SlideShare a Scribd company logo
1 of 60
Download to read offline
1
1
กรณีศึกษาเกี่ยวกับภาพรวม
พระราชบัญญัติและกฎหมายลาดับรอง
นพ.นวนรรน ธีระอัมพรพันธุ์
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
15 กันยายน 2566
2
2
Disclaimer:
1. เป็นความเห็นทางวิชาการส่วนบุคคล ไม่ผูกพันการทา
หน้าที่ในบทบาทใดในปัจจุบันหรืออนาคต
2. การเปิดเผยข้อมูลการตอบข้อหารือของ
คณะอนุกรรมการเฉพาะกิจฯ ใน กคส. ได้ปกปิดข้อมูลที่
ระบุตัวเอกชนที่เกี่ยวข้องแล้ว (ยกเว้นกรณีหน่วยงานของ
รัฐที่เปิดเผยได้) เพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้เท่านั้น ไม่ได้มี
เจตนาเปิดเผยความลับ เชื่อมโยง ใส่ความ กล่าวหา
กล่าวโทษผู้ใด หรือทาให้ผู้นั้นเสียหาย
3
3
1. Privacy vs. Security
4
4
Privacy vs. Security
http://en.wikipedia.org/wiki/A._S._Bradford_House
5
5
▪Privacy: “The ability of an individual or group to
seclude themselves or information about
themselves and thereby reveal themselves
selectively.” (Wikipedia)
▪Information Security: “Protecting information
and information systems from unauthorized
access, use, disclosure, disruption, modification,
perusal, inspection, recording or destruction”
(Wikipedia)
Security & Privacy
6
6
Confidentiality
•การรักษาความลับของข้อมูล
Integrity
•การรักษาความครบถ้วนและ
ความถูกต้องของข้อมูล
•ปราศจากการเปลี่ยนแปลง
แก้ไข ทาให้สูญหาย ทาให้
เสียหาย หรือถูกทาลายโดย
มิชอบ
Availability
•การรักษาสภาพพร้อมใช้งาน
หลักการสาคัญของ Information Security
7
7
2. “ข้อมูลส่วนบุคคล”
8
8
ข้อมูลส่วนบุคคล
Reference: PDPA ม.6
9
9
3. “Controller” & “Processor”
vs. “Controller Officer” &
“Processor Officer”
10
10
Controller & Processor
Reference: PDPA ม.6
11
11
3. ข้อยกเว้นการบังคับใช้
12
12
ข้อยกเว้นการบังคับใช้
Reference: PDPA ม.4
13
13
ข้อยกเว้นการบังคับใช้
Reference: PDPA ม.4
14
14
ข้อยกเว้นการบังคับใช้
Reference: หนังสือตอบข้อหารือของคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจตอบข้อหารือและให้คาแนะนาหน่วยงานของรัฐ
เพื่อรองรับการบังคับใช้ PDPA ในคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
15
15
ข้อยกเว้นการบังคับใช้
Reference: หนังสือตอบข้อหารือของคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจตอบข้อหารือและให้คาแนะนาหน่วยงานของรัฐ
เพื่อรองรับการบังคับใช้ PDPA ในคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
16
16
ข้อยกเว้นการบังคับใช้
Reference: พรฎ.กาหนดลักษณะ กิจการ หรือหน่วยงานที่ได้รับการยกเว้นไม่ให้นา PDPA บางส่วนมาใช้บังคับ พ.ศ. 2566
17
17
4. การขัดกันของกฎหมาย
18
18
การขัดกันของกฎหมาย
Reference: PDPA ม.3
19
19
การขัดกันของกฎหมาย
Reference: หนังสือตอบข้อหารือของคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจตอบข้อหารือและให้คาแนะนาหน่วยงานของรัฐ
เพื่อรองรับการบังคับใช้ PDPA ในคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
20
20
การขัดกันของกฎหมาย
Reference: หนังสือตอบข้อหารือของคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจตอบข้อหารือและให้คาแนะนาหน่วยงานของรัฐ
เพื่อรองรับการบังคับใช้ PDPA ในคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
21
21
5. Lawful Basis
22
22
Lawful Basis
Reference: PDPA ม.24
23
23
Lawful Basis
Reference: PDPA ม.26
24
24
Lawful Basis
Reference: PDPA ม.26
25
25
Lawful Basis
Reference: PDPA ม.26
26
26
Lawful Basis
Reference: หนังสือตอบข้อ
หารือของคณะอนุกรรมการ
เฉพาะกิจตอบข้อหารือและให้
คาแนะนาหน่วยงานของรัฐ
เพื่อรองรับการบังคับใช้
PDPA ในคณะกรรมการ
คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
27
27
Lawful Basis
Reference: หนังสือตอบข้อหารือของคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจตอบข้อหารือและให้คาแนะนาหน่วยงานของรัฐ
เพื่อรองรับการบังคับใช้ PDPA ในคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
28
28
Lawful Basis
Reference: หนังสือตอบข้อหารือของคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจตอบข้อหารือและให้คาแนะนาหน่วยงานของรัฐ
เพื่อรองรับการบังคับใช้ PDPA ในคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
29
29
Lawful Basis
Reference: หนังสือตอบข้อหารือของคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจตอบข้อหารือและให้คาแนะนาหน่วยงานของรัฐ
เพื่อรองรับการบังคับใช้ PDPA ในคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
30
30
Lawful Basis & การขัดกันของกฎหมาย
Reference: หนังสือตอบข้อหารือของคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจตอบข้อหารือและให้คาแนะนาหน่วยงานของรัฐ
เพื่อรองรับการบังคับใช้ PDPA ในคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
31
31
Lawful Basis
Reference: หนังสือตอบข้อหารือของคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจตอบข้อหารือและให้คาแนะนาหน่วยงานของรัฐ
เพื่อรองรับการบังคับใช้ PDPA ในคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
32
32
Lawful Basis
Reference: หนังสือตอบข้อหารือของคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจตอบข้อหารือและให้คาแนะนาหน่วยงานของรัฐ
เพื่อรองรับการบังคับใช้ PDPA ในคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
33
33
Lawful Basis
Reference: หนังสือตอบข้อหารือของคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจตอบข้อหารือและให้คาแนะนาหน่วยงานของรัฐ
เพื่อรองรับการบังคับใช้ PDPA ในคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
34
34
Lawful Basis
Reference: หนังสือตอบข้อหารือของคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจตอบข้อหารือและให้คาแนะนาหน่วยงานของรัฐ
เพื่อรองรับการบังคับใช้ PDPA ในคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
35
35
6. Consent as the Last Resort
36
36
Consent as the Last Resort
Reference: แนวทางการดาเนินการในการขอความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2565
37
37
Compulsory Consent as Exception in PDPA
Reference: PDPA ม.19
38
38
7. Privacy Notice vs.
Privacy Policy
39
39
Privacy Notice vs. Privacy Policy
Reference: หนังสือตอบข้อหารือของคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจตอบข้อหารือและให้คาแนะนาหน่วยงานของรัฐ
เพื่อรองรับการบังคับใช้ PDPA ในคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
40
40
Privacy Notice vs. Privacy Policy
Reference: หนังสือตอบข้อหารือของคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจตอบข้อหารือและให้คาแนะนาหน่วยงานของรัฐ
เพื่อรองรับการบังคับใช้ PDPA ในคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
41
41
Privacy Notice vs. Privacy Policy
Reference: หนังสือตอบข้อหารือของคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจตอบข้อหารือและให้คาแนะนาหน่วยงานของรัฐ
เพื่อรองรับการบังคับใช้ PDPA ในคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
42
42
Privacy Notice vs. Privacy Policy
Reference: หนังสือตอบข้อหารือของคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจตอบข้อหารือและให้คาแนะนาหน่วยงานของรัฐ
เพื่อรองรับการบังคับใช้ PDPA ในคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
43
43
8. การ “ผลักภาระ” การขอ
Consent และ Privacy Notice
44
44
การ “ผลักภาระ” การขอ Consent และ Privacy Notice
Reference: หนังสือตอบข้อหารือของคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจตอบข้อหารือและให้คาแนะนาหน่วยงานของรัฐ
เพื่อรองรับการบังคับใช้ PDPA ในคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
45
45
การ “ผลักภาระ” การขอ Consent และ Privacy Notice
Reference: หนังสือตอบข้อหารือของคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจตอบข้อหารือและให้คาแนะนาหน่วยงานของรัฐ
เพื่อรองรับการบังคับใช้ PDPA ในคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
46
46
9. ROPA Exceptions
47
47
ROPA Exceptions
Reference: ประกาศ กคส. เรื่อง การยกเว้นการบันทึกรายการของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลซึ่งเป็นกิจการขนาดเล็ก พ.ศ. 2565
48
48
ROPA Exceptions
Reference: ประกาศ กคส. เรื่อง การยกเว้นการบันทึกรายการของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลซึ่งเป็นกิจการขนาดเล็ก พ.ศ. 2565
49
49
ROPA Exceptions
Reference: หนังสือตอบข้อหารือของคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจตอบข้อหารือและให้คาแนะนาหน่วยงานของรัฐ
เพื่อรองรับการบังคับใช้ PDPA ในคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
50
50
ROPA Exceptions
Reference: หนังสือตอบข้อหารือของคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจตอบข้อหารือและให้คาแนะนาหน่วยงานของรัฐ
เพื่อรองรับการบังคับใช้ PDPA ในคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
51
51
ROPA Exceptions
Reference: หนังสือตอบข้อหารือของคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจตอบข้อหารือและให้คาแนะนาหน่วยงานของรัฐ
เพื่อรองรับการบังคับใช้ PDPA ในคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
52
52
กฎหมายลาดับรองตาม PDPA ที่ประกาศแล้ว
• ประกาศคณะกรรมการฯ เรื่อง การยกเว้นการบันทึกรายการของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลซึ่งเป็นกิจการ
ขนาดเล็ก พ.ศ. 2565
• ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อ 20 มิ.ย. 2565 มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศฯ
• ประกาศคณะกรรมการฯ เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการในการจัดทาและเก็บรักษาบันทึกรายการของ
กิจกรรมการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลสาหรับผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2565
• ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อ 20 มิ.ย. 2565 มีผลใช้บังคับเพื่อพ้นกาหนด 180 วันนับแต่วัน
ประกาศฯ
• ประกาศคณะกรรมการฯ เรื่อง มาตรการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.
2565
• ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อ 20 มิ.ย. 2565 มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศฯ
• ประกาศคณะกรรมการฯ เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาออกคาสั่งลงโทษปรับทางปกครองของ
คณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญ พ.ศ. 2565
• ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อ 20 มิ.ย. 2565 มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศฯ
53
53
กฎหมายลาดับรองตาม PDPA ที่ประกาศแล้ว
• ระเบียบคณะกรรมการฯ ว่าด้วยการยื่น การไม่รับเรื่อง การยุติเรื่อง การพิจารณา และระยะเวลาในการ
พิจารณาคาร้องเรียน พ.ศ. 2565
• ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อ 11 ก.ค. 2565 มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศฯ
• ประกาศคณะกรรมการฯ เรื่อง คุณสมบัติและลักษณะต้องห้าม วาระการดารงตาแหน่ง การพ้นจาก
ตาแหน่ง และการดาเนินงานอื่นของคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญ พ.ศ. 2565
• ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อ 11 ก.ค. 2565 มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศฯ
• ประกาศคณะกรรมการฯ เรื่อง หลักเกณฑ์เกี่ยวกับคุณสมบัติของพนักงานเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2565
• ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อ 12 ก.ย. 2565 มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศฯ
• ประกาศคณะกรรมการฯ เรื่อง กาหนดแบบบัตรประจาตัวของพนักงานเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2565
• ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อ 12 ก.ย. 2565 มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศฯ
• ประกาศคณะกรรมการฯ เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการในการแจ้งเหตุการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.
2565
• ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อ 15 ธ.ค. 2565 มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศฯ
54
54
กฎหมายลาดับรองตาม PDPA ที่ประกาศแล้ว
• ประกาศ กคส. เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการในการจัดทาคาสั่งของคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญตาม พ.ร.บ.
คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2566
• ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อ 21 มิ.ย. 2566 มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศฯ
• ประกาศ กคส. เรื่อง ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลและผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลที่เป็นหน่วยงานของรัฐ
ซึ่งต้องจัดให้มีเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2566
• ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อ 18 ก.ค. 2566 มีผลใช้บังคับเมื่อพ้นกาหนด 90 วันนับแต่วัน
ประกาศฯ
• พรฎ.กาหนดลักษณะ กิจการ หรือหน่วยงานที่ได้รับการยกเว้นไม่ให้นา พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
พ.ศ. 2562 บางส่วนมาใช้บังคับ พ.ศ. 2566
• ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อ 17 ส.ค. 2566 มีผลใช้บังคับเมื่อพ้นกาหนด 150 วันนับแต่วัน
ประกาศฯ
• ประกาศ กคส. เรื่อง การจัดให้มีเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลตามมาตรา 41 (2) พ.ศ. 2566
• ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อ 14 ก.ย. 2566 มีผลใช้บังคับเมื่อพ้นกาหนด 90 วันนับแต่วัน
ประกาศฯ
55
55
10. PDPA as a
Principle-Based Regulation
56
56
ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับ PDPA
กฎหมาย PDPA ไม่ได้เขียนตรง ๆ
ว่าอะไรทาได้ อะไรทาไม่ได้ แปลว่า
ทาไม่ได้ เดี๋ยวผิดกฎหมาย
“ทาไมไม่พูดชัด ๆ ว่าอะไรทาได้
อะไรทาไม่ได้”
57
57
PDPA as a Principle-Based Regulation
PDPA เป็น Principle-Based
Regulation กาหนดหลักการไว้เพราะ
ไม่สามารถเขียนครอบคลุมได้ทุกอย่าง
58
58
ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับ PDPA
การปฏิบัติให้สอดคล้องกับ PDPA
(compliance) เช่น มาตรการ security
ของข้อมูล เป็นการทาตาม
prescriptive checklist
“ทาไมไม่พูดชัด ๆ ว่าให้ทาอะไรอย่างไรบ้างจึงจะ
comply แล้วจะตรวจสอบ (audit) กันยังไง”
59
59
PDPA as a Principle-Based Regulation
การบังคับใช้ PDPA หลายเรื่อง
เช่น มาตรการ security เป็นเรื่อง
ที่ควรใช้ Risk-Based Approach
ตามระดับความเสี่ยง
60
60
“Reason is
the Soul of the Law”
-- Thomas Hobbes

More Related Content

More from Nawanan Theera-Ampornpunt

More from Nawanan Theera-Ampornpunt (20)

Telemedicine: A Health Informatician's Point of View
Telemedicine: A Health Informatician's Point of ViewTelemedicine: A Health Informatician's Point of View
Telemedicine: A Health Informatician's Point of View
 
Meeting Management (March 2, 2022)
Meeting Management (March 2, 2022)Meeting Management (March 2, 2022)
Meeting Management (March 2, 2022)
 
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
 
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
 
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
 
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
 
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
 
Hospital Informatics (November 26, 2021)
Hospital Informatics (November 26, 2021)Hospital Informatics (November 26, 2021)
Hospital Informatics (November 26, 2021)
 
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
 
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
 
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
 
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
 
Health Information Privacy and Security (November 8, 2021)
Health Information Privacy and Security (November 8, 2021)Health Information Privacy and Security (November 8, 2021)
Health Information Privacy and Security (November 8, 2021)
 
Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 2 (Octobe...
Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 2 (Octobe...Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 2 (Octobe...
Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 2 (Octobe...
 
Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 1 (Octobe...
Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 1 (Octobe...Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 1 (Octobe...
Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 1 (Octobe...
 
Clinical Information Systems and Electronic Health Records (October 18, 2021)
Clinical Information Systems and Electronic Health Records (October 18, 2021)Clinical Information Systems and Electronic Health Records (October 18, 2021)
Clinical Information Systems and Electronic Health Records (October 18, 2021)
 
Cybersecurity (November 12, 2021)
Cybersecurity (November 12, 2021)Cybersecurity (November 12, 2021)
Cybersecurity (November 12, 2021)
 
World Cafe Subgroup Workshop Summary on Health Information Exchange Platform ...
World Cafe Subgroup Workshop Summary on Health Information Exchange Platform ...World Cafe Subgroup Workshop Summary on Health Information Exchange Platform ...
World Cafe Subgroup Workshop Summary on Health Information Exchange Platform ...
 
Integrating Health Information for National Health Systems Reform (October 30...
Integrating Health Information for National Health Systems Reform (October 30...Integrating Health Information for National Health Systems Reform (October 30...
Integrating Health Information for National Health Systems Reform (October 30...
 
PDPA Share & Learn: Data Sharing Agreement (DSA) Example by Ramathibodi (Octo...
PDPA Share & Learn: Data Sharing Agreement (DSA) Example by Ramathibodi (Octo...PDPA Share & Learn: Data Sharing Agreement (DSA) Example by Ramathibodi (Octo...
PDPA Share & Learn: Data Sharing Agreement (DSA) Example by Ramathibodi (Octo...
 

Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)