wes Yod
 
นำเสนอวิทยานิพนธ์
นำเสนอวิทยานิพนธ์นำเสนอวิทยานิพนธ์
นำเสนอวิทยานิพนธ์Jutatip Ni
 
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาการประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาAonaon Krubpom
 

Similar to 10.ระเบียบวัดผล ดพ. (20)

Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
ปรับปรุงหลักสูตร
ปรับปรุงหลักสูตรปรับปรุงหลักสูตร
ปรับปรุงหลักสูตร
 
แนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลแนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผล
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่  7จุดเน้นที่  7
จุดเน้นที่ 7
 
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิตประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศค่าเป้าหมายมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
แนวทางการพัฒนา การวัดและประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึ...
 
Quality Assurance communication Arts KBU
Quality Assurance communication Arts KBUQuality Assurance communication Arts KBU
Quality Assurance communication Arts KBU
 
ประกาศการใช้มาตรฐานสถานศึกษาโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศการใช้มาตรฐานสถานศึกษาโรงเรียนวัดพวงนิมิตประกาศการใช้มาตรฐานสถานศึกษาโรงเรียนวัดพวงนิมิต
ประกาศการใช้มาตรฐานสถานศึกษาโรงเรียนวัดพวงนิมิต
 
การใช้O net
การใช้O netการใช้O net
การใช้O net
 
การปรับ คอศ. 1
การปรับ คอศ. 1การปรับ คอศ. 1
การปรับ คอศ. 1
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02
 
นำเสนอวิทยานิพนธ์
นำเสนอวิทยานิพนธ์นำเสนอวิทยานิพนธ์
นำเสนอวิทยานิพนธ์
 
Qa 3
Qa 3Qa 3
Qa 3
 
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาการประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษา
 
B1
B1B1
B1
 
Ea5103
Ea5103Ea5103
Ea5103
 

More from nang_phy29

รายชื่อนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสูงสุด 5 อันดับ
รายชื่อนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสูงสุด 5 อันดับรายชื่อนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสูงสุด 5 อันดับ
รายชื่อนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสูงสุด 5 อันดับnang_phy29
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2nang_phy29
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนnang_phy29
 
Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์nang_phy29
 
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามnang_phy29
 
วิเคราะห์ Swot
วิเคราะห์ Swotวิเคราะห์ Swot
วิเคราะห์ Swotnang_phy29
 
เอกสารแนบ
เอกสารแนบเอกสารแนบ
เอกสารแนบnang_phy29
 
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงnang_phy29
 
ดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมา
ดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมาดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมา
ดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมาnang_phy29
 
ดงมะไฟพิทยาคม Uv
ดงมะไฟพิทยาคม Uvดงมะไฟพิทยาคม Uv
ดงมะไฟพิทยาคม Uvnang_phy29
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์nang_phy29
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2 ศิลป์มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2 ศิลป์nang_phy29
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2nang_phy29
 
มัธยมต้น ภาคเรียนที่2
มัธยมต้น ภาคเรียนที่2มัธยมต้น ภาคเรียนที่2
มัธยมต้น ภาคเรียนที่2nang_phy29
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1nang_phy29
 
มัธยมต้น ภาคเรียนที่1
มัธยมต้น ภาคเรียนที่1มัธยมต้น ภาคเรียนที่1
มัธยมต้น ภาคเรียนที่1nang_phy29
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์nang_phy29
 
นักศึกษา 53
นักศึกษา 53นักศึกษา 53
นักศึกษา 53nang_phy29
 
ตัวต้านทาน
ตัวต้านทานตัวต้านทาน
ตัวต้านทานnang_phy29
 

More from nang_phy29 (20)

รายชื่อนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสูงสุด 5 อันดับ
รายชื่อนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสูงสุด 5 อันดับรายชื่อนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสูงสุด 5 อันดับ
รายชื่อนักเรียนที่มีผลการเรียนเฉลี่ยสูงสุด 5 อันดับ
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน.2
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
 
Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์
 
Swot analysis
Swot analysisSwot analysis
Swot analysis
 
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม
 
วิเคราะห์ Swot
วิเคราะห์ Swotวิเคราะห์ Swot
วิเคราะห์ Swot
 
เอกสารแนบ
เอกสารแนบเอกสารแนบ
เอกสารแนบ
 
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
 
ดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมา
ดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมาดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมา
ดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมา
 
ดงมะไฟพิทยาคม Uv
ดงมะไฟพิทยาคม Uvดงมะไฟพิทยาคม Uv
ดงมะไฟพิทยาคม Uv
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2 ศิลป์มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2 ศิลป์
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่2
 
มัธยมต้น ภาคเรียนที่2
มัธยมต้น ภาคเรียนที่2มัธยมต้น ภาคเรียนที่2
มัธยมต้น ภาคเรียนที่2
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1
 
มัธยมต้น ภาคเรียนที่1
มัธยมต้น ภาคเรียนที่1มัธยมต้น ภาคเรียนที่1
มัธยมต้น ภาคเรียนที่1
 
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
มัธยมปลาย ภาคเรียนที่1 ศิลป์
 
นักศึกษา 53
นักศึกษา 53นักศึกษา 53
นักศึกษา 53
 
ตัวต้านทาน
ตัวต้านทานตัวต้านทาน
ตัวต้านทาน
 

10.ระเบียบวัดผล ดพ.

  • 1. ระเบียบโรงเรียนดงมะไฟพิทยาคม ว่าด้ วยการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสู ตรสถานศึกษา พุทธศักราช 2553 ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืนฐาน พุทธศักราช 2551 ้ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้ น
  • 2. ประกาศโรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคม เรื่ อง ระเบียบโรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคม ว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ตามหลักสู ตรสถานศึกษา พุทธศักราช 2553 ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย .............................................. ตามที่โรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคม ได้ดาเนิ นการจัดทาระเบียบว่าด้วยการวัดผลประเมินผลการเรี ยน ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม. 1 – ม. 3) และ ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4 –ม. 6) คณะกรรมการบริ หารหลักสู ตรและงานวิชาการ ได้กาหนดระเบียบว่า ด้วยการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู้ตามแนวปฏิบติการวัดและประเมินผลการเรี ยนตามหลักสู ตรแกนกลาง ั การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 บนพื้นฐานสองประการคือ เพื่อการวัดและประเมินเพื่อพัฒนาผูเ้ รี ยน (Formative Assessment) และเพื่อตัดสิ นผลการเรี ยน (Summative Assessment) เป็ นกระบวนการพัฒนา ปรับปรุ งการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยน และตัดสิ นว่าผูเ้ รี ยนมีความรู้ความสามารถ ทักษะ คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ อันเป็ นผลจากการเรี ยนการสอน บรรลุมาตรฐาน การเรี ยนรู้ / ตัวชี้วด ในระดับใด เป็ นการรองรับ ั ความรู ้ ความสามารถของผูเ้ รี ยน ว่าควรได้รับการเลื่อนชั้น หรื อจบหลักสู ตรหรื อไม่ โดยสถานศึกษามี หน้าที่อนุมติและรายงานผลการเรี ยน ั ทั้งนี้ ระเบียบว่าด้วยการวัดผลและประเมินผลการเรี ยนตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2553 จึงประกาศใช้ในโรงเรี ยนตั้งแต่บดนี้เป็ นต้นไป ั ประกาศ ณ วันที่ 16 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2553 (นายทวี ผลจันทร์) (นายสมหมาย เกิดศิริ) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผูอานวยการโรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคม ้
  • 3. ระเบียบโรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคม ว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ตามหลักสู ตรสถานศึกษา พุทธศักราช 2553 ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม. 1 – ม.3) .............................................. โดยที่กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ตาม คาสั่งกระทรวงศึกษาธิ การ ที่ สพฐ.293/2551 ลงวันที่ 11 กรกฎาคม 2551 เรื่ องให้ใช้หลักสู ตรแกนกลาง สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และกระจายอานาจให้สถานศึกษากาหนดหลักสู ตรสถานศึกษา ขึ้นใช้เอง จึงเป็ นการสมควรที่จะกาหนดระเบียบโรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคมว่าด้วยการวัดผลและประเมินผล การเรี ยนตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1-ม.3) ให้สอดคล้องกับคาสั่งดังกล่าว โรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคม จึงวางระเบียบไว้ดงต่อไปนี้ ั ข้อ 1 ระเบียบนี้เรี ยกว่า “ระเบียบโรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคม ว่าด้วยการวัดและประเมินผล การเรี ยนตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1 – ม. 3)” ในระเบียบนี้ คาว่า “สถานศึกษา” หมายถึง โรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคม คาว่า “ผูเ้ รี ยน” หมายถึง ผูที่ข้ ึนทะเบียนเป็ นนักเรี ยน โรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคม ้ คาว่า “ผูส อน” หมายถึ ง ครู โรงเรี ย นดงมะไฟพิ ทยาคม หรื อผูที่ ได้รับมอบหมายจากหัวหน้า ้ ้ สถานศึกษา ให้รับผิดชอบเกี่ยวกับการเรี ยนการสอน ข้อ 2 ให้ใช้ระเบียบนี้ในชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 ปี การศึกษา 2553 เป็ นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิกบรรดาระเบียบ ข้อบังคับ หรื อคาสั่งใด ๆ ในส่ วนที่โรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคม กาหนดไว้ ซึ่ งขัดหรื อแย้งกับระเบียบนี้ ให้ใช้ระเบียบนี้ แทน ข้อ 4 ให้ใช้ระเบียบนี้ ควบคู่กบหลักสู ตรโรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคม พุทธศักราช 2553 อิง ั หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ข้อ 5 ให้หวหน้าสถานศึกษารักษาการให้เป็ นไปตามระเบียบนี้ ั
  • 4. หมวด 1 หลักการวัดและประเมินผลการเรียน ข้อ 6 การประเมินผลการเรี ยน ให้เป็ นไปตามหลักการต่อไปนี้ 6.1 สถานศึ ก ษามี ห น้า ที่ ป ระเมิ น ผลการเรี ย น โดยความเห็ น ชอบของคณะกรรมการ สถานศึ ก ษาขั้นพื้ นฐานโรงเรี ย นดงมะไฟพิ ท ยาคม ในเรื่ องของเกณฑ์และแนวด าเนิ นการเกี่ ย วกับ การ ประเมินผลการเรี ยน 6.2 ประเมิ นผลการเรี ย นเป็ นรายวิช า/รายภาค ให้ป ฏิ บ ัติต ามที่ ก าหนดไว้ใ นหลัก สู ต ร สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2553 ของโรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคม (ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551) 6.3 ประเมิ น ผลการเรี ย นให้ ส อดคล้อ งและครอบคลุ ม มาตรฐานการเรี ย นรู ้ / ตัว ชี้ ว ด ั สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รี ยน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสาระการเรี ยนรู ้ รวมทั้งสอดคล้องกับสภาพ และความต้องการของท้องถิ่ นและชุ มชน 6.4 ประเมิ นทั้ง เพื่ อปรั บ ปรุ ง พัฒนาผูเ้ รี ย น การจัดการเรี ย นการสอนและเพื่ อตัดสิ นผล การเรี ยน 6.5 ประเมิ นความสามารถในการอ่าน คิ ดวิเคราะห์ และเขี ยนสื่ อความของนักเรี ยนเป็ น รายภาค 6.6 ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผูเ้ รี ยนเป็ นรายภาค 6.7 ประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนเป็ นรายกิจกรรมเป็ นรายภาค 6.8 สถานศึกษาต้องจัดให้ผเู ้ รี ยนทุกคนที่เรี ยนปี การศึกษาสุ ดท้ายของแต่ละระดับชั้นเข้ารับ การประเมินระดับชาติตามที่กระทรวงศึกษาธิ การกาหนด
  • 5. หมวด 2 วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ข้อ 7 การประเมินผลเพื่อปรับปรุ งพัฒนาผูเ้ รี ยน การจัดการเรี ยนการสอนให้ถือปฏิบติ ดังนี้ ั 7.1 ผูส อนแจ้ง ให้ ผูเ้ รี ย นทราบมาตรฐานการเรี ย นรู้ /ตัว ชี้ วัด สาระการเรี ย นรู้ วิธี ก าร ้ ประเมินผลการเรี ยน เกณฑ์การผ่านและเกณฑ์ข้ นต่ าของการผ่านรายวิชาก่ อนการจัดกิ จกรรมการเรี ยนรู ้ ให้ ั ผูเ้ รี ยนในแต่ละกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ 7.2 ตัว ชี้ วด จะต้องครอบคลุ ม ทั้ง ด้า นความรู ้ ทัก ษะกระบวนการ คุ ณธรรม จริ ย ธรรม ั และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 7.3 ประเมินวิเคราะห์ผเู้ รี ยน เพื่อศึกษาความรู ้พ้ืนฐานและความรอบรู ้ในเรื่ องที่จะศึกษา 7.4 วัดและประเมินผลระหว่างภาค เพื่อศึกษาผลการเรี ยน เพื่อจัดสอนซ่อมเสริ มและเพื่อนา คะแนนจากการวัดและประเมินผลไปรวมกับการวัดผลปลายภาค โดยให้วดและประเมินผลตามมาตรฐาน ั การเรี ยนรู้ / ตัวชี้วด ตามที่กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้กาหนด ั การวัดผลและประเมินผลระหว่างภาค 7.4.1 วัดผลและประเมินผลระหว่างเรี ยนเป็ นระยะ ๆ โดยใช้สถานศึกษาเป็ นผูกาหนด ้ มาตรฐานการเรี ยนรู้ / ตัวชี้วด ตามกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ั 7.4.2 วัดผลระหว่า งเรี ยน 2 ครั้ ง (วัดก่ อนวัดผลกลางภาค 1 ครั้ ง และวัดผลหลังวัดผล กลางภาค 1 ครั้ง ) วัดผลกลางภาค 1 ครั้ง โดยให้สถานศึกษาเป็ นผูกาหนดมาตรฐานการเรี ยนรู ้ / ตัวชี้ วด ตาม ้ ั กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ การประเมินตามข้อ 7.4.1 และ 7.4.2 ถ้าผูเ้ รี ยนมีความรู ้ความสามารถต่ ากว่าเกณฑ์ที่ กาหนดไว้ในมาตรฐานการเรี ยนรู ้ / ตัวชี้ วด ตามกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ให้ผสอนวินิจฉัยหาข้อบกพร่ องของ ั ู้ ่ ผูเ้ รี ยนและสอนซ่อมเสริ มแล้วประเมินเพื่อให้ผานเกณฑ์ตวชี้วด ั ั 7.4.3 ประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนของผูเ้ รี ยน เป็ นรายภาค โดยสถานศึกษา เป็ นผูกาหนดมาตรฐานการเรี ยนรู ้ / ตัวชี้ วด แนวทาง วิธีการ เกณฑ์การประเมินและแนวทางปรับปรุ งแก้ไข ้ ั นักเรี ยน 7.4.4 ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผูเ้ รี ยน ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน และตามที่สถานศึกษากาหนด 7.4.5 ประเมิ นกิ จกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนเป็ นรายภาค สถานศึ กษาเป็ นผูกาหนดแนวทาง ้ การประเมิน และให้สอดคล้องกับหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผูรับผิดชอบกิจกรรม / ผูสอน ้ ้ ดาเนินการประเมินผลการปฏิบติกิจกรรมตามจุดประสงค์และเวลาในการเข้าร่ วมกิจกรรม ั 7.5 วัดผลปลายภาคเพื่อตัดสิ นผลการเรี ยนโดยวัดให้ครอบคลุมมาตรฐานการเรี ยนรู้ / ตัวชี้วด ตามกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ที่กาหนด ั
  • 6. ข้อ 8 การตัดสิ นผลการเรี ยนให้นาคะแนนระหว่างภาครวมกับคะแนนปลายภาค ตามอัตราส่ วนที่ สถานศึกษากาหนด แล้วนามาเปลี่ยนเป็ นระดับผลการเรี ยน ข้อ 9 ให้ใช้ตวเลขแสดงระดับผลการเรี ยนในแต่ละรายวิชา ดังต่อไปนี้ ั ระดับผลการเรียน ความหมาย ช่ วงคะแนนเป็ นร้ อยละ 4 ผลการเรี ยนดีเยียม ่ 80 - 100 3.5 ผลการเรี ยนดีมาก 75 - 79 3 ผลการเรี ยนดี 70 - 74 2.5 ผลการเรี ยนค่อนข้างดี 65 - 69 2 ผลการเรี ยนน่าพอใจ 60 - 64 1.5 ผลการเรี ยนน่าพอใช้ 55 - 59 1 ผลการเรี ยนผ่านเกณฑ์ข้ นต่า ั 50 - 54 0 ผลการเรี ยนต่ากว่าเกณฑ์ 0 - 49 ข้อ 10 ให้ใช้อกษรแสดงผลการเรี ยนที่มีเงื่อนไขในแต่ละรายวิชา ดังนี้ ั มส หมายถึง ผูเ้ รี ยนไม่มีสิทธิ์ เข้ารับการวัดผลปลายภาคเรี ยน เนื่ องจากผูเ้ รี ยนเวลาเรี ยน ไม่ถึงร้อยละ 80 ของเวลาเรี ยนในแต่ละรายวิชาและไม่ได้รับการผ่อนผันให้เข้ารับการวัดผลปลายภาคเรี ยน ร หมายถึง รอการตัดสิ นและยังตัดสิ นผลการเรี ยนไม่ได้ เนื่ องจากผูเ้ รี ยนไม่มีขอมูล ้ ผลการเรี ยนรายวิชานั้นครบถ้วน ได้แก่ ไม่ได้วดผลกลางภาค / ปลายภาค ๆไม่ได้ส่งงานที่มอบหมายให้ทา ั ซึ่ งงานนั้นเป็ นส่ วนหนึ่งของการตัดสิ นผลการเรี ยน หรื อมีเหตุสุดวิสัยที่ทาให้ประเมินผลการเรี ยนไม่ได้ ข้อ 11 ให้ใช้ตวอักษรแสดงผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน ดังนี้ ั (กิจกรรมแนะแนว / กิจกรรมนักเรี ยน) ผ หมายถึง ผ่าน ผูเ้ รี ยนเข้าร่ วมกิ จกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน ร้ อยละ 80 ขึ้นไปของเวลาเรี ยน ทั้งหมด ปฏิบติกิจกรรมและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์ข้ นต่าทุกข้อ คือไม่ต่ากว่าร้อยละ 60 ั ั มผ หมายถึ ง ไม่ผ่า น ต้องปรั บปรุ ง ผูเ้ รี ยนมี เวลาเข้าร่ วมกิ จกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนไม่ถึ ง ร้อยละ 80 ของเวลาเรี ยนทั้งหมด ปฏิบติกิจกรรมและมีผลการประเมินทุกข้อต่ากว่าร้อยละ 80 ั (กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ) ผ หมายถึง ผ่าน ผูเ้ รี ยนมีเวลาเข้าร่ วมกิจกรรมไม่นอยกว่า 15 ชัวโมง ใน 1 ชั้นปี ้ ่ ่ มผ หมายถึง ไม่ผาน ผูเ้ รี ยนมีเวลาเข้าร่ วมกิจกรรมต่ากว่า 15 ชัวโมง ใน 1 ชั้นปี ่ ข้อ 12 ให้ใช้คาแสดงผลการเรี ยนประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา ดังนี้
  • 7. ดี เ ยี่ ย ม หมายถึ ง ผู้เ รี ยนปฏิ บ ัติ ต นตามคุ ณ ลั ก ษณะจนเป็ นนิ สั ย และน าไปใช้ ใ น ชีวตประจาวันเพื่อประโยชน์สุขของตนเองและสังคม โดยพิจารณาจากผลการประเมินระดับดีเยี่ยม จานวน ิ 5 - 8 คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใดได้ผลการประเมินต่ากว่าระดับดี ดี หมายถึ ง ผูเ้ รี ย นมี คุณลัก ษณะในการปฏิ บติตามกฎเกณฑ์เพื่อให้เป็ นการยอมรั บของ ั สังคมโดยพิจารณาจาก 1. ได้ผลการประเมินระดับดีเยียม จานวน 1 - 4 คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใดได้ผล ่ การประเมินต่ากว่าระดับดี หรื อ 2. ได้ผลการประเมินระดับดีเยี่ยม จานวน 4 คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใดได้ผล การประเมินต่ากว่าระดับผ่าน หรื อ 3. ได้ผลการประเมิ นระดับดี จานวน 5 - 8 คุ ณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใดได้ผ ล การประเมินต่ากว่าระดับผ่าน ผ่ าน หมายถึ ง ผูเ้ รี ยนรับรู ้ และปฏิ บติตามกฎเกณฑ์และเงื่ อนไขที่สถานศึ กษากาหนดโดย ั พิจารณาจาก 1. ได้ผลการประเมินระดับผ่าน จานวน 5 - 8 คุ ณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใดได้ผล การประเมินต่ากว่าระดับผ่าน หรื อ 2. ได้ผ ลการประเมิ น ระดับ ดี จ านวน 4 คุ ณ ลัก ษณะ และไม่ มี คุ ณ ลัก ษณะใดได้ผ ล การประเมินต่ากว่าระดับผ่าน ไม่ ผ่าน หมายถึง ผูเ้ รี ยนรับรู้และปฏิบ ัติได้ไม่ครบตามกฎเกณฑ์และเงื่อนไขที่สถานศึกษา ่ กาหนด โดยพิจารณาจากผลการประเมินระดับไม่ผาน ตั้งแต่ 1 คุณลักษณะ
  • 8. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของนักเรียนโรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคม 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ตัวชี้วด 1.1 เป็ นพลเมืองดีของชาติ ั 1.2 ธารงไว้ซ่ ึงความเป็ นไทย 1.3 ศรัทธา ยึดมันและปฏิบติตนตามหลักศาสนา ่ ั 1.4 เคารพ เทิดทูน สถาบันพระมหากษัตริ ย ์ 2. ซื่อสั ตย์ สุจริต ตัวชี้วด 2.1ประพฤติตรงตามความเป็ นจริ งต่อตนเอง ทั้งทางกาย วาจา ใจ ั 2.2 ประพฤติตรงตามความเป็ นจริ งต่อผูอื่น ทั้งทางกาย วาจา ใจ ้ 3. มีวนัย ิ ตัวชี้วด 3.1 ปฏิบติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับ ของครอบครัว โรงเรี ยน และสังคม ั ั 4. ใฝ่ เรียนรู้ ตัวชี้วด 4.1 ตั้งใจ เพียรพยายาม ในการเรี ยน และเข้าร่ วมกิจกรรม ั 4.2 แสวงหาความรู ้จากแหล่งต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรี ยน ด้วยการเลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม สรุ ปเป็ นองค์ความรู ้ สามารถนาไปใช้ในชีวตประจาวันได้ ิ 5. อยู่อย่ างพอเพียง ตัวชี้วด 5.1 ดาเนิ นชีวตอย่างพอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรม ั ิ ่ 5.2 มีภูมิคุมกันในตัวที่ดี ปรับตัวเพื่ออยูในสังคม ได้อย่างมีความสุ ข ้ 6. มุ่งมั่นในการทางาน ตัวชี้วด 6.1 ตั้งใจและรับผิดชอบ ในหน้าที่การงาน ั 6.2 ทางานด้วยความเพียรพยายามและอดทนเพื่อให้งานสาเร็ จตามเป้ าหมาย 7. รักความเป็ นไทย ตัวชี้วด 7.1 ภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรมไทยและมีความกตัญญูกตเวที ั 7.2 เห็นคุณค่าและใช้ภาษาไทย ในการสื่ อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม 7.3 อนุรักษ์และสื บทอดภูมิปัญญาไทย 8. มีจิตสาธารณะ ตัวชี้วด 8.1 ช่วยเหลือผูอื่นด้วยความเต็มใจโดยไม่หวังผลตอบแทน ั ้ 8.2 เข้าร่ วมกิจกรรมที่เป็ นประโยชน์ต่อโรงเรี ยน ชุมชนและสังคม 8.3 ศรัทธา ยึดมันและปฏิบติตนตามหลักศาสนา ่ ั 8.4 เคารพ เทิดทูน สถาบันพระมหากษัตริ ย ์
  • 9. ข้อ 13 ให้ใช้คาแสดงผลการเรี ยนประเมินความสามารถด้านการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนของ สถานศึกษา ดังนี้ ดีเยียม หมายถึง มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนที่มี ่ คุณภาพดีเลิศอยูเ่ สมอ ดี หมายถึง มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนที่มีคุณภาพ เป็ นที่ยอมรับ แต่ยงมีขอบกพร่ องบางประการ ั ้ ไม่ ผ่าน หมายถึง ไม่มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน หรื อถ้ามีผลงาน ผลงานนั้นยังมีขอบกพร่ องที่ตองได้รับการปรับปรุ งแก้ไขหลายประการ ้ ้
  • 10. หมวด 3 การตัดสิ นผลการเรียน ข้อ 14 หลักสู ตรสถานศึกษา พุทธศักราช 2553 การตัดสิ นผลการเรี ยนตามหลักสู ตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กาหนดหลักเกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ ดังนี้ 14.1 ตัดสิ นผลการเรี ยนเป็ นรายวิชา ผูเ้ รี ยนต้องมีเวลาเรี ยนตลอดภาคเรี ยนไม่นอยกว่า ้ ร้อยละ 80 ของเวลาเรี ยนทั้งหมดในรายวิชานั้น ๆ 14.2 ผูเ้ รี ยนต้องเรี ยนได้รับการประเมินทุกตัวชี้วดและผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษา ั กาหนด 14.3 ผูเ้ รี ยนต้องได้รับการตัดสิ นผลการเรี ยนทุกรายวิชา 14.4 ผูเ้ รี ยนต้องได้รับการประเมินและมีผลการประเมินตามเกณฑ์ที่สถานศึกษา กาหนดในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์และกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน ข้อ 15 การตัดสิ นเพื่อให้ระดับผลการเรี ยนรายวิชาของกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ให้ใช้ตวเลขแสดง ั ระดับผลการเรี ยนเป็ น 8 ระดับ (0 ,1 ,1.5 , 2 , 3.5 ,3 ,3.5 ,4) ในกรณี ที่ไม่สามารถให้ระดับผลการเรี ยนเป็ น 8 ระดับได้ให้ใช้อกษรระบุเงื่อนไขของผลการเรี ยนเป็ น 8 ระดับได้ให้ใช้อกษรระบุเงื่อนไของผลการเรี ยนดังนี้ ั ั มส. หมายถึง ผูเ้ รี ยนไม่มีสิทธิ เข้ารับการวัดผลปลายภาคเรี ยน เนื่องจากผูเ้ รี ยนมีเวลาเรี ยน ไม่ถึงร้อยละ 80 ของเวลาเรี ยนในรายวิชา และไม่ได้รับการผ่อนผันให้เข้ารับการวัดผลปลายภาคเรี ยน ม ร หมายถึง รอการตัดสิ นและยังตัดสิ นผลการเรี ยนไม่ได้ เนื่ องจากผูเ้ รี ยนไม่มีขอมูลผลการ ้ เรี ยนรายวิชานั้นครบถ้วน ได้แก่ ไม่ได้วดผลกลางภาคเรี ยน / ปลายภาคเรี ยน ไม่ได้ส่งงานที่มอบหมายให้ทา ั ซึ่ งงานนั้นเป็ นส่ วนหนึ่งของการตัดสิ นผลการเรี ยน หรื อมีเหตุสุดวิสัยที่ทาให้ประเมินผลการเรี ยนไม่ได้ ข้อ 16 การประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์ เขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ให้ใช้ระดับผลการ ่ ่ ประเมินเป็ นผ่านและไม่ผาน กรณี ที่ผานให้ระดับผลการเรี ยนเป็ นดีเยียม ดีและผ่าน ่ ข้อ 17 การประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน พิจารณาทั้งเวลาเข้าร่ วมกิจกรรม การปฏิบติกิจกรรมและ ั ผลงานของผูเ้ รี ยนตามเกณฑ์ท่ีกาหนด และให้ผลการประเมินเป็ นผ่าน และไม่ผาน ่ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนมี 3 ลักษณะ คือ 1. กิจกรรมแนะแนว 2. กิจกรรมนักเรียน ซึ่งประกอบด้ วย 2.1 กิจกรรมลูกเสื อ – เนตรนารี ยุวกาชาด ผูบาเพ็ญประโยชน์และนักศึกษาวิชาทหารโดย ้ ผูเ้ รี ยนเลือกอย่างใดอย่างหนึ่ ง 1 กิจกรรม 2.2 กิจกรรมชุมนุมหรื อชมรมอีก 1 กิจกรรม
  • 11. ให้ใช้ตวอักษรแสดงผลการประเมิน ดังนี้ ั “ผ” หมายถึง “ผ่าน” ผูเ้ รี ยนมีเวลาเข้าร่ วมกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน ร้อยละ 80 ขึ้นไปของเวลา เรี ยนทั้งหมด ปฏิบติกิจกรรมและมีผลการประเมินทุกข้อต่ากว่าร้อยละ 80 ั ่ “มผ” หมายถึง “ไม่ผาน” ต้องปรับปรุ ง ผูเ้ รี ยนมีเวลาเข้าร่ วมกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนไม่ถึง ร้อยละ80 ของเวลาเรี ยนทั้งหมด ปฏิบติกิจกรรมและมีผลการประเมินทุกข้อต่ากว่าร้อยละ 50 ั 3. กิจกรรมเพือสั งคมและสาธารณประโยชน์ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1 – ม. 3) รวม 3 ปี ่ จานวน 45 ชัวโมงให้ใช้ตวอักษรแสดงผลการประเมินดังนี้ ่ ั “ผ” หมายถึง “ผ่าน” ผูเ้ รี ยนมีเวลาเข้าร่ วมกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ไม่ น้อยกว่า 15 ชัวโมง / ปี โดยประเมินจากหลักฐานแบบบันทึกที่ผมีส่วนเกี่ยวข้องให้การรับรอง ่ ู้ ่ “มผ” หมายถึง “ไม่ผาน” ผูเ้ รี ยนมีเวลาเข้าร่ วมกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ไม่ถึง 15 ชัวโมง / ปี โดยประเมินจากหลักฐานแบบบันทึกที่ผมีส่วนเกี่ยวข้องให้การรับรอง ่ ู้ ในกรณี ผเู้ รี ยนได้ผลการเรี ยน “มผ” สถานศึกษาจัดซ่อมเสริ มให้ผเู ้ รี ยนทากิจกรรมในส่ วนที่ ผูเ้ รี ยนไม่ได้เข้าร่ วมหรื อไม่ได้ทาจนครบถ้วน แล้วจึงจะเปลี่ยนผลการเรี ยนจาก “มผ” เป็ น “ผ” ได้ท้ งนี้ตอง ั ้ ่ ดาเนินการให้เสร็ จสิ้ นภายในภาคเรี ยนนั้น ๆ ยกเว้นมีเหตุสุดวิสัยให้อยูในดุลยพินิจของหัวหน้าสถานศึกษา และคณะกรรมการสถานศึกษาในการที่จะขยายเวลาออกไปอีกไม่เกิน 1 ภาคเรี ยน แต่ตองดาเนินการให้เสร็ จ ้ สิ้ นภายในปี การศึกษานั้น ข้อ 18 การเปลี่ยนผลการเรี ยน 18.1 การเปลี่ยนผลการเรี ยน “0” โรงเรี ยนจะจัดให้มีการสอนซ่อมเสริ มในมาตรฐานการเรี ยนรู ้ / ตัวชี้วด ที่ผเู ้ รี ยน ั ่ สอบไม่ผานก่อน แล้วจึงสอบแก้ตวได้ไม่เกิน 2 ครั้ง ถ้าผูเ้ รี ยนไม่ดาเนินการสอบแก้ตวตามระยะเวลาที่ ั ั ่ สถานศึกษากาหนด อยูในดุลยพินิจของสถานศึกษาที่จะพิจารณาขยายเวลาออกไปอีก 1 ภาคเรี ยน ทั้งนี้ตอง ้ ดาเนินการให้เสร็ จสิ้ นภายในปี การศึกษานั้น ถ้าสอบแก้ตว 2 ครั้งแล้ว ยังได้รับผลการเรี ยน “0” อีก โรงเรี ยนจะดาเนินการ ั แต่งตั้งคณะกรรมการดาเนินการเกี่ยวกับการเปลี่ยนผลการเรี ยนของผูเ้ รี ยน ดังนี้ 1. ถ้าเป็ นรายวิชาพื้นฐานให้เรี ยนซ้ ารายวิชานั้น 2. ถ้าเป็ นรายวิชาเพิมเติมให้เรี ยนซ้ าหรื อเปลี่ยนรายวิชาใหม่ ทั้งนี้ข้ ึนอยูกบ ่ ่ ั ดุลยพินิจของสถานศึกษา 18.2 การเปลี่ยนผลการเรี ยน “ร” ให้ผเู ้ รี ยนดาเนิ นการแก้ไข “ร” ตามสาเหตุเมื่อผูเ้ รี ยนแก้ไขปั ญหาเสร็ จสิ้ นแล้วให้ ได้ระดับผลการเรี ยนตามปกติ (0 - 4)
  • 12. ่ ั ถ้าผูเ้ รี ยนไม่ดาเนินการแก้ไข “ร” ให้ครู ผสอนนาข้อมูลที่มีอยูตดสิ นผลการเรี ยน ู้ ่ ยกเว้นมีเหตุสุดวิสัยให้อยูในดุลยพินิจของสถานศึกษาที่จะขยายเวลาการแก้ “ร” ออกไปอีกไม่เกิน 1 ภาค เรี ยน ทั้งนี้ ดาเนิ นการให้เสร็ จสิ้ นภายในปี การศึกษานั้น เมื่อพ้นกาหนดแล้วหากผลการเรี ยนเป็ น 0 ให้แก้ไข ตามหลักเกณฑ์ 18.3 การเปลี่ยนผลการเรี ยน “มส” การเปลี่ยนผลการเรี ยน “มส” มี 2 กรณี ดงนี้ั อ 1. กรณี ผเู้ รี ยนได้ผลการเรี ยน “มส” เพราะมีเวลาเรี ยน เพราะมีเวลาเรี ยนไม่ถึงร้อยละ 80 แต่มีเวลาเรี ยนไม่นอยกว่าร้อยละ 60 ของเวลาเรี ยนทั้งหมด สถานศึกษาจะจัดให้เรี ยนเพิ่มเติมโดยใช้ ้ ชัวโมงสอนซ่ อมเสริ มหรื อเวลาว่างหรื อวันหยุดหรื อมอบหมายงานให้ทาจนมีเวลาเรี ยนครบตามที่กาหนดไว้ ่ สาหรับรายวิชานั้น แล้วจึงสอบให้เป็ นกรณี พิเศษ ผลการแก้ “มส”ให้ได้รับผลการเรี ยนไม่เกิน “1” การแก้ “มส” กรณี น้ ีให้ทาให้เสร็ จภายในปี การศึกษานั้น ถ้าผูเ้ รี ยนไม่มาดาเนิ นการ ่ แก้ “มส” ให้เสร็ จตามระยะเวลาที่กาหนดไว้น้ ีให้เรี ยนซ้ า ยกเว้นมีเหตุสุดวิสยให้อยูในดุลยพินิจของ ั สถานศึกษาที่จะขยายเวลาการแก้ “มส” ออกไปอีกไม่เกิน 1 ภาคเรี ยนแต่เมื่อพ้นกาหนดนี้แล้วให้ปฏิบติดงนี้ ั ั 1.1 ถ้าเป็ นรายวิชาพื้นฐาน ให้เรี ยนซ้ ารายวิชานั้น 1.2 ถ้าเป็ นรายวิชาเพิมเติม ให้เรี ยนซ้ าหรื อเปลี่ยนรายวิชาใหม่ ่ 2. กรณี ผเู้ รี ยนได้ผลการเรี ยน “มส” และมีเวลาเรี ยนน้อยกว่าร้อยละ 60 ของเวลา ทั้งหมด สถานศึกษาจะดาเนิ นการดังนี้ 2.1 ถ้าเป็ นรายวิชาพื้นฐาน ให้เรี ยนซ้ ารายวิชานั้น ่ 1.2 ถ้าเป็ นรายวิชาเพิ่มเติม ให้อยูในดุลยพินิจของสถานศึกษาจะให้เรี ยนซ้ าหรื อ เปลี่ยนรายวิชาใหม่ การเรี ยนซ้ ารายวิชา หากผูเ้ รี ยนได้รับการสอนซ่อมเสริ มและสอบแก้ตว 2 ครั้งแล้วไม่ ั ่ ผ่านเกณฑ์การประเมินให้เรี ยนซ้ ารายวิชานั้น ทั้งนี้ให้อยูในดุลยพินิจของสถานศึกษาในการจัดการเรี ยนซ้ า ในช่วงใดช่วงหนึ่งที่สถานศึกษาเห็นว่าเหมาะสม เช่น พักกลางวัน วันหยุด หลังเลิกเรี ยน ภาคฤดูร้อน เป็ น ต้น (ในกรณี ภาคเรี ยนที่ 2 หากผูเ้ รี ยนยังมีผลการเรี ยน “0 ร มส” ให้ดาเนินการให้เสร็ จสิ้ นก่อนเปิ ดภาคเรี ยน ปี การศึกษาถัดไป) m 18.4 การเปลี่ยนผลการเรี ยน “มผ” ท ในกรณี ที่ผเู้ รี ยนผลการเรี ยน “มผ” สถานศึกษาจัดซ่อมเสริ มให้ผเู ้ รี ยนทากิจกรรมใน ส่ วนที่ผเู ้ รี ยนไม่ได้เข้าร่ วมหรื อไม่ได้ทาจนครบถ้วน แล้วจึงเปลี่ยนผลการเรี ยนจาก “มผ” เป็ น “ผ” ได้ ่ ทั้งนี้ดาเนิ นการให้เสร็ จสิ้ นภายในภาคเรี ยนนั้น ๆ ยกเว้นมีเหตุสุดวิสัยให้อยูในดุลพินิจของสถานศึกษาที่จะ พิจารณาขยายเวลาออกไปอีกไม่เกิน 1 ภาคเรี ยน แต่ตองดาเนินการให้เสร็ จสิ้ นภายในปี การศึกษานั้น ้
  • 13. 18.5 การเลื่อนชั้น การพิจารณาเลื่ อนชั้น ถ้าผูเ้ รี ยนมีขอบกพร่ องเพียงเล็กน้อยและสถานศึ กษาพิจารณา ้ ่ เห็นว่าสามารถพัฒนาและสอนซ่อมเสริ มได้ให้อยูในดุลยพินิจของสถานศึกษาที่จะผ่อนผันให้เลื่อนชั้นได้ เมื่อสิ้ นปี การศึกษา ผูเ้ รี ยนจะได้รับการเลื่อนชั้นเมื่อมีคุณสมบัติตามเกณฑ์ ดังนี้ 1) รายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติม ได้รับการตัดสิ นผลการเรี ยนในระดับผ่านตาม เกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด 2) ผูเ้ รี ยนต้องได้รับการประเมินและมีผลการประเมินในระดับผ่านตามเกณฑ์ที่ สถานศึกษากาหนด การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์และกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน 3) ระดับผลการเรี ยนเฉลี่ยในปี การศึกษานั้นควรได้ไม่ต่ากว่า 1.00 18.6 การสอนซ่ อมเสริ ม สถานศึกษาจาดาเนิ นการดังกรณี ต่อไปนี้ 1. ผูเ้ รี ยนมีความรู ้ ทักษะพื้นฐานไม่เพียงพอที่จะศึกษาในแต่ละรายวิชานั้น จะจัด สอนซ่อมเสริ มปรับความรู ้พ้ืนฐาน 2. ผูเ้ รี ยนไม่สามารถแสดงความรู ้ ทักษะกระบวนการหรื อเจตคติ คุณลักษณะที่ กาหนดไว้ตามมาตรฐานการเรี ยนรู ้ / ตัวชี้วด ในการประเมินผลระหว่างเรี ยน ั 3. ผูเ้ รี ยนที่ได้ระดับผลการเรี ยน “0” ให้จดสอนซ่ อมเสริ มก่อนสอบแก้ตว ั ั ่ 4. กรณี ท่ีผเู ้ รี ยนมีผลการเรี ยนไม่ผาน สามารถจัดสอนซ่อมเสริ มในภาคฤดูร้อน ่ เพื่อแก้ไขผลการเรี ยน ทั้งนี้ให้อยูในดุลยพินิจของหัวหน้าสถานศึกษา 18.7 การเรี ยนซ้ าชั้น ่ ่ ผูเ้ รี ยนที่มีผลการประเมินรายวิชาอยูในระดับไม่ผานจานวนมาก และมีแนวโน้มจะเป็ น ปั ญหาต่อการเรี ยนในระดับชั้นที่สูงขึ้น สถานศึกษาจะแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาให้เรี ยนซ้ าชั้น ทั้งนี้จะ คานึงถึงวุฒิภาวะและความรู้ของผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ การเรี ยนซ้ าชั้นมี 2 กรณี คือ 1. ผูเ้ รี ยนมีระดับผลการเรี ยนเฉลี่ยในปี การศึกษานั้นต่ากว่า 1.00 และมีแนวโน้มที่จะ เป็ นปั ญหาต่อการเรี ยนในระดับชั้นที่สูงขึ้น 2. ผูเ้ รี ยนมีผลการเรี ยน 0, ร , มส เกินครึ่ งหนึ่งของรายวิชาที่ลงทะเบียนเรี ยนใน การศึกษานั้น ทั้งนี้หากเกิดลักษณะใดลักษณะหนึ่งสถานศึกษาจะแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาหากเห็นว่า มีผลอันสมควรก็ให้ซ้ าโดยยกเลิกผลการเรี ยนเดิมและให้ใช้ผลการเรี ยนใหม่แทน หากพิจารณาแล้วไม่ตอง ้ ่ เรี ยนซ้ าชั้นให้อยูในดุลยพินิจของสถานศึกษาในการที่จะแก้ไขผลการเรี ยน
  • 14. 18.8 เกณฑ์การจบระดับการศึกษาตอนต้น 1. ผูเ้ รี ยนเรี ยนรายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติมไม่เกิน 81 หน่วยกิต โดยเป็ น รายวิชาพื้นฐาน 66 หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากาหนด 2. ผูเ้ รี ยนต้องได้หน่ วยกิ ต ตลอดหลักสู ตรไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกิต โดยเป็ นรายวิชา พื้นฐาน 66 หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมไม่นอยกว่า 11 หน่วยกิต ้ 3. ผูเ้ รี ยนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนในระดับผ่านเกณฑ์ การประเมินตามที่สถานศึกษากาหนด 4. ผูเ้ รี ย นมี ผ ลการประเมิ น คุ ณ ลัก ษณะอัน พึ ง ประสงค์ใ นระดับ ผ่า นเกณฑ์ การประเมินตามที่สถานศึกษากาหนด 5. ผู ้เ รี ย นเข้า ร่ ว มกิ จ กรรมพัฒ นาผู ้เ รี ยนและมี ผ ลการประเมิ น ผ่ า นเกณฑ์ การประเมินตามที่สถานศึกษากาหนด
  • 15. หมวด 4 การเทียบโอนผลการเรียน ข้อ 19 สถานศึกษาจะเทียบโอนผลการเรี ยนของผูเ้ รี ยนจากสถานศึกษาได้ในกรณี ต่างๆ ได้แก่ การย้ายสถานศึกษา การเปลี่ยนรู ปแบบการศึกษา การย้ายหลักสู ตร การละทิ้งการศึกษาและการขอกลับเข้ารับ การศึกษาต่อ การศึกษาจากต่างประเทศและขอเข้าศึกษาต่อในประเทศ และสามารถเทียบโอนความรู้ ทักษะ ประสบการณ์จากแหล่งการเรี ยนรู ้อื่น ๆ เช่น สถานประกอบการ สถาบันทางศาสนา สถาบันการฝึ กอบรม อาชีพ การศึกษาโดยครอบครัว เป็ นต้น การเทียบโอนผลการเรี ยนผูเ้ รี ยนควรดาเนินการอนุญาตให้ผเู ้ รี ยนเรี ยนรายวิชาต่าง ๆ และรับโอน ผลการเรี ยนจากสถานบันอื่นได้ในวิชาชีพจากแหล่งวิทยากร สถานประกอบการหรื อสถานประกอบอาชีพ อิสระ ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิ การว่าด้วยการให้นกเรี ยนศึกษาหาความรู ้จากแหล่งวิทยาการสถาน ั ประกอบการและสถานประกอบอาชีพอิสระในระดับมัธยมศึกษา ข้อ 20 ผูเ้ รี ยนคนใดย้ายสถานศึกษา ให้สถานศึกษาจัดทาเอกสารแสดงผลการเรี ยน ดังนี้ 20.1 ในกรณี ที่ผเู ้ รี ยนเรี ยนที่สถานศึกษาอย่างน้อย 1 ปี การศึกษาให้ทาระเบียนแสดงผลการ เรี ยน (ปพ. 1) 20.2 ในกรณี ที่ผเู ้ รี ยนย้ายสถานศึกษาในระหว่างปี การศึกษา ให้สถานศึกษาทารายงานเวลา เรี ยน ผลการเรี ยนตามสาระการเรี ยนรู ้ กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน การประเมินการอ่าน คิด วิเคราะห์และเขียนสื่ อ ความและแบบบันทึกการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษาเดิม ข้อ 21 สถานศึกษารับผูเ้ รี ยนเข้าเรี ยนระหว่างช่วงชั้น ให้ถือปฏิบติ ดังนี้ ั 21.1 ให้คณะกรรมการเทียบโอนของสถานศึกษา ปฏิบติ ดังนี้ ั 21.1.1 พิจารณาระเบียนแสดงผลการเรี ยน (ปพ.1) ของสถานศึกษา พิจารณารายงานเรื่ อง เวลาเรี ยน ผลการเรี ยนตามสาระการเรี ยนรู้ เอกสารบันทึกผลการพัฒนาคุณภาพของผูเ้ รี ยน แบบบันทึกผล การพัฒนาคุณภาพของผูเ้ รี ยน แบบบันทึกการอ่าน คิด วิเคราะห์และเขียนสื่ อความและแบบบันทึกการ พัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษาเดิม 21.1.2 ทาการเทียบโอนตามคาสังกระทรวงศึกษาธิ การและเสนอความเห็นในการจัด ่ ชั้นเรี ยน ให้ผเู ้ รี ยนต่อคณะกรรมการการบริ หารหลักสู ตรและวิชาการของสถานศึกษา จัดชั้นเรี ยนให้ผเู ้ รี ยน 21.2 คณะกรรมการบริ หารหลักสู ตรและวิชาการของสถานศึกษา จัดชั้นเรี ยนให้ผเู ้ รี ยน
  • 16. หมวด 5 หน้ าที่ของสถานศึกษา ข้อ 22 ให้สถานศึกษาจัดให้มีเอกสารการประเมินผลการเรี ยนต่าง ๆ ตามที่กระทรวงศึกษาธิ การ กาหนด ดังต่อไปนี้ 22.1 ระเบียบแสดงผลการเรี ยน (ปพ.1) ม 22.2 หลักฐานแสดงวุฒิการศึกษา หรื อประกาศนียบัตร) (ปพ.2) 22.3 แบบรายงานผูสาเร็ จการศึกษา (ปพ.3) ้ 22.4 แบบแสดงผลการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์(ปพ.4) 22.5 เอกสารแสดงบันทึกผลการพัฒนาคุณภาพของผูเ้ รี ยน (ปพ.5) 22.6 เอกสารรายงานผลการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รี ยนรายบุคคล (ปพ.6) 22.7 ใบรับรองผลการศึกษา (ปพ.7) 22.8 เอกสารระเบียนสะสม (ปพ.8) 22.9 สมุดบันทึกผลการเรี ยนรู้ (ปพ.9) ข้อ 23 การออกประกาศนียบัตร ให้เป็ นไปตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิ การว่าด้วยการออก ประกาศนียบัตร ข้อ 24 ในการประเมินผลการเรี ยน ให้เป็ นไปตามระเบียบว่าด้วยการวัดผลประเมินผล ตามหลักสู ตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ของโรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคม ให้ใช้ระเบียบนี้ควบคู่กบ ั หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคมและหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิ การ ประกาศ ณ วันที่ 16 เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2553 (นายทวี ผลจันทร์) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคม
  • 17. ระเบียบโรงเรียนดงมะไฟพิทยาคม ว่าด้ วยการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามหลักสู ตรสถานศึกษา พุทธศักราช 2553 ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืนฐาน พุทธศักราช 2551 ้ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
  • 18. ระเบียบโรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคม ว่าด้วยการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ตามหลักสู ตรสถานศึกษา พุทธศักราช 2553 ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4 – ม.6) .............................................. โดยที่กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ตาม คาสั่งกระทรวงศึกษาธิ การ ที่ สพฐ.293/2551 ลงวันที่ 11 กรกฎาคม 2551 เรื่ องให้ใช้หลักสู ตรแกนกลาง สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และกระจายอานาจให้สถานศึกษากาหนดหลักสู ตรสถานศึกษา ขึ้นใช้เอง จึงเป็ นการสมควรที่จะกาหนดระเบียบโรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคมว่าด้วยการวัดผลประเมินผลการ เรี ยนตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-ม.6) ให้สอดคล้องกับคาสั่งดังกล่าว โรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคม จึงวางระเบียบไว้ดงต่อไปนี้ ั ข้อ 1 ระเบี ยบนี้ เรี ยกว่า “ระเบียบโรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคม ว่าด้วยการวัดและประเมิ นผล การเรี ยนรู้หลักสู ตรสถานศึกษา พุทธศักราช 2553 ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4 – ม.6)” ในระเบียบนี้ คาว่า “สถานศึกษา” หมายถึง โรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคม คาว่า “ผูเ้ รี ยน” หมายถึง ผูที่ข้ ึนทะเบียนเป็ นนักเรี ยน โรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคม ้ คาว่า “ผูส อน” หมายถึ ง ครู โรงเรี ย นดงมะไฟพิ ทยาคม หรื อผูที่ ได้รับมอบหมายจากหัวหน้า ้ ้ สถานศึกษา ให้รับผิดชอบเกี่ยวกับการเรี ยนการสอน ข้อ 2 ให้ใช้ระเบียบนี้ในชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ปี การศึกษา 2553 เป็ นต้นไป ข้อ 3 ให้ยกเลิกบรรดาระเบียบ ข้อบังคับ หรื อคาสั่งใด ๆ ในส่ วนที่โรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคม กาหนดไว้ ซึ่ งขัดหรื อแย้งกับระเบียบนี้ ให้ใช้ระเบียบนี้ แทน ข้อ 4 ให้ใช้ระเบียบนี้ ควบคู่กบหลักสู ตรโรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคม พุทธศักราช 2553 อิง ั หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ข้อ 5 ให้หวหน้าสถานศึกษารักษาการให้เป็ นไปตามระเบียบนี้ ั
  • 19. หมวด 1 หลักการวัดและประเมินผลการเรียน ข้อ 6 การประเมินผลการเรี ยน ให้เป็ นไปตามหลักการต่อไปนี้ 6.1 สถานศึ ก ษามี ห น้า ที่ ป ระเมิ น ผลการเรี ย น โดยความเห็ น ชอบของคณะกรรมการ สถานศึ ก ษาขั้นพื้ นฐานโรงเรี ย นดงมะไฟพิ ท ยาคม ในเรื่ องของเกณฑ์และแนวด าเนิ นการเกี่ ย วกับ การ ประเมินผลการเรี ยน 6.2 ประเมิ นผลการเรี ย นเป็ นรายวิช า/รายภาค ให้ป ฏิ บ ัติต ามที่ ก าหนดไว้ใ นหลัก สู ต ร สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2553 ของโรงเรี ยนดงมะไฟพิทยาคม (ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551) 6.3 ประเมิ น ผลการเรี ย นให้ ส อดคล้อ งและครอบคลุ ม มาตรฐานการเรี ย นรู ้ / ตัว ชี้ ว ด ั สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รี ย น คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสาระการเรี ยนรู ้ รวมทั้งสอดคล้องกับสภาพ และความต้องการของท้องถิ่ นและชุ มชน 6.4 ประเมิ นทั้ง เพื่ อปรั บ ปรุ ง พัฒนาผูเ้ รี ย น การจัดการเรี ย นการสอนและเพื่ อตัดสิ นผล การเรี ยน 6.5 ประเมิ นความสามารถในการอ่าน คิ ดวิเคราะห์ และเขี ยนสื่ อความของนักเรี ยนเป็ น รายภาค 6.6 ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผูเ้ รี ยนเป็ นรายภาค 6.7 ประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนเป็ นรายกิจกรรมเป็ นรายภาค 6.8 สถานศึกษาต้องจัดให้ผเู ้ รี ยนทุกคนที่เรี ยนปี การศึกษาสุ ดท้ายของแต่ละระดับชั้นเข้ารับ การประเมินระดับชาติตามที่กระทรวงศึกษาธิ การกาหนด
  • 20. หมวด 2 วิธีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ข้อ 7 การประเมินผลเพื่อปรับปรุ งพัฒนาผูเ้ รี ยน การจัดการเรี ยนการสอนให้ถือปฏิบติ ดังนี้ ั 7.1 ผูส อนแจ้ง ให้ ผูเ้ รี ย นทราบมาตรฐานการเรี ย นรู้ /ตัว ชี้ วัด สาระการเรี ย นรู้ วิธี ก าร ้ ประเมินผลการเรี ยน เกณฑ์การผ่านและเกณฑ์ข้ นต่าของการผ่านรายวิชาก่อนการจัดกิ จกรรมการเรี ยนรู ้ ให้ ั ผูเ้ รี ยนในแต่ละกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ 7.2 ตัว ชี้ วด จะต้องครอบคลุ ม ทั้ง ด้า นความรู ้ ทัก ษะกระบวนการ คุ ณธรรม จริ ย ธรรม ั และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 7.3 ประเมินวิเคราะห์ผเู ้ รี ยน เพื่อศึกษาความรู ้พ้ืนฐานและความรอบรู ้ในเรื่ องที่จะศึกษา 7.4 วัดและประเมินผลระหว่างภาค เพื่อศึกษาผลการเรี ยน เพื่อจัดสอนซ่อมเสริ มและเพื่อนา คะแนนจากการวัดและประเมินผลไปรวมกับการวัดผลปลายภาค โดยให้วดและประเมินผลตามมาตรฐาน ั การเรี ยนรู้ / ตัวชี้วด ตามที่กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้กาหนด ั การวัดผลและประเมินผลระหว่างภาค 7.4.1 วัดผลและประเมินผลระหว่างเรี ยนเป็ นระยะ ๆ โดยใช้สถานศึกษาเป็ นผูกาหนด ้ มาตรฐานการเรี ยนรู้ / ตัวชี้วด ตามกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ั 7.4.2 วัดผลระหว่า งเรี ยน 2 ครั้ ง (วัดก่ อนวัดผลกลางภาค 1 ครั้ ง และวัดผลหลังวัดผล กลางภาค 1 ครั้ง ) วัดผลกลางภาค 1 ครั้ง โดยให้สถานศึกษาเป็ นผูกาหนดมาตรฐานการเรี ยนรู ้ / ตัวชี้ วด ตาม ้ ั กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ การประเมินตามข้อ 7.4.1 และ 7.4.2 ถ้าผูเ้ รี ยนมีความรู ้ความสามารถต่ ากว่าเกณฑ์ที่ กาหนดไว้ในมาตรฐานการเรี ยนรู ้ / ตัวชี้ วด ตามกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ให้ผสอนวินิจฉัยหาข้อบกพร่ องของ ั ู้ ่ ผูเ้ รี ยนและสอนซ่อมเสริ มแล้วประเมินเพื่อให้ผานเกณฑ์ตวชี้วด ั ั 7.4.3 ประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียนของผูเ้ รี ยน เป็ นรายภาค โดยสถานศึกษา เป็ นผูกาหนดมาตรฐานการเรี ยนรู ้ / ตัวชี้ วด แนวทาง วิธีการ เกณฑ์การประเมินและแนวทางปรับปรุ งแก้ไข ้ ั นักเรี ยน 7.4.4 ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผูเ้ รี ยน ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน และตามที่สถานศึกษากาหนด 7.4.5 ประเมิ นกิ จกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนเป็ นรายภาค สถานศึ กษาเป็ นผูกาหนดแนวทาง ้ การประเมิน และให้สอดคล้องกับหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผูรับผิดชอบกิจกรรม / ผูสอน ้ ้ ดาเนินการประเมินผลการปฏิบติกิจกรรมตามจุดประสงค์และเวลาในการเข้าร่ วมกิจกรรม ั
  • 21. 7.5 วัดผลปลายภาคเพื่อตัดสิ นผลการเรี ยนโดยวัดให้ครอบคลุมมาตรฐานการเรี ยนรู้ / ตัวชี้วด ตามกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ที่กาหนด ั ข้อ 8 การตัดสิ นผลการเรี ยนให้นาคะแนนระหว่างภาครวมกับคะแนนปลายภาค ตามอัตราส่ วนที่ สถานศึกษากาหนด แล้วนามาเปลี่ยนเป็ นระดับผลการเรี ยน ข้อ 9 ให้ใช้ตวเลขแสดงระดับผลการเรี ยนในแต่ละรายวิชา ดังต่อไปนี้ ั ระดับผลการเรียน ความหมาย ช่ วงคะแนนเป็ นร้ อยละ 4 ผลการเรี ยนดีเยียม ่ 80 - 100 3.5 ผลการเรี ยนดีมาก 75 - 79 3 ผลการเรี ยนดี 70 - 74 2.5 ผลการเรี ยนค่อนข้างดี 65 - 69 2 ผลการเรี ยนน่าพอใจ 60 - 64 1.5 ผลการเรี ยนน่าพอใช้ 55 - 59 1 ผลการเรี ยนผ่านเกณฑ์ข้ นต่า ั 50 - 54 0 ผลการเรี ยนต่ากว่าเกณฑ์ 0 - 49 ข้อ 10 ให้ใช้อกษรแสดงผลการเรี ยนที่มีเงื่อนไขในแต่ละรายวิชา ดังนี้ ั มส หมายถึง ผูเ้ รี ยนไม่มีสิทธิ์ เข้ารับการวัดผลปลายภาคเรี ยน เนื่ องจากผูเ้ รี ยนเวลาเรี ยน ไม่ถึงร้อยละ 80 ของเวลาเรี ยนในแต่ละรายวิชาและไม่ได้รับการผ่อนผันให้เข้ารับการวัดผลปลายภาคเรี ยน ร หมายถึง รอการตัดสิ นและยังตัดสิ นผลการเรี ยนไม่ได้ เนื่ องจากผูเ้ รี ยนไม่มีขอมูล ้ ผลการเรี ยนรายวิชานั้นครบถ้วน ได้แก่ ไม่ได้วดผลกลางภาค / ปลายภาค ๆไม่ได้ส่งงานที่มอบหมายให้ทา ั ซึ่ งงานนั้นเป็ นส่ วนหนึ่งของการตัดสิ นผลการเรี ยน หรื อมีเหตุสุดวิสัยที่ทาให้ประเมินผลการเรี ยนไม่ได้ ข้อ 11 ให้ใช้ตวอักษรแสดงผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน ดังนี้ ั (กิจกรรมแนะแนว / กิจกรรมนักเรี ยน) ผ หมายถึ ง ผ่าน ผูเ้ รี ยนเข้าร่ วมกิ จกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน ร้ อยละ 80 ขึ้นไปของเวลาเรี ยน ทั้งหมด ปฏิบติกิจกรรมและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์ข้ นต่าทุกข้อ คือไม่ต่ากว่าร้อยละ 60 ั ั ่ มผ หมายถึง ไม่ผาน ต้องปรับปรุ ง ผูเ้ รี ยนมีเวลาเข้าร่ วมกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนไม่ถึงร้อย ละ 80 ของเวลาเรี ยนทั้งหมด ปฏิบติกิจกรรมและมีผลการประเมินทุกข้อต่ากว่าร้อยละ 80 ั
  • 22. (กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ) ผ หมายถึง ผ่าน ผูเ้ รี ยนมีเวลาเข้าร่ วมกิจกรรมไม่นอยกว่า 15 ชัวโมง ใน 1 ชั้นปี ้ ่ ่ มผ หมายถึง ไม่ผาน ผูเ้ รี ยนมีเวลาเข้าร่ วมกิจกรรมต่ากว่า 15 ชัวโมง ใน 1 ชั้นปี ่ ข้อ 12 ให้ใช้คาแสดงผลการเรี ยนประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษา ดังนี้ ดี เ ยี่ ย ม หมายถึ ง ผู้เ รี ยนปฏิ บ ัติ ต นตามคุ ณ ลั ก ษณะจนเป็ นนิ สั ย และน าไปใช้ ใ น ชีวตประจาวันเพื่อประโยชน์สุขของตนเองและสังคม โดยพิจารณาจากผลการประเมินระดับดีเยี่ยม จานวน ิ 5 - 8 คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใดได้ผลการประเมินต่ากว่าระดับดี ดี หมายถึ ง ผูเ้ รี ย นมี คุณลัก ษณะในการปฏิ บติตามกฎเกณฑ์เพื่อให้เป็ นการยอมรั บของ ั สังคมโดยพิจารณาจาก 1. ได้ผลการประเมินระดับดีเยียม จานวน 1 - 4 คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใดได้ผล ่ การประเมินต่ากว่าระดับดี หรื อ 2. ได้ผลการประเมินระดับดีเยี่ยม จานวน 4 คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใดได้ผล การประเมินต่ากว่าระดับผ่าน หรื อ 3. ได้ผลการประเมิ นระดับดี จานวน 5 - 8 คุ ณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใดได้ผ ล การประเมินต่ากว่าระดับผ่าน ผ่ าน หมายถึ ง ผูเ้ รี ยนรับรู ้ และปฏิ บติตามกฎเกณฑ์และเงื่ อนไขที่สถานศึ กษากาหนดโดย ั พิจารณาจาก 1. ได้ผลการประเมินระดับผ่าน จานวน 5 - 8 คุ ณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใดได้ผล การประเมินต่ากว่าระดับผ่าน หรื อ 2. ได้ผ ลการประเมิ น ระดับ ดี จ านวน 4 คุ ณ ลัก ษณะ และไม่ มี คุ ณ ลัก ษณะใดได้ผ ล การประเมินต่ากว่าระดับผ่าน ไม่ ผ่าน หมายถึง ผูเ้ รี ยนรับรู้และปฏิบติได้ไ ม่ครบตามกฎเกณฑ์และเงื่อนไขที่สถานศึกษา ั ่ กาหนด โดยพิจารณาจากผลการประเมินระดับไม่ผาน ตั้งแต่ 1 คุณลักษณะ