SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
Download to read offline
การบริหารความเสี่ยง
นพ.นวนรรน ธีระอัมพรพันธุ์
รองคณบดีฝ่ายปฏิบัติการ
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
9 กุมภาพันธ์ 2565
1. เพื่อให้ผู้ประสานงานด้านความเสี่ยงทราบนโยบาย ทิศทาง และ
แนวทางการบริหารความเสี่ยงของคณะฯ
2. เพื่อให้ผู้ประสานงานด้านความเสี่ยงเข้าใจและสามารถบริหาร
จัดการความเสี่ยงในบริบทของตนเองได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
3. เพื่อให้การบริหารความเสี่ยงด้านต่าง ๆ ของคณะฯ เป็นไปอย่างมี
ประสิทธิผลและประสิทธิภาพ ทาให้คณะฯ ประสบความสาเร็จใน
การบริหารและดาเนินงานด้านต่าง ๆ อย่างยั่งยืน
งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 2
วัตถุประสงค์
• ความเป็นไปได้ที่จะเกิดเหตุการณ์บางอย่างขึ้น
• “Risk is the possibility of something bad
happening.” (Wikipedia)
งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 3
ความเสี่ยง (Risk) คืออะไร
ความเสี่ยง
(Risk)
สาเหตุ
(Cause)
ผลกระทบ
(Consequence)
• ความเสี่ยง คือสิ่งที่ยังไม่เกิด แต่ถ้าเกิดอาจส่งผลกระทบ
บางอย่างกับองค์กร จึงต้อง “บริหารจัดการ”
• ปัญหา คือสิ่งที่เกิดขึ้นแล้ว และจะส่งผลกระทบต่อองค์กร
จึงต้อง “แก้ไข”
• ความเสี่ยง (Risk) ≠ ปัญหา (Problem)
• การบริหารความเสี่ยง (Risk Management) ≠ การจัดการ
แก้ไขปัญหา (Problem Solving)
งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 4
ความเสี่ยง (Risk) vs. ปัญหา (Problem)
• ความเสี่ยง (ที่อาจเกิดขึ้น) อาจมาพร้อมโอกาสที่จะได้
ผลตอบแทนที่ดี (positive benefits/returns) (ที่อาจมา
ควบคู่กัน)
• “การลงทุนมีความเสี่ยง”
• ถ้าไม่อยากเสี่ยง ก็ไม่ต้องลงทุน
• แต่ถ้าไม่ลงทุน ก็จะไม่มีโอกาสได้กาไรเป็นกอบเป็นกา
งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 5
มอง “ความเสี่ยง” อย่างเข้าใจ
• ความเสี่ยง จึงไม่ใช่สิ่งที่แย่เสมอไป
• การ “กาจัดความเสี่ยง” ให้หมดไป ไม่ใช่สิ่งที่ดีเสมอไป
• การกาจัดความเสี่ยงให้หมดไป อาจต้องใช้ทรัพยากรและ
พลังงานมหาศาล
• การกาจัดความเสี่ยงให้หมดไป อาจนาไปสู่การเสียโอกาส
บางอย่าง
• เราอาจไม่สามารถกาจัดความเสี่ยงบางอย่างให้หมดไปได้
หากเรายังคงดาเนินงานในพันธกิจต่างๆ ขององค์กรอยู่
งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 6
มอง “ความเสี่ยง” อย่างเข้าใจ
• ระดับความเสี่ยงที่องค์กรยอมรับได้ ในการดาเนินงานหนึ่ง ๆ
ก่อนที่องค์กรจะเห็นว่าจาเป็นต้องลดความเสี่ยง
• Risk Appetite ขององค์กร จะเป็นตัวกาหนดว่าองค์กรจะ
สามารถแสวงหาโอกาสได้รับผลตอบแทน (ที่มาพร้อมกับ
ความเสี่ยง) โดยยอมรับผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากความ
เสี่ยงนั้น ๆ ได้มากน้อยเพียงใด
งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 7
รู้จัก “Risk Appetite”
• Strategic Risk (ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์)
• ความเสี่ยงจากการกาหนดแผนกลยุทธ์และแผนการดาเนินงานไม่
เหมาะสม หรือการนาแผนไปปฏิบัติไม่เหมาะสมหรือไม่มีประสิทธิภาพ
• Operational Risk (ความเสี่ยงด้านการดาเนินงาน)
• ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากกระบวนการทางานปกติ (operations)
ขององค์กร
• Financial Risk (ความเสี่ยงด้านการเงิน)
• Compliance Risk (ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติตาม
กฎระเบียบ)
งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 8
ประเภทของความเสี่ยง (Types of Risk)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ
งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 9
COSO ERM 2004
COSO ERM 2017
กระบวนการบริหารความเสี่ยง
Risk
Identification Risk
Assessment
Risk
Management
Risk
Monitoring &
Evaluation
งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 10
ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ 20 หลักการ
มาตรฐานสากล
COSO - Enterprise Risk Management Integrating
with Strategy and Performance (2017)
ภาพ/เนื้อหาจากศูนย์บริหารจัดการความเสี่ยง มหาวิทยาลัยมหิดล
ขั้นตอนการบริหารความเสี่ยง
งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 11
ภาพ/เนื้อหาจากศูนย์บริหารจัดการความเสี่ยง มหาวิทยาลัยมหิดล
งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 12
การระบุความเสี่ยง
(Identification Risk)
Who is involved ?
ผู้ปฏิบัติงาน หัวหน้างาน ผู้บริหารส่วนงาน
ประชุมร่วมทุกกลุ่มงาน/คณะทางาน
ระบุความเสี่ยง (O,F,C)
ระบุความเสี่ยง (S)
และพิจารณา O,F,C
ในงานที่รับผิดชอบ
พิจารณา (S,O,F,C)
ทุกพันธกิจ/งาน
พิจารณา S,O,F,C
และระบุความเสี่ยง (S)
ในภาพของส่วนงาน
เครือข่ายการบริหารความเสี่ยง
ภาพ/เนื้อหาจากศูนย์บริหารจัดการความเสี่ยง มหาวิทยาลัยมหิดล
งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 13
 พิจารณาวิเคราะห์ความเสี่ยงจากพันธกิจหลัก และพันธกิจสนับสนุนของส่วนงาน /หน่วยงาน ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์
ของมหาวิทยาลัย ยุทธศาสตร์ของคณะฯ โดยคานึงถึงการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมภายนอก และภายในร่วมด้วย
พ.ร.บ.การอุดมศึกษา
พ.ศ. 2562
พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูล
ส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
นโยบายและยุทธศาสตร์
การวิจัยของชาติ
กลุ่มประชากร
Changes in consumer
ทักษะแรงงาน
Post COVID-19
New Normal
ตัวอย่าง External Factors ที่เกี่ยวข้อง
การระบุความเสี่ยง
(Identification Risk)
ภาพ/เนื้อหาจากศูนย์บริหารจัดการความเสี่ยง มหาวิทยาลัยมหิดล
งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 14
 วิเคราะห์ความเสี่ยงให้ครอบคลุมทั้ง 4 ประเภทความเสี่ยง ประกอบด้วย ด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk) ด้านการดาเนินงาน
(Operational Risk) ด้านการเงิน (Financial Risk) และด้านการปฏิบัติตามกฎระเบียบ (Compliance Risk)
ประเภทของความเสี่ยง
ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์
(Strategic Risk)
ยุทธศาสตร์/พันธกิจหลักขององค์กร (Core Activity) ได้แก่
การศึกษา
การวิจัย (Research Projects)
การบริการวิชาการ
การบริการสุขภาพ
ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติตามกฎระเบียบ
(Compliance Risk)
กฎหมาย/กฎระเบียบ/ข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับ
การดาเนินงานในพันธกิจต่างๆ ของส่วนงาน
หากไม่ปฏิบัติตามอาจส่งผลกระทบในระดับรุนแรง และกระทบต่อ
ชื่อเสียงภาพลักษณ์ของส่วนงานและมหาวิทยาลัย
ความเสี่ยงด้านการดาเนินงาน
(Operational Risk)
Work Flow/Process
ระบบปฏิบัติการหลักขององค์กร
ระบบงานสนับสนุน เช่น งานทรัพยากรบุคคล
งานการเงิน/บัญชี/พัสดุ เป็นต้น
ความเสี่ยงด้านการเงิน
(Financial Risk)
ให้มองในมิติที่เป็น Strategic โดยพิจารณาจากยุทธศาสตร์ของ
องค์กรที่เกี่ยวข้องกับ
สภาพคล่องทางการเงิน
ความมั่นคงทางการเงิน
ความอยู่รอดขององค์กร
ภาพ/เนื้อหาจากศูนย์บริหารจัดการความเสี่ยง มหาวิทยาลัยมหิดล
งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 15
 การวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยงของการดาเนินงานที่อาจก่อให้เกิดการทุจริต (Fraud) หรือก่อให้เกิดการขัดกันระหว่าง
ผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม (Conflict of Interest) ตามแนวทางการประเมินคุณธรรม
และความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (ITA)
ระเบียบหรือแนวปฏิบัติเรื่อง “ธรรมาภิบาล”ของมหาวิทยาลัยมหิดล
 ประกาศมหาวิทยาลัยมหิดล เรื่อง นโยบายต่อต้านคอร์รัปัั่น (Anti - corruption Policy)
พ.ศ. 2559
 ประกาศมหาวิทยาลัยมหิดล เรื่อง นโยบายคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของ
มหาวิทยาลัยมหิดล
 นโยบายความขัดแย้งทางผลประโยัน์ของมหาวิทยาลัยมหิดล
 มาตรการป้องกันการรับสินบน และการขัดกันระหว่างผลประโยัน์ส่วนตนกับผลประโยัน์
ส่วนรวม พ.ศ. 2562
 มาตรการลดการใั้ดุลยพินิจในการปฏิบัติหน้าที่ พ.ศ. 2562
 มาตรการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย พ.ศ. 2562
 มาตรการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะเพื่อส่งเสริมความโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2562
คู่มือธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัยมหิดล
การเปิดเผยข้อมูลตามแนวทางการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (ITA)
https://op.mahidol.ac.th/rm/risk_management/fraud_risk
ภาพ/เนื้อหาจากศูนย์บริหารจัดการความเสี่ยง มหาวิทยาลัยมหิดล
งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 16
 กาหนดให้หน่วยงานนาเหตุการณ์ความเสี่ยงที่อยู่ในระดับความเสี่ยงสูง (โซนสีส้ม) และระดับความเสี่ยงสูงมาก (โซนสีแดง)
มาจัดทาแผนบริหารจัดการความเสี่ยงเพื่อกาหนดแนวทางการจัดการความเสี่ยงที่เหมาะสม และรายงานผล
การบริหารจัดการความเสี่ยงตามแผนฯ ต่อคณะฯ ทุก 6 เดือน
ความถี่ของการเกิดเหตุการณ์ความเสี่ยง
ในอดีต และโอกาสที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
ความรุนแรงของเหตุการณ์ความเสี่ยง
ที่หากเกิดขึ้นแล้วจะส่งผลกระทบในด้านต่างๆ
โอกาสเกิด (Likelihood)
ผลกระทบ (Impact)
การประเมิน...ระดับความเสี่ยง
ให้พิจารณาใน 2 มิติ
การวิเคราะห์และการประเมินความเสี่ยง
ภาพ/เนื้อหาจากศูนย์บริหารจัดการความเสี่ยง มหาวิทยาลัยมหิดล
งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 17
เกณฑ์การประเมินโอกาสเกิด (Likelihood)
ภาพ/เนื้อหาจากศูนย์บริหารจัดการความเสี่ยง มหาวิทยาลัยมหิดล
งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 18
เกณฑ์การวัดผลกระทบ (Impact) 4 ด้าน
ภาพ/เนื้อหาจากศูนย์บริหารจัดการความเสี่ยง มหาวิทยาลัยมหิดล
งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 19
ตารางแสดงระดับความเสี่ยง
ตารางแนวทาง
การบริหารจัดการความเสี่ยง
ภาพ/เนื้อหาจากศูนย์บริหารจัดการความเสี่ยง มหาวิทยาลัยมหิดล
• เลือกกลยุทธ์ในการจัดการความเสี่ยง (risk management
strategy) ที่เหมาะสมกับ risk appetite ขององค์กร
• ระบุ Existing Controls ที่มีอยู่ ที่ใั้จัดการความเสี่ยงนั้น
• ประเมินระดับความเสี่ยงที่เหลืออยู่ (Residual Risk)
• หากระดับความเสี่ยงสูงเกินระดับที่ยอมรับได้ หรือสูงกว่า
risk appetite ให้ระบุ Control Activities ที่จะทาเพิ่มใน
แผนการจัดการความเสี่ยง
งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 20
แผนการจัดการความเสี่ยง (Risk Management Plan)
งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 21
Inherent Risk vs. Residual Risk
Residual Risk = (Inherent Risk) – (Risk Reduction due to Existing Controls)
Background vector created by upklyak - www.freepik.com
Risk of Fall = Likelihood x Impact
Inherent Risk of Fall = Likelihood x Impact without any existing controls
Residual Risk of Fall = Likelihood x Impact with existing controls
งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 22
Inherent Risk vs. Residual Risk
Residual Risk = (Inherent Risk) – (Risk Reduction due to Existing Controls)
Inherent Risk
Residual Risk
Control Activities
Risk Appetite
Expected Residual
Risk after Control
Activities
Existing Controls
• เราใั้ KRIs ในการติดตาม (monitor) และประเมินผล
(evaluate) ประสิทธิผลของการจัดการความเสี่ยง
• ควรมี leading indicator ที่ส่งสัญญาณให้เห็นแนวโน้มของ
ประสิทธิผลของการจัดการความเสี่ยงล่วงหน้าได้ทันการ
• ไม่ควรมีแต่ lagging indicator ที่แสดงถึง “ผล” ที่เกิดขึ้น
หลังจากเวลาผ่านไปนานพอสมควร
• KRI ที่ดี จะส่งสัญญาณล่วงหน้าว่าการจัดการความเสี่ยงทาได้ดี
หรือไม่ดี และั่วยให้เราปรับแผนการจัดการความเสี่ยงได้ทันการ
• มี burden ในการเก็บข้อมูลไม่มากนัก
งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 23
Key Risk Indicator (KRI) ที่ดี
Risk Monitoring Process
งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 24
Process Output
Input
ความเสี่ยง
และแผนการจัดการความเสี่ยงคณะฯ
ผลการจัดการความเสี่ยง
ครั้งที่ 1 ต.ค.-มี.ค.
ครั้งที่ 2 เม.ย.-ก.ย.
Risk Management
Report
RM ติดตาม
ผลการ
จัดการฯ
RC จัดทาตาม
แผนฯ
ความเสี่ยง
รองคณบดีที่
รับผิดชอบ
พิจารณา/
อนุมัติ
นาเสนอ
RMC + คกก.
ประจาคณะฯ
① ② ③ ④
การติดตามผลการจัดการการความเสี่ยง
งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 25
ประโยชน์จากการบริหารความเสี่ยง
การบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กรตามกรอบ COSO - ERM version 2017 ไม่ใช่เป็นเครื่องมือการจัดการเพื่อสนับสนุน
ให้การดาเนินงานบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายเท่านั้น แต่ยังช่วยให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กร....ดังนี้
ที่มา: Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission(COSO).2017. Enterprise Risk Management Integrating with Strategy and Performance Executive Summary.
retrieve from https://www.coso.org/Pages/default.aspx. 10/5/2017 (คัดลอกและตัดบางส่วน
เพิ่มการไขว่คว้าโอกาส เพื่อสร้างคุณค่าให้เพิ่มขึ้นในองค์กร
โดยจะพิจารณามุมมองเชิงบวกและลบอย่างสมเหตุสมผล
ทาให้เกิดความมั่นใจเพื่อตัดสินใจเชิงรุกเพื่อออกผลิตภัณฑ์
บริการแก่ลูกค้าได้ก่อนคู่แข่ง
ช่วยลดผลกระทบเชิงลบจากเหตุการณ์ไม่คาดหวัง ลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จาเป็น
ในการควบคุมกิจกรรมที่ไม่ควรจะควบคุม และเพิ่มกาไรจากการมีมาตรการ
เชิงรุกหรือออกผลิตภัณฑ์ใหม่เสนอลูกค้าจากการไขว่คว้าโอกาสต่าง ๆ
ช่วยลดการดาเนินงานที่จะเบี่ยงเบนจากเป้าหมาย โดยไม่จาเป็น
ต้องขจัดปัจจัยเสี่ยงให้หมดไป แต่จะควบคุมความเสี่ยงให้อยู่ในระดับ
ที่ยอมรับได้ ขณะเดียวกันจะแสวงหาโอกาสทางธุรกิจให้มากที่สุด
ทาให้องค์กรมีความยืดหยุ่นในการปรับตัว โดยเฉพาะการปรับตัว
ในระยะยาว และไม่เพียงแต่เพื่อให้องค์กรอยู่รอดเท่านั้น ยังช่วยให้
รอดพ้นจากวิกฤติที่ภัยคุกคามสาคัญ (crisis) ด้วย
ภาพ/เนื้อหาจากศูนย์บริหารจัดการความเสี่ยง มหาวิทยาลัยมหิดล
Workshop
งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 26
(สาหรับ Online) จัดกลุ่ม Breakout Room จานวน 7 กลุ่ม
ผู้เข้าร่วมอบรมจะถูกเชิญเข้ากลุ่มโดยการตั้งกลุ่มไว้ล่วงหน้าแล้ว
เมื่อได้รับการเชิญขอให้ทุกท่านกด Join เพื่อเข้ากลุ่ม
(สาหรับ On-site) จัดกลุ่มย่อย จานวน 2 กลุ่ม
ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถกรอกข้อมูลสาหรับทา Workshop
ที่กาหนดไว้ให้ได้เลย
งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 27
ตัวอย่างเอกสารใน
Workshop
ขอให้ผู้เข้าอบรมที่เข้ากลุ่มย่อยแล้ว
กดเปิด Link เอกสารสาหรับการทา Workshop
ที่นักบริหารความเสี่ยงประจากลุ่มส่งให้
ในั่องแัทของแต่ละกลุ่มย่อยค่ะ
ขั้นตอนการทา Workshop
1. กาหนดความเสี่ยงและกิจกรรมควบคุมที่มีอยู่ในปัจจุบันไว้ให้แล้ว ในเอกสาร
Workshop
2. วิเคราะห์ Root Cause, กาหนด KRI (Leading หรือ Lagging KRI)
3. วิเคราะห์โอกาส ผลกระทบ และพิจารณาว่าควรจัดการความเสี่ยงเพิ่มเติม
หรือไม่? อย่างไร?
4. ทุกคนสามารถกรอกในเอกสารสาหรับทา Workshop พร้อมกันได้เลย
งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 29

More Related Content

What's hot

หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองRung Kru
 
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonRisk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศsomdetpittayakom school
 
คู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpssคู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpssprapapan20
 
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPpt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPrachaya Sriswang
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5kruwaeo
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืนการรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืนSuradet Sriangkoon
 
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดคำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดkrisdika
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาjuriporn chuchanakij
 
ไวนิล 2 จริง
ไวนิล 2 จริงไวนิล 2 จริง
ไวนิล 2 จริงJariya Jaiyot
 
การบริหารความเสี่ยง(Risk management)
การบริหารความเสี่ยง(Risk management)การบริหารความเสี่ยง(Risk management)
การบริหารความเสี่ยง(Risk management)tumetr1
 
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...ถูกต้อง ไม่จำเป็นต้องถูกใจ
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นPongtong Kannacham
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้DuangdenSandee
 
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56Dhanee Chant
 

What's hot (20)

Risk matrix VS Risk profile
Risk matrix VS Risk profileRisk matrix VS Risk profile
Risk matrix VS Risk profile
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
 
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonRisk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
 
PDSA
PDSAPDSA
PDSA
 
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
 
คู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpssคู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpss
 
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPpt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืนการรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน
 
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิดคำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
คำกล่าวรายงาน คำกล่าวปิด
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
 
แบบประเม น
แบบประเม นแบบประเม น
แบบประเม น
 
ไวนิล 2 จริง
ไวนิล 2 จริงไวนิล 2 จริง
ไวนิล 2 จริง
 
การบริหารความเสี่ยง(Risk management)
การบริหารความเสี่ยง(Risk management)การบริหารความเสี่ยง(Risk management)
การบริหารความเสี่ยง(Risk management)
 
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้น
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
แบบประเมินกิจกรรมเข้าค่ายพักแรมลูกเสือ56
 

Similar to การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)

แผนบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์ ปี 2554
แผนบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์  ปี 2554แผนบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์  ปี 2554
แผนบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์ ปี 2554นู๋หนึ่ง nooneung
 
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปี
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีแผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปี
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีWatcharasak Chantong
 
การประเมินความเสี่ยงการทุจริตประจำปี
การประเมินความเสี่ยงการทุจริตประจำปีการประเมินความเสี่ยงการทุจริตประจำปี
การประเมินความเสี่ยงการทุจริตประจำปีKppPrimaryEducationa
 
ความปลอดภัยในสถานศึกษา
ความปลอดภัยในสถานศึกษาความปลอดภัยในสถานศึกษา
ความปลอดภัยในสถานศึกษาPornthip Tanamai
 
6014963015.pdf
6014963015.pdf6014963015.pdf
6014963015.pdf60933
 
office syn.pdf
office syn.pdfoffice syn.pdf
office syn.pdf60919
 
BUBBLE Project made in thailand 4.0
BUBBLE Project made in thailand 4.0BUBBLE Project made in thailand 4.0
BUBBLE Project made in thailand 4.0Sarawuth Noliam
 
ใต้ร่มพระบารมี๙ BUBBLE Project Made in Thailand 4.0
ใต้ร่มพระบารมี๙ BUBBLE Project Made in Thailand 4.0ใต้ร่มพระบารมี๙ BUBBLE Project Made in Thailand 4.0
ใต้ร่มพระบารมี๙ BUBBLE Project Made in Thailand 4.0kookkeang
 
การรับรู้แอพพลิเคชั่นทรูยู การใช้งานและความพึงพอใจที่มีผลต่อความภักดีต่อตราสิ...
การรับรู้แอพพลิเคชั่นทรูยู การใช้งานและความพึงพอใจที่มีผลต่อความภักดีต่อตราสิ...การรับรู้แอพพลิเคชั่นทรูยู การใช้งานและความพึงพอใจที่มีผลต่อความภักดีต่อตราสิ...
การรับรู้แอพพลิเคชั่นทรูยู การใช้งานและความพึงพอใจที่มีผลต่อความภักดีต่อตราสิ...SahatsawatSriprasan
 
Business Plan for Klungya chaingkhum
Business Plan for Klungya chaingkhumBusiness Plan for Klungya chaingkhum
Business Plan for Klungya chaingkhumUtai Sukviwatsirikul
 
Crm กับบริการสารสนเทศ
Crm กับบริการสารสนเทศCrm กับบริการสารสนเทศ
Crm กับบริการสารสนเทศNaresuan University Library
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1Kruthai Kidsdee
 

Similar to การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022) (14)

แผนบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์ ปี 2554
แผนบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์  ปี 2554แผนบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์  ปี 2554
แผนบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์ ปี 2554
 
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปี
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปีแผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปี
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปี
 
การประเมินความเสี่ยงการทุจริตประจำปี
การประเมินความเสี่ยงการทุจริตประจำปีการประเมินความเสี่ยงการทุจริตประจำปี
การประเมินความเสี่ยงการทุจริตประจำปี
 
ความปลอดภัยในสถานศึกษา
ความปลอดภัยในสถานศึกษาความปลอดภัยในสถานศึกษา
ความปลอดภัยในสถานศึกษา
 
6014963015.pdf
6014963015.pdf6014963015.pdf
6014963015.pdf
 
office syn.pdf
office syn.pdfoffice syn.pdf
office syn.pdf
 
Siiim
SiiimSiiim
Siiim
 
Siiim
SiiimSiiim
Siiim
 
BUBBLE Project made in thailand 4.0
BUBBLE Project made in thailand 4.0BUBBLE Project made in thailand 4.0
BUBBLE Project made in thailand 4.0
 
ใต้ร่มพระบารมี๙ BUBBLE Project Made in Thailand 4.0
ใต้ร่มพระบารมี๙ BUBBLE Project Made in Thailand 4.0ใต้ร่มพระบารมี๙ BUBBLE Project Made in Thailand 4.0
ใต้ร่มพระบารมี๙ BUBBLE Project Made in Thailand 4.0
 
การรับรู้แอพพลิเคชั่นทรูยู การใช้งานและความพึงพอใจที่มีผลต่อความภักดีต่อตราสิ...
การรับรู้แอพพลิเคชั่นทรูยู การใช้งานและความพึงพอใจที่มีผลต่อความภักดีต่อตราสิ...การรับรู้แอพพลิเคชั่นทรูยู การใช้งานและความพึงพอใจที่มีผลต่อความภักดีต่อตราสิ...
การรับรู้แอพพลิเคชั่นทรูยู การใช้งานและความพึงพอใจที่มีผลต่อความภักดีต่อตราสิ...
 
Business Plan for Klungya chaingkhum
Business Plan for Klungya chaingkhumBusiness Plan for Klungya chaingkhum
Business Plan for Klungya chaingkhum
 
Crm กับบริการสารสนเทศ
Crm กับบริการสารสนเทศCrm กับบริการสารสนเทศ
Crm กับบริการสารสนเทศ
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
 

More from Nawanan Theera-Ampornpunt

Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Telemedicine: A Health Informatician's Point of View
Telemedicine: A Health Informatician's Point of ViewTelemedicine: A Health Informatician's Point of View
Telemedicine: A Health Informatician's Point of ViewNawanan Theera-Ampornpunt
 
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...Nawanan Theera-Ampornpunt
 

More from Nawanan Theera-Ampornpunt (20)

Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
 
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)
 
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)
 
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)
 
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)
 
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)
 
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
 
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
 
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)
 
Telemedicine: A Health Informatician's Point of View
Telemedicine: A Health Informatician's Point of ViewTelemedicine: A Health Informatician's Point of View
Telemedicine: A Health Informatician's Point of View
 
Meeting Management (March 2, 2022)
Meeting Management (March 2, 2022)Meeting Management (March 2, 2022)
Meeting Management (March 2, 2022)
 
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
 
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
 
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
 
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
 
Hospital Informatics (November 26, 2021)
Hospital Informatics (November 26, 2021)Hospital Informatics (November 26, 2021)
Hospital Informatics (November 26, 2021)
 
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
 
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
 
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
 
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
 

การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)

  • 2. 1. เพื่อให้ผู้ประสานงานด้านความเสี่ยงทราบนโยบาย ทิศทาง และ แนวทางการบริหารความเสี่ยงของคณะฯ 2. เพื่อให้ผู้ประสานงานด้านความเสี่ยงเข้าใจและสามารถบริหาร จัดการความเสี่ยงในบริบทของตนเองได้อย่างถูกต้องเหมาะสม 3. เพื่อให้การบริหารความเสี่ยงด้านต่าง ๆ ของคณะฯ เป็นไปอย่างมี ประสิทธิผลและประสิทธิภาพ ทาให้คณะฯ ประสบความสาเร็จใน การบริหารและดาเนินงานด้านต่าง ๆ อย่างยั่งยืน งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 2 วัตถุประสงค์
  • 3. • ความเป็นไปได้ที่จะเกิดเหตุการณ์บางอย่างขึ้น • “Risk is the possibility of something bad happening.” (Wikipedia) งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 3 ความเสี่ยง (Risk) คืออะไร ความเสี่ยง (Risk) สาเหตุ (Cause) ผลกระทบ (Consequence)
  • 4. • ความเสี่ยง คือสิ่งที่ยังไม่เกิด แต่ถ้าเกิดอาจส่งผลกระทบ บางอย่างกับองค์กร จึงต้อง “บริหารจัดการ” • ปัญหา คือสิ่งที่เกิดขึ้นแล้ว และจะส่งผลกระทบต่อองค์กร จึงต้อง “แก้ไข” • ความเสี่ยง (Risk) ≠ ปัญหา (Problem) • การบริหารความเสี่ยง (Risk Management) ≠ การจัดการ แก้ไขปัญหา (Problem Solving) งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 4 ความเสี่ยง (Risk) vs. ปัญหา (Problem)
  • 5. • ความเสี่ยง (ที่อาจเกิดขึ้น) อาจมาพร้อมโอกาสที่จะได้ ผลตอบแทนที่ดี (positive benefits/returns) (ที่อาจมา ควบคู่กัน) • “การลงทุนมีความเสี่ยง” • ถ้าไม่อยากเสี่ยง ก็ไม่ต้องลงทุน • แต่ถ้าไม่ลงทุน ก็จะไม่มีโอกาสได้กาไรเป็นกอบเป็นกา งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 5 มอง “ความเสี่ยง” อย่างเข้าใจ
  • 6. • ความเสี่ยง จึงไม่ใช่สิ่งที่แย่เสมอไป • การ “กาจัดความเสี่ยง” ให้หมดไป ไม่ใช่สิ่งที่ดีเสมอไป • การกาจัดความเสี่ยงให้หมดไป อาจต้องใช้ทรัพยากรและ พลังงานมหาศาล • การกาจัดความเสี่ยงให้หมดไป อาจนาไปสู่การเสียโอกาส บางอย่าง • เราอาจไม่สามารถกาจัดความเสี่ยงบางอย่างให้หมดไปได้ หากเรายังคงดาเนินงานในพันธกิจต่างๆ ขององค์กรอยู่ งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 6 มอง “ความเสี่ยง” อย่างเข้าใจ
  • 7. • ระดับความเสี่ยงที่องค์กรยอมรับได้ ในการดาเนินงานหนึ่ง ๆ ก่อนที่องค์กรจะเห็นว่าจาเป็นต้องลดความเสี่ยง • Risk Appetite ขององค์กร จะเป็นตัวกาหนดว่าองค์กรจะ สามารถแสวงหาโอกาสได้รับผลตอบแทน (ที่มาพร้อมกับ ความเสี่ยง) โดยยอมรับผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากความ เสี่ยงนั้น ๆ ได้มากน้อยเพียงใด งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 7 รู้จัก “Risk Appetite”
  • 8. • Strategic Risk (ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์) • ความเสี่ยงจากการกาหนดแผนกลยุทธ์และแผนการดาเนินงานไม่ เหมาะสม หรือการนาแผนไปปฏิบัติไม่เหมาะสมหรือไม่มีประสิทธิภาพ • Operational Risk (ความเสี่ยงด้านการดาเนินงาน) • ความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากกระบวนการทางานปกติ (operations) ขององค์กร • Financial Risk (ความเสี่ยงด้านการเงิน) • Compliance Risk (ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติตาม กฎระเบียบ) งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 8 ประเภทของความเสี่ยง (Types of Risk)
  • 9. การบริหารความเสี่ยงคณะฯ งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 9 COSO ERM 2004 COSO ERM 2017 กระบวนการบริหารความเสี่ยง Risk Identification Risk Assessment Risk Management Risk Monitoring & Evaluation
  • 10. งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 10 ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ 20 หลักการ มาตรฐานสากล COSO - Enterprise Risk Management Integrating with Strategy and Performance (2017) ภาพ/เนื้อหาจากศูนย์บริหารจัดการความเสี่ยง มหาวิทยาลัยมหิดล
  • 12. งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 12 การระบุความเสี่ยง (Identification Risk) Who is involved ? ผู้ปฏิบัติงาน หัวหน้างาน ผู้บริหารส่วนงาน ประชุมร่วมทุกกลุ่มงาน/คณะทางาน ระบุความเสี่ยง (O,F,C) ระบุความเสี่ยง (S) และพิจารณา O,F,C ในงานที่รับผิดชอบ พิจารณา (S,O,F,C) ทุกพันธกิจ/งาน พิจารณา S,O,F,C และระบุความเสี่ยง (S) ในภาพของส่วนงาน เครือข่ายการบริหารความเสี่ยง ภาพ/เนื้อหาจากศูนย์บริหารจัดการความเสี่ยง มหาวิทยาลัยมหิดล
  • 13. งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 13  พิจารณาวิเคราะห์ความเสี่ยงจากพันธกิจหลัก และพันธกิจสนับสนุนของส่วนงาน /หน่วยงาน ที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ของมหาวิทยาลัย ยุทธศาสตร์ของคณะฯ โดยคานึงถึงการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมภายนอก และภายในร่วมด้วย พ.ร.บ.การอุดมศึกษา พ.ศ. 2562 พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูล ส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 นโยบายและยุทธศาสตร์ การวิจัยของชาติ กลุ่มประชากร Changes in consumer ทักษะแรงงาน Post COVID-19 New Normal ตัวอย่าง External Factors ที่เกี่ยวข้อง การระบุความเสี่ยง (Identification Risk) ภาพ/เนื้อหาจากศูนย์บริหารจัดการความเสี่ยง มหาวิทยาลัยมหิดล
  • 14. งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 14  วิเคราะห์ความเสี่ยงให้ครอบคลุมทั้ง 4 ประเภทความเสี่ยง ประกอบด้วย ด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk) ด้านการดาเนินงาน (Operational Risk) ด้านการเงิน (Financial Risk) และด้านการปฏิบัติตามกฎระเบียบ (Compliance Risk) ประเภทของความเสี่ยง ความเสี่ยงด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk) ยุทธศาสตร์/พันธกิจหลักขององค์กร (Core Activity) ได้แก่ การศึกษา การวิจัย (Research Projects) การบริการวิชาการ การบริการสุขภาพ ความเสี่ยงด้านการปฏิบัติตามกฎระเบียบ (Compliance Risk) กฎหมาย/กฎระเบียบ/ข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับ การดาเนินงานในพันธกิจต่างๆ ของส่วนงาน หากไม่ปฏิบัติตามอาจส่งผลกระทบในระดับรุนแรง และกระทบต่อ ชื่อเสียงภาพลักษณ์ของส่วนงานและมหาวิทยาลัย ความเสี่ยงด้านการดาเนินงาน (Operational Risk) Work Flow/Process ระบบปฏิบัติการหลักขององค์กร ระบบงานสนับสนุน เช่น งานทรัพยากรบุคคล งานการเงิน/บัญชี/พัสดุ เป็นต้น ความเสี่ยงด้านการเงิน (Financial Risk) ให้มองในมิติที่เป็น Strategic โดยพิจารณาจากยุทธศาสตร์ของ องค์กรที่เกี่ยวข้องกับ สภาพคล่องทางการเงิน ความมั่นคงทางการเงิน ความอยู่รอดขององค์กร ภาพ/เนื้อหาจากศูนย์บริหารจัดการความเสี่ยง มหาวิทยาลัยมหิดล
  • 15. งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 15  การวิเคราะห์และประเมินความเสี่ยงของการดาเนินงานที่อาจก่อให้เกิดการทุจริต (Fraud) หรือก่อให้เกิดการขัดกันระหว่าง ผลประโยชน์ส่วนตนกับผลประโยชน์ส่วนรวม (Conflict of Interest) ตามแนวทางการประเมินคุณธรรม และความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (ITA) ระเบียบหรือแนวปฏิบัติเรื่อง “ธรรมาภิบาล”ของมหาวิทยาลัยมหิดล  ประกาศมหาวิทยาลัยมหิดล เรื่อง นโยบายต่อต้านคอร์รัปัั่น (Anti - corruption Policy) พ.ศ. 2559  ประกาศมหาวิทยาลัยมหิดล เรื่อง นโยบายคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของ มหาวิทยาลัยมหิดล  นโยบายความขัดแย้งทางผลประโยัน์ของมหาวิทยาลัยมหิดล  มาตรการป้องกันการรับสินบน และการขัดกันระหว่างผลประโยัน์ส่วนตนกับผลประโยัน์ ส่วนรวม พ.ศ. 2562  มาตรการลดการใั้ดุลยพินิจในการปฏิบัติหน้าที่ พ.ศ. 2562  มาตรการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย พ.ศ. 2562  มาตรการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะเพื่อส่งเสริมความโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2562 คู่มือธรรมาภิบาลมหาวิทยาลัยมหิดล การเปิดเผยข้อมูลตามแนวทางการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (ITA) https://op.mahidol.ac.th/rm/risk_management/fraud_risk ภาพ/เนื้อหาจากศูนย์บริหารจัดการความเสี่ยง มหาวิทยาลัยมหิดล
  • 16. งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 16  กาหนดให้หน่วยงานนาเหตุการณ์ความเสี่ยงที่อยู่ในระดับความเสี่ยงสูง (โซนสีส้ม) และระดับความเสี่ยงสูงมาก (โซนสีแดง) มาจัดทาแผนบริหารจัดการความเสี่ยงเพื่อกาหนดแนวทางการจัดการความเสี่ยงที่เหมาะสม และรายงานผล การบริหารจัดการความเสี่ยงตามแผนฯ ต่อคณะฯ ทุก 6 เดือน ความถี่ของการเกิดเหตุการณ์ความเสี่ยง ในอดีต และโอกาสที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ความรุนแรงของเหตุการณ์ความเสี่ยง ที่หากเกิดขึ้นแล้วจะส่งผลกระทบในด้านต่างๆ โอกาสเกิด (Likelihood) ผลกระทบ (Impact) การประเมิน...ระดับความเสี่ยง ให้พิจารณาใน 2 มิติ การวิเคราะห์และการประเมินความเสี่ยง ภาพ/เนื้อหาจากศูนย์บริหารจัดการความเสี่ยง มหาวิทยาลัยมหิดล
  • 17. งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 17 เกณฑ์การประเมินโอกาสเกิด (Likelihood) ภาพ/เนื้อหาจากศูนย์บริหารจัดการความเสี่ยง มหาวิทยาลัยมหิดล
  • 18. งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 18 เกณฑ์การวัดผลกระทบ (Impact) 4 ด้าน ภาพ/เนื้อหาจากศูนย์บริหารจัดการความเสี่ยง มหาวิทยาลัยมหิดล
  • 20. • เลือกกลยุทธ์ในการจัดการความเสี่ยง (risk management strategy) ที่เหมาะสมกับ risk appetite ขององค์กร • ระบุ Existing Controls ที่มีอยู่ ที่ใั้จัดการความเสี่ยงนั้น • ประเมินระดับความเสี่ยงที่เหลืออยู่ (Residual Risk) • หากระดับความเสี่ยงสูงเกินระดับที่ยอมรับได้ หรือสูงกว่า risk appetite ให้ระบุ Control Activities ที่จะทาเพิ่มใน แผนการจัดการความเสี่ยง งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 20 แผนการจัดการความเสี่ยง (Risk Management Plan)
  • 21. งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 21 Inherent Risk vs. Residual Risk Residual Risk = (Inherent Risk) – (Risk Reduction due to Existing Controls) Background vector created by upklyak - www.freepik.com Risk of Fall = Likelihood x Impact Inherent Risk of Fall = Likelihood x Impact without any existing controls Residual Risk of Fall = Likelihood x Impact with existing controls
  • 22. งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 22 Inherent Risk vs. Residual Risk Residual Risk = (Inherent Risk) – (Risk Reduction due to Existing Controls) Inherent Risk Residual Risk Control Activities Risk Appetite Expected Residual Risk after Control Activities Existing Controls
  • 23. • เราใั้ KRIs ในการติดตาม (monitor) และประเมินผล (evaluate) ประสิทธิผลของการจัดการความเสี่ยง • ควรมี leading indicator ที่ส่งสัญญาณให้เห็นแนวโน้มของ ประสิทธิผลของการจัดการความเสี่ยงล่วงหน้าได้ทันการ • ไม่ควรมีแต่ lagging indicator ที่แสดงถึง “ผล” ที่เกิดขึ้น หลังจากเวลาผ่านไปนานพอสมควร • KRI ที่ดี จะส่งสัญญาณล่วงหน้าว่าการจัดการความเสี่ยงทาได้ดี หรือไม่ดี และั่วยให้เราปรับแผนการจัดการความเสี่ยงได้ทันการ • มี burden ในการเก็บข้อมูลไม่มากนัก งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 23 Key Risk Indicator (KRI) ที่ดี
  • 24. Risk Monitoring Process งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 24 Process Output Input ความเสี่ยง และแผนการจัดการความเสี่ยงคณะฯ ผลการจัดการความเสี่ยง ครั้งที่ 1 ต.ค.-มี.ค. ครั้งที่ 2 เม.ย.-ก.ย. Risk Management Report RM ติดตาม ผลการ จัดการฯ RC จัดทาตาม แผนฯ ความเสี่ยง รองคณบดีที่ รับผิดชอบ พิจารณา/ อนุมัติ นาเสนอ RMC + คกก. ประจาคณะฯ ① ② ③ ④ การติดตามผลการจัดการการความเสี่ยง
  • 25. งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 25 ประโยชน์จากการบริหารความเสี่ยง การบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กรตามกรอบ COSO - ERM version 2017 ไม่ใช่เป็นเครื่องมือการจัดการเพื่อสนับสนุน ให้การดาเนินงานบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายเท่านั้น แต่ยังช่วยให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กร....ดังนี้ ที่มา: Committee of Sponsoring Organizations of the Treadway Commission(COSO).2017. Enterprise Risk Management Integrating with Strategy and Performance Executive Summary. retrieve from https://www.coso.org/Pages/default.aspx. 10/5/2017 (คัดลอกและตัดบางส่วน เพิ่มการไขว่คว้าโอกาส เพื่อสร้างคุณค่าให้เพิ่มขึ้นในองค์กร โดยจะพิจารณามุมมองเชิงบวกและลบอย่างสมเหตุสมผล ทาให้เกิดความมั่นใจเพื่อตัดสินใจเชิงรุกเพื่อออกผลิตภัณฑ์ บริการแก่ลูกค้าได้ก่อนคู่แข่ง ช่วยลดผลกระทบเชิงลบจากเหตุการณ์ไม่คาดหวัง ลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จาเป็น ในการควบคุมกิจกรรมที่ไม่ควรจะควบคุม และเพิ่มกาไรจากการมีมาตรการ เชิงรุกหรือออกผลิตภัณฑ์ใหม่เสนอลูกค้าจากการไขว่คว้าโอกาสต่าง ๆ ช่วยลดการดาเนินงานที่จะเบี่ยงเบนจากเป้าหมาย โดยไม่จาเป็น ต้องขจัดปัจจัยเสี่ยงให้หมดไป แต่จะควบคุมความเสี่ยงให้อยู่ในระดับ ที่ยอมรับได้ ขณะเดียวกันจะแสวงหาโอกาสทางธุรกิจให้มากที่สุด ทาให้องค์กรมีความยืดหยุ่นในการปรับตัว โดยเฉพาะการปรับตัว ในระยะยาว และไม่เพียงแต่เพื่อให้องค์กรอยู่รอดเท่านั้น ยังช่วยให้ รอดพ้นจากวิกฤติที่ภัยคุกคามสาคัญ (crisis) ด้วย ภาพ/เนื้อหาจากศูนย์บริหารจัดการความเสี่ยง มหาวิทยาลัยมหิดล
  • 26. Workshop งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 26 (สาหรับ Online) จัดกลุ่ม Breakout Room จานวน 7 กลุ่ม ผู้เข้าร่วมอบรมจะถูกเชิญเข้ากลุ่มโดยการตั้งกลุ่มไว้ล่วงหน้าแล้ว เมื่อได้รับการเชิญขอให้ทุกท่านกด Join เพื่อเข้ากลุ่ม (สาหรับ On-site) จัดกลุ่มย่อย จานวน 2 กลุ่ม ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถกรอกข้อมูลสาหรับทา Workshop ที่กาหนดไว้ให้ได้เลย
  • 27. งานบริหารความเสี่ยง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 27 ตัวอย่างเอกสารใน Workshop ขอให้ผู้เข้าอบรมที่เข้ากลุ่มย่อยแล้ว กดเปิด Link เอกสารสาหรับการทา Workshop ที่นักบริหารความเสี่ยงประจากลุ่มส่งให้ ในั่องแัทของแต่ละกลุ่มย่อยค่ะ
  • 28. ขั้นตอนการทา Workshop 1. กาหนดความเสี่ยงและกิจกรรมควบคุมที่มีอยู่ในปัจจุบันไว้ให้แล้ว ในเอกสาร Workshop 2. วิเคราะห์ Root Cause, กาหนด KRI (Leading หรือ Lagging KRI) 3. วิเคราะห์โอกาส ผลกระทบ และพิจารณาว่าควรจัดการความเสี่ยงเพิ่มเติม หรือไม่? อย่างไร? 4. ทุกคนสามารถกรอกในเอกสารสาหรับทา Workshop พร้อมกันได้เลย