SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
บทที่ 5
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
สถานการณ์ปัญหา
โรงเรียนบ้านหนองใหญ่ได้รับการบริจาคห้องคอมพิวเตอร์ใหม่ หลังจากที่
ได้มีโครงการผ้าป่ าซื้อคอมพิวเตอร์ให้กับโรงเรียน ซึ่ง ผอ.โรงเรียนจึงได้มี
นโยบายให้ครูทุกระดับชั้นพัฒนาสื่อการสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ หรือหากใครที่
ยังไม่สามารถสร้างเองได้ก็ให้บูรณาการคอมพิวเตอร์ในการเรียนการสอน และเปิด
ช่วงเวลาให้นักเรียนเข้ามาใช้คอมพิวเตอร์ได้ ผลจากการประเมินการใช้
คอมพิวเตอร์ของโรงเรียนในปีที่ผ่านมาพบว่า ครูพัฒนาสื่อคอมพิวเตอร์ใน
ลักษณะที่เป็นเครื่องมือในการถ่ายทอดและนาเสนอเนื้อหาการเรียนการสอน
โดยตรงไปยังผู้เรียน โดยในบทเรียนคอมพิวเตอร์มีการทดสอบ การนาเสนอ
เนื้อหา การทดสอบหลังเรียน บทบาทผู้เรียนก็ยังเป็นเพียงแค่การท่องจาเนื้อหา
ซึ่งไม่ส่งเสริมกระบวนการคิด
ปัญหาอีกประการที่พบคือ เมื่อครูจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนเข้าไปใช้
คอมพิวเตอร์ก็มักจะใช้เพื่อเล่นเกม ดูหนัง สนทนาออนไลน์ และ Social
media โดยเฉพาะ face book ซึ่งไม่ได้ใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ
ในการแสวงหาและสร้างการเรียนรู้ของตนเอง
ภารกิจจากสถานการณ์ปัญหา
1. นักศึกษาจะมีแนวทางในการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อ
แก้ปัญหาของโรงเรียนบ้านหนองใหญ่อย่างไร
2. บทบาทของการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการ
เรียนรู้เป็นอย่างไร
3. ให้เสนอรูปแบบการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือใน
การจัดการเรียนรู้ตามสาระการเรียนรู้ที่นักศึกษา
รับผิดชอบ
ภารกิจที่ 1
• โรงเรียนบ้านหนองใหญ่ยังมีการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อ
การศึกษายังไม่ค่อยเหมาะสมเท่าไหร่นักทั้งตัวครูเองที่ใช้
เครื่องคอมพิวเตอร์เป็นเพียงตัวถ่ายทอดความรู้เท่านั้น แต่
นักเรียนเองยังคงเรียนรู้แบบท่องจาอยู่เช่น และตัวนักเรียน
เองก็ยังคงใช้คอมพิวเตอร์ไม่ได้ประโยชน์เท่าที่ควรดังนั้นจึง
ควรมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ใหม่
ทั้งตัวคุณครูและตัวนักเรียนเองซึ่งการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อ
การเรียนรู้สามารถทาได้ดังนี้
1.การใช้คอมพิวเตอร์เป็นครูการใช้คอมพิวเตอร์ตามรูปแบบนี้
เป็นการนาเสนอการเรียนการสอนโดยการให้ผู้เรียนได้รับ
กิจกรรมการทดสอบผู้เรียนผลการประเมินการตอบสนอง
จากผู้เรียนด้วยการให้ผลป้ อนกลับและกาหนดกิจกรรมที่
เหมาะสมต่อไปเพื่อให้ผู้เรียนกระทาตามบทเรียนเป็นลาดับ
ขั้นของกิจกรรมการเรียนการสอนประโยชน์ที่สาคัญของ
คอมพิวเตอร์ที่นามาใช้ตามแนวทางนี้คือการที่ผู้รียนสามารถ
มีปฏิสัมพันธ์กับบทเรียนได้ในขณะที่สื่อชนิดอื่นดังเช่น
สิ่งพิมพ์ใบงานผู้เรียนเพียงแค่สามารถโพสต์(Pose)
คาตอบลงในแผ่นงานได้เท่านั้นโดยที่สื่อเหล่านั้นไม่สามารถ
ให้ผลป้ อนกลับกับผู้เรียนได้เหมือนกับคอมพิวเตอร์ที่
สามารถแสดงผลคาตอบการเสริมแรงเฉลยแบบทันทีทันใด
2.การใช้คอมพิวเตอร์เป็นผู้เรียนคือวิธีการแบบเปิด
(Open-ended approach) ที่อาศัย
ความสามารถของผู้เรียนในการสร้างความเข้าใจของตนเอง
เกี่ยวกับเนื้อหาและวิธีการใช้คอมพิวเตอร์วิธีการนี้ผู้สอน
สามารถนาไปใช้ในชั้นเรียนของตนเองได้โดยให้ผู้เรียนได้
เรียนรู้และสั่งการคอมพิวเตอร์ด้วยโปรแกรม
ภาษาคอมพิวเตอร์อย่างง่ายเช่น LOGO, BASIC,
C เป็นต้น
ภารกิจที่ 2
• เนื่องจากสังคมปัจจุบันเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจาวัน
ของคนเรามากขึ้น ดังนั้นการเรียนการการสอนจึงต้องปรับเปลี่ยนไป
เช่นกัน ซึ่งตัวคอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทอย่างมากในการเรียนรู้ของ
ยุคสังคมปัจจุบัน และทาหน้าที่หลายๆอย่าง คือ เป็นทั้งตัวครูผู้สอน
เพราะทาหน้าที่เป็นสื่อการเรียนรู้ เป็นเครื่องมือในการสืบค้นข้อมูล
ความรู้ของตัวผู้เรียน ทาหน้าที่เป็นตัวช่วยสอนสาครูผู้สอนเอง เพราะ
บางครั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ก็สามารถถ่ายทอดความรู้ได้ดีกว่าการ
อธิบายจากครู ดังนั้นคอมพิวเตอร์จึงเปรียบเสมือนผู้ช่วยสอนสาหรับ
ครู และอีกบทบาทที่สาคัญของคอมพิวเตอร์คือ บางครั้งคอมพิวเตอร์
ก็ทาหน้าที่เป็นตัวนักเรียนเอง เพราะบางครั้ง ในบางกิจกรรมตัว
นักเรียนก็ทาหน้าที่เป็นคนกาหนดกิจกรรมของเครื่องคอมพิวเตอร์
ซึ่งอาจต้องอาศัยทักษะกระบวนการเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ภารกิจที่ 3
• เนื่องจากกลุ่มของข้าพเจ้ากาลังศึกษาอยู่ในสาขาคณิตศาสตรศึกษา
เพราะฉะนั้นการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้จึงต้องเป็น
เนื้อหาที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ ซึ่งก็มีอยู่ด้วยกันหลากหลายเนื้อหา
สาระ ซึ่งกลุ่มของข้าพเจ้าขอหยิบยกเอาตัวอย่างการใช้คอมพิวเตอร์
เพื่อเป็นสื่อในการเรียนรู้ทางคณิตศาสตร์เช่น โปรแกรม GSP ก็
คือ ทาให้นักเรียนสนุกสนาน ตื่นเต้น และเข้าใจได้เร็ว เพราะสามารถ
นาเสนอภาพเคลื่อนไหว (animation) มาใช้อธิบายเนื้อหา
ยากๆ เช่น ทฤษฎีทางคณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ ให้นักเรียนเรียนรู้และเข้าใจ
ง่าย อีกทั้งยังสามารถพัฒนาความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ของผู้เรียน
สร้างทักษะด้านจินตนาการ ช่วยเสริมสร้างกระบวนการแก้ปัญหา
เน้นการเรียนรู้ด้วยตนเองเป็นการเรียนรู้อย่างมีความหมาย จึงทาให้
ผู้เรียนมีความสนุกสนาน ก่อให้เกิดเจตคติที่ดีต่อครูและวิชา
คณิตศาสตร์ ซึ่งจะช่วยให้สัมฤทธิ์ผลทางการเรียนสูงขึ้น เป็นต้น
สมาชิกในกลุ่ม
1.นางสาวสุดารัตน์ แฝงสีคา 553050108-1
2.นางสาวอรยา สุคันธรัต 553050112-0
3.นางสาววราภรณ์ ศิลาลัย 553050316-4
Sec.1 สาขาวิชาคณิตศาสตรศึกษา

More Related Content

What's hot

นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้Amu P Thaiying
 
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Nidnoy Thanyarat
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Kanatip Sriwarom
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Aa-bb Sangwut
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Wuth Chokcharoen
 
งานนวัตกรรม Chapter 5
งานนวัตกรรม Chapter 5งานนวัตกรรม Chapter 5
งานนวัตกรรม Chapter 5micnattawat
 
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษาPrakaidao Suebwong
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาsinarack
 
Chater 5 Computer for Learning
Chater 5 Computer for LearningChater 5 Computer for Learning
Chater 5 Computer for LearningMod DW
 

What's hot (17)

Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมบทที่5คอมพิวเตอ์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
นวัต5
นวัต5นวัต5
นวัต5
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Powerpoint5
Powerpoint5Powerpoint5
Powerpoint5
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
งานนวัตกรรม Chapter 5
งานนวัตกรรม Chapter 5งานนวัตกรรม Chapter 5
งานนวัตกรรม Chapter 5
 
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
 
Chater 5 Computer for Learning
Chater 5 Computer for LearningChater 5 Computer for Learning
Chater 5 Computer for Learning
 

Viewers also liked

สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)Uraiwan Chankan
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 4
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 4สถานการณ์ปัญหาบทที่ 4
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 4oraya-s
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 8
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 8สถานการณ์ปัญหาบทที่ 8
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 8oraya-s
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 2
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 2สถานการณ์ปัญหาบทที่ 2
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 2oraya-s
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนTupPee Zhouyongfang
 
We Can't Delay!
We Can't Delay!We Can't Delay!
We Can't Delay!boisejim
 
บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3oraya-s
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 7
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 7สถานการณ์ปัญหาบทที่ 7
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 7oraya-s
 
PENGERTIAN EKONOMI
PENGERTIAN EKONOMIPENGERTIAN EKONOMI
PENGERTIAN EKONOMIKka ELF
 
We Can't Delay!
We Can't Delay!We Can't Delay!
We Can't Delay!boisejim
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 3
สถานการณ์ปัญหาบทที่  3สถานการณ์ปัญหาบทที่  3
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 3oraya-s
 

Viewers also liked (19)

สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
สถานการณ์ปัญหา (พฤติกรรมนิยม)
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 4
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 4สถานการณ์ปัญหาบทที่ 4
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 4
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 8
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 8สถานการณ์ปัญหาบทที่ 8
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 8
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 2
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 2สถานการณ์ปัญหาบทที่ 2
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 2
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
 
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอน
 
We Can't Delay!
We Can't Delay!We Can't Delay!
We Can't Delay!
 
บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3
 
Your online job
Your online jobYour online job
Your online job
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 7
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 7สถานการณ์ปัญหาบทที่ 7
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 7
 
PENGERTIAN EKONOMI
PENGERTIAN EKONOMIPENGERTIAN EKONOMI
PENGERTIAN EKONOMI
 
Energy efficiency
Energy efficiencyEnergy efficiency
Energy efficiency
 
Hiv mapo
Hiv mapoHiv mapo
Hiv mapo
 
We Can't Delay!
We Can't Delay!We Can't Delay!
We Can't Delay!
 
World war I
World war IWorld war I
World war I
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 3
สถานการณ์ปัญหาบทที่  3สถานการณ์ปัญหาบทที่  3
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 3
 
Ill effects of alcohol
Ill effects of alcoholIll effects of alcohol
Ill effects of alcohol
 
Natural disaster
Natural disasterNatural disaster
Natural disaster
 
Holy river ganga
Holy river gangaHoly river ganga
Holy river ganga
 

Similar to สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5

Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Nidnoy Thanyarat
 
Presentation5 2557
Presentation5 2557Presentation5 2557
Presentation5 2557pohn
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้sinarack
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้N'Fern White-Choc
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้AomJi Math-ed
 
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้Pan Kannapat Hengsawat
 
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้Pan Kannapat Hengsawat
 
Unit5sattakamon
Unit5sattakamonUnit5sattakamon
Unit5sattakamonSattakamon
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้JaengJy Doublej
 
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้TupPee Zhouyongfang
 
Chapter 5 (computer for learning)
Chapter 5 (computer for learning)Chapter 5 (computer for learning)
Chapter 5 (computer for learning)Teerasak Nantasan
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Fern's Supakyada
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Noom Theerayut
 

Similar to สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5 (20)

Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter5้้
Chapter5้้Chapter5้้
Chapter5้้
 
Presentation5 2557
Presentation5 2557Presentation5 2557
Presentation5 2557
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Chap 5
Chap 5Chap 5
Chap 5
 
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
 
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
Chapter5 คอมพิวเตอเพื่อการเรียนรู้
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
Unit5sattakamon
Unit5sattakamonUnit5sattakamon
Unit5sattakamon
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
 
Chapter 5 (computer for learning)
Chapter 5 (computer for learning)Chapter 5 (computer for learning)
Chapter 5 (computer for learning)
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 

สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5