SlideShare a Scribd company logo
1 of 182
Download to read offline
1
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
นพ.นวนรรน ธีระอัมพรพันธุ์
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
21 มกราคม 2565
www.SlideShare.net/Nawanan
2
Disclaimer: เป็นความเห็นทางวิชาการส่วนบุคคล
ไม่ผูกพันการทาหน้าที่ในบทบาทใดในปัจจุบัน
หรืออนาคต
3
Outline
•ตัวอย่างกฎหมาย Information Privacy ก่อนยุค PDPA
•ข้อจากัดของกฎหมาย Information Privacy ของไทย ก่อนยุค
PDPA
•Overview ของ พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
(PDPA)
•Myths & Truths about PDPA
•PDPA & Enterprise Risk Management
•Supplemental Slides on PDPA (for Reference Only)
4
ตัวอย่างกฎหมาย Information Privacy
ก่อนยุค PDPA (Existing Laws)
5
Relevant Ethical Principles
Autonomy (หลักเอกสิทธิ์/ความเป็นอิสระของบุคคล)
Beneficence (หลักการรักษาประโยชน์สูงสุดของผู้ป่วย)
Non-maleficence (หลักการไม่ทาอันตรายต่อผู้ป่วย)
“First, Do No Harm.”
6
ประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 323 ผู้ใดล่วงรู้หรือได้มาซึ่งความลับของผู้อื่นโดยเหตุที่เป็นเจ้าพนักงาน
ผู้มีหน้าที่ โดยเหตุที่ประกอบอาชีพเป็นแพทย์ เภสัชกร คนจาหน่ายยา นางผดุง
ครรภ์ ผู้พยาบาล...หรือโดยเหตุที่เป็นผู้ช่วยในการประกอบอาชีพนั้น แล้ว
เปิดเผยความลับนั้นในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด ต้อง
ระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
ผู้รับการศึกษาอบรมในอาชีพดังกล่าวในวรรคแรก เปิดเผยความลับของผู้อื่น
อันตนได้ล่วงรู้หรือได้มาในการศึกษาอบรมนั้น ในประการที่น่าจะเกิดความ
เสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใดต้องระวางโทษเช่นเดียวกัน
7
ข้อบังคับแพทยสภา ว่าด้วยการรักษาจริยธรรม
แห่งวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. 2549
วิชาชีพอื่นๆ ด้านสุขภาพ และคณะกรรมการประกอบโรคศิลปะ มีข้อบังคับใน
ทานองเดียวกัน
8
คาประกาศสิทธิและข้อพึงปฏิบัติของผู้ปววย
7. ผู้ป่วยมีสิทธิได้รับการปกปิดข้อมูลของตนเอง เว้นแต่
ผู้ป่วยจะให้ความยินยอมหรือเป็นการปฏิบัติตามหน้าที่
ของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพเพื่อประโยชน์โดยตรง
ของผู้ป่วยหรือตามกฎหมาย
9
พรบ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
“เปิดเผยเป็นหลัก ปกปิดเป็นข้อยกเว้น”
มาตรา 15 ข้อมูลข่าวสารของราชการที่มีลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้
หน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐอาจมีคาสั่งมิให้เปิดเผยก็ได้ โดยคานึงถึง
การปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมาย...ประกอบกัน...
(5) รายงานการแพทย์หรือข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลซึ่งการเปิดเผยจะเป็นการ
รุกล้าสิทธิส่วนบุคคลโดยไม่สมควร
(6) ข้อมูลข่าวสารของราชการที่มีกฎหมายคุ้มครองมิให้เปิดเผย...
10
พรบ.ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544
และที่แก้ไขเพิ่มเติม
11
พรบ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550
มาตรา 7 ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล เป็นความลับส่วนบุคคล ผู้ใดจะ
นาไปเปิดเผยในประการที่น่าจะทาให้บุคคลนั้นเสียหายไม่ได้ เว้นแต่การ
เปิดเผยนั้นเป็นไปตามความประสงค์ของบุคคลนั้นโดยตรง หรือมีกฎหมาย
เฉพาะบัญญัติให้ต้องเปิดเผย แต่ไม่ว่าในกรณีใด ๆ ผู้ใดจะอาศัยอานาจหรือ
สิทธิตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการหรือกฎหมายอื่นเพื่อขอ
เอกสารเกี่ยวกับข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคลที่ไม่ใช่ของตนไม่ได้
12
ประกาศคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง แนวทางปฏิบัติในการ
ใช้งานสื่อสังคมออนไลน์ของผู้ปฏิบัติงานด้านสุขภาพ พ.ศ. 2559
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/E/088/12.PDF
13
ประกาศคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง แนวทางปฏิบัติในการ
ใช้งานสื่อสังคมออนไลน์ของผู้ปฏิบัติงานด้านสุขภาพ พ.ศ. 2559
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/E/088/12.PDF
14
ประกาศคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง แนวทางปฏิบัติในการ
ใช้งานสื่อสังคมออนไลน์ของผู้ปฏิบัติงานด้านสุขภาพ พ.ศ. 2559
http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/E/088/12.PDF
15
กฎหมายเฉพาะ
• พรบ.สถานพยาบาล พ.ศ. 2541 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
16
กฎหมายเฉพาะ
• พรบ.โรคติดต่อ พ.ศ. 2558
17
กฎหมายเฉพาะ
• พรบ.สุขภาพจิต พ.ศ. 2551
18
กฎหมายเฉพาะ
• พรบ.สุขภาพจิต พ.ศ. 2551
19
ข้อจากัดของกฎหมาย Information Privacy
ของไทย ก่อนยุค PDPA
20
ปัญหาของกฎหมาย Information Privacy
ไทย ก่อนยุค PDPA
• เป็น sectoral privacy law (เช่น healthcare sector) จึงอาจมี
มาตรฐานแตกต่างจาก sector อื่น
• หน่วยงานของรัฐ ถูกกากับโดย พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ ด้วย
แต่ไม่รวมหน่วยงานภาคเอกชน ทาให้มีมาตรฐานแตกต่างกัน
• ไม่มีบทบัญญัติบังคับให้หน่วยงานมีการจัดการเชิงระบบเพื่อคุ้มครอง
Privacy อย่างชัดเจน
21
ปัญหาของกฎหมาย Information Privacy
ไทย ก่อนยุค PDPA
• กฎหมายในอดีตเขียนอานาจหน้าที่ในการต้องเปิดเผยข้อมูล
สุขภาพของผู้ป่วยไม่ชัดเจน
• ในสถานการณ์จริงบางกรณีไม่มีบทบัญญัติทางกฎหมายรองรับ?
22
ปัญหาของกฎหมาย Information Privacy
ไทย ก่อนยุค PDPA
• ปัญหาของ พรบ.สุขภาพแห่งชาติ มาตรา 7
• “ในประการที่น่าจะทาให้บุคคลนั้นเสียหาย” เป็น Subjective
Value Judgment และขัดกับแนวคิด Privacy ทั่วไปที่มุ่ง
คุ้มครอง Privacy ของข้อมูลสุขภาพ โดยไม่สนใจความเสียหาย
• เงื่อนไขข้อยกเว้นไม่ครอบคลุม (ต่างจาก HIPAA ที่ระบุไว้ชัด
มาก)
• ไม่ให้อานาจในการออกข้อยกเว้น
23
ปัญหาของกฎหมาย Information Privacy
ไทย ก่อนยุค PDPA
• ปัญหาของ พรบ.สุขภาพแห่งชาติ มาตรา 7
• การให้ความยินยอมแทนโดยญาติ ไม่ชัดเจน และมีปัญหาในทางปฏิบัติ
• ไม่ให้อานาจในการออกหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในทางปฏิบัติ (เช่น การ
ขอความยินยอมของผู้ป่วย)
• มุ่งเน้นเรื่องการเปิดเผยข้อมูล แต่ไม่รวมเรื่องการเก็บรวบรวมและการใช้ข้อมูล
• ไม่ได้กาหนดหลักการของ Sensitive Personal Information
• มุ่งเน้นเพียงด้าน Privacy แต่ไม่ได้กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขด้าน
Security
• ไม่ได้ Balance กับความเสี่ยงอีกด้าน คือ ให้ข้อมูลผู้ป่วยไม่ครบ เกิดความเสี่ยง
ในการวินิจฉัยรักษาโรค
• ขาดเรื่อง Breach Notification
24
Overview ของ พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูล
ส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA)
25
TDPG 1.0
TDPG 2.0
TDPG 3.0
TDPG 3.1 for Investment Banking Activities
https://www.law.chula.ac.th/wp-content/
uploads/2020/12/TDPG3.0-C5-20201208.pdf
คณะนิติศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
26
Timeline พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
• 6 ม.ค. 2558 ครม. อนุมัติหลักการร่างกฎหมายเพื่อรองรับการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัลของ
ประเทศ จานวน 8 ฉบับ
• ก.ค. 2558 สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณาร่างเสร็จแล้ว
(เรื่องเสร็จที่ 1135/2558)
• 16 พ.ย. 2559 กระทรวง DE รับฟังความคิดเห็นเป็นการทั่วไป ณ โรงแรมเอทัส ลุมพินี
• 15-17 ส.ค. 2560 กระทรวง DE รับฟังความคิดเห็นโดยการจัดประชุม Focus Group ร่วมกับ
หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาการ และภาคประชาสังคมที่เกี่ยวข้อง
ณ กระทรวง DE
• 24-30 ม.ค. 2561 กระทรวง DE รับฟังความคิดเห็นจากตัวแทนผู้มีส่วนได้เสีย ณ กระทรวง DE
• 22 ม.ค. - 6 ก.พ. 2561 กระทรวง DE รับฟังความคิดเห็นผ่านเว็บไซต์และ e-mail
• 22 พ.ค. 2561 ครม. อนุมัติหลักการร่าง พรบ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. ....
• 5-20 ก.ย. 2561 กระทรวง DE รับฟังความคิดเห็นผ่านเว็บไซต์ (ประชุม 11 ก.ย. 2651)
• 28 ธ.ค. 2561 สนช. รับหลักการในวาระที่ 1
• 27-28 ก.พ. 2562 สนช. เห็นชอบในวาระที่ 2-3
• 27 พ.ค. 2562 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
• 27 พ.ค. 2563 บทบัญญัติเรื่องสิทธิและหน้าที่ในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลมีผลใช้บังคับ
(แต่ยกเว้นการบังคับใช้จนถึง 31 พ.ค. 2565)
27
เหตุผลในการประกาศใช้
พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
28
พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
• หมวด 1 คณะกรรมการคุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคล
• หมวด 2 การคุ้มครองข้อมูลส่วน
บุคคล
• ส่วนที่ 1 บททั่วไป
• ส่วนที่ 2 การเก็บรวบรวมข้อมูล
ส่วนบุคคล
• ส่วนที่ 3 การใช้หรือเปิดเผย
ข้อมูลส่วนบุคคล
• หมวด 3 สิทธิของเจ้าของข้อมูล
ส่วนบุคคล
• หมวด 4 สานักงานคณะกรรมการ
คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
• หมวด 5 การร้องเรียน
• หมวด 6 ความรับผิดทางแพ่ง
• หมวด 7 บทกาหนดโทษ
• ส่วนที่ 1 โทษอาญา
• ส่วนที่ 2 โทษทางปกครอง
• บทเฉพาะกาล
29
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
ตามมติ ครม. 19 พ.ค. 2563 และ 11 ม.ค. 2565
30
พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
ตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษา
• หมวด 1 คณะกรรมการคุ้มครองข้อมูล
ส่วนบุคคล
• หมวด 4 สานักงานคณะกรรมการ
คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
• บทเฉพาะกาล (ยกเว้นมาตรา 95, 96)
เมื่อพ้นกาหนดหนึ่งปีนับแต่วัน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
• หมวด 2 การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
• หมวด 3 สิทธิของเจ้าของข้อมูลส่วน
บุคคล
• หมวด 5 การร้องเรียน
• หมวด 6 ความรับผิดทางแพ่ง
• หมวด 7 บทกาหนดโทษ
• บทเฉพาะกาล เฉพาะมาตรา 95 (การ
เก็บรวบรวมและใช้ข้อมูลส่วนบุคคลที่
เก็บรวบรวมไว้ก่อนวันที่ พ.ร.บ. นี้ใช้
บังคับ), มาตรา 96 (ระยะเวลาในการ
ดาเนินการออกระเบียบ และประกาศ
ตาม พ.ร.บ. นี้)
ตั้งแต่ 27 พ.ค. 2563 แต่ยกเว้น
การบังคับใช้จนถึง 31 พ.ค. 2565
ตั้งแต่ 28 พ.ค. 2562
31
พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
เก็บรวบรวม
(Collection)
ใช้ (Use)
เปิดเผย
(Disclosure)
กระบวนการเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล
ประมวลผล (Process) = เก็บรวบรวม + ใช้ + เปิดเผย
(+ จัดเก็บ + วิเคราะห์ + ทาลาย + แสดงผล ฯลฯ)
32
33
34
35
36
37
38
39
40
Lawful Basis in PDPA
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
สิทธิขอเข้าถึงและขอรับสาเนาข้อมูล
สิทธิขอรับข้อมูลส่วนบุคคลที่เกี่ยวกับตน
สิทธิคัดค้านการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูล
สิทธิขอให้ลบหรือทาลาย หรือทาให้ข้อมูลส่วนบุคคลเป็นข้อมูลที่ไม่สามารถระบุตัวบุคคลได้
สิทธิขอให้ระงับการใช้ข้อมูลส่วนบุคคล
สิทธิร้องขอให้ดาเนินการให้ข้อมูลส่วนบุคคลถูกต้อง เป็นปัจจุบัน สมบูรณ์ และไม่ก่อให้เกิดความเข้าใจผิด
56
57
58
59
พ.ร.ฎ.กาหนดหน่วยงานและกิจการที่...ไม่อยู่ภายใต้
บังคับแห่ง PDPA พ.ศ. 2563
60
พ.ร.ฎ.กาหนดหน่วยงานและกิจการที่...ไม่อยู่ภายใต้
บังคับแห่ง PDPA พ.ศ. 2563
61
พ.ร.ฎ.กาหนดหน่วยงานและกิจการที่...ไม่อยู่ภายใต้
บังคับแห่ง PDPA พ.ศ. 2563
62
พ.ร.ฎ.กาหนดหน่วยงานและกิจการที่...ไม่อยู่ภายใต้
บังคับแห่ง PDPA พ.ศ. 2563
63
พ.ร.ฎ.กาหนดหน่วยงานและกิจการที่...ไม่อยู่ภายใต้
บังคับแห่ง PDPA (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2564
64
สรุปการบ้าน พ.ร.บ. PDPA
• Identify ข้อมูลส่วนบุคคลต่างๆ ที่องค์กรเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผย ทั้ง
ข้อมูลทั่วไป (มาตรา 24) และข้อมูล Sensitive Data (มาตรา 26) เช่น
• ข้อมูลผู้ป่วย/ลูกค้า
• ข้อมูลบุคลากร
• ข้อมูล Research Subjects (ถ้ามี)
• ข้อมูลนักศึกษา/Trainees
• ผู้เข้าร่วมการประชุมวิชาการ/ฝึกอบรมระยะสั้น
• วิทยากร/ที่ปรึกษาภายนอก
• ข้อมูล vendors/suppliers
• Website Visitors
65
สรุปการบ้าน พ.ร.บ. PDPA
•สาหรับข้อมูลส่วนบุคคลต่างๆ ตามข้างต้น ให้ระบุ
• แหล่งที่มา
• วัตถุประสงค์การใช้งานทั้งหมด (Primary Uses & Secondary Uses)
• Consent และ/หรืออานาจหน้าที่ตามกฎหมายในการใช้งานข้อมูลนั้น
• กระบวนการทางาน เอกสาร และระบบสารสนเทศ ที่เก็บรวบรวม ใช้
หรือเปิดเผยข้อมูลนั้นๆ
• Data Processor ที่ใช้บริการ/เกี่ยวข้องกับข้อมูลนั้นๆ และเงื่อนไข/
มาตรฐาน Security & Privacy
• สถานที่เก็บข้อมูล (ใน/นอกประเทศ) และมาตรฐานการคุ้มครองข้อมูล
ส่วนบุคคล
66
สรุปการบ้าน พ.ร.บ. PDPA
•สาหรับข้อมูลส่วนบุคคลต่างๆ ตามข้างต้น ให้พิจารณาว่า
• ยังมีความจาเป็นต้องเก็บรวบรวม ใช้ และเปิดเผยข้อมูลเหล่านั้นหรือไม่
• ถ้าจาเป็น ให้พิจารณาว่า พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ม. 24 & ม. 26
(และ/หรือกฎหมายอื่น) ให้อานาจเก็บรวบรวม ใช้ และเปิดเผย โดยไม่
ต้องขอ Consent จากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลหรือไม่ อ้างอิงบทใด
• หากไม่มี ให้ทบทวน Consent Form และ Consent Process ให้เป็นไป
ตาม พ.ร.บ. PDPA (ม.19)
• จัดทา Privacy Notice (ม. 23)
• Make sure ว่า เป็นไปตามวัตถุประสงค์และเท่าที่จาเป็น (ม.21-22)
• หากเก็บรวบรวมจากแหล่งอื่นที่ไม่ใช่เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล ให้พิจารณา
ว่าสอดคล้องกับ ม. 25 หรือไม่
67
สรุปการบ้าน พ.ร.บ. PDPA
•สาหรับข้อมูลส่วนบุคคลต่างๆ ตามข้างต้น ให้พิจารณาว่า
• กรณีเฉพาะ
• มีข้อมูลใดที่ต้องขอ Consent แต่เป็นข้อมูลของผู้เยาว์ ผู้ไร้ความสามารถ ผู้
เสมือนไร้ความสามารถ ให้ทบทวนกระบวนการและเอกสาร Consent (ม.20)
• ข้อมูลที่ส่งหรือโอนไปยังต่างประเทศ สอดคล้องกับ ม.28
• ข้อมูลที่ได้เก็บรวบรวมไว้ก่อนวันที่ พ.ร.บ. นี้ใช้บังคับ สอดคล้องกับ ม.95
•Set ระบบการดาเนินการตามที่เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลร้องขอ
• กระบวนการและเอกสารการถอน Consent (ม.19)
• สิทธิของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล (ม.30-36)
• การปรับกระบวนการทางานและระบบสารสนเทศให้บันทึกข้อมูลการใช้
และเปิดเผยข้อมูล
68
สรุปการบ้าน พ.ร.บ. PDPA
• Set ระบบที่เป็นหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล
• หากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลใช้สิทธิขอให้ลบหรือทาลาย หรือทาให้ข้อมูลส่วนบุคคลเป็น
ข้อมูลที่ไม่สามารถระบุตัวบุคคลที่เป็นเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลได้ มีเงื่อนไขข้อยกเว้นที่ไม่
ต้องปฏิบัติหรือไม่ (ม.33)
• การดาเนินการให้ข้อมูลส่วนบุคคลถูกต้อง เป็นปัจจุบัน สมบูรณ์ และไม่ก่อให้เกิดความ
เข้าใจผิด (ม.35-36)
• การปรับกระบวนการทางานและระบบสารสนเทศให้บันทึกรายการเพื่อให้เจ้าของข้อมูล
ส่วนบุคคลและสานักงานสามารถตรวจสอบได้ (ม. 39)
• หน้าที่ของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลตาม ม.37
• ย้า: ทบทวนมาตรการดูแล Cybersecurity ตาม ม.37 (1)
• การจัดทาข้อตกลง การทาหน้าที่ & Compliance ของผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล
ตาม ม.40 (Data Processor Agreement: DPA)
69
สรุปการบ้าน พ.ร.บ. PDPA
•Set ระบบที่เป็นหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล
• หน้าที่ของผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลตาม ม.40
• ย้า: ทบทวนมาตรการดูแล Cybersecurity ตาม ม.40 (2)
• การจัดทาข้อตกลง การทาหน้าที่ และความรับผิดชอบ (Liability &
Indemnification) ระหว่างผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลและผู้ควบคุมข้อมูล
ส่วนบุคคล (Data Processor Agreement: DPA)
• การปรับกระบวนการทางานและระบบสารสนเทศให้บันทึกรายการสามารถ
ตรวจสอบได้ (ม. 40)
70
สรุปการบ้าน พ.ร.บ. PDPA
• แต่งตั้งเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (Data Protection Officer: DPO)
(ม.41) และกากับให้ทาหน้าที่ตาม ม.42
• แจ้งเหตุการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคลแก่สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูล
ส่วนบุคคลโดยไม่ชักช้าภายใน 72 ชั่วโมงนับแต่ทราบเหตุเท่าที่จะสามารถ
กระทาได้ เว้นแต่การละเมิดดังกล่าวไม่มีความเสี่ยงที่จะมีผลกระทบต่อสิทธิ
และเสรีภาพของบุคคล ในกรณีที่การละเมิดมีความเสี่ยงสูงที่จะมีผลกระทบต่อ
สิทธิและเสรีภาพของบุคคล ให้แจ้งเหตุการละเมิดให้เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล
ทราบพร้อมกับแนวทางการเยียวยาโดยไม่ชักช้าด้วย (ม.37(4))
• ทบทวนการดาเนินการให้ Comply ตาม พ.ร.บ. ทั้งฉบับ (รวมทั้ง
Compliance ตาม พ.ร.บ. อื่นๆ)
71
Common Healthcare Use Cases
• Patient Care (Including Referrals)
• Emergency/Life-Saving
• Non-Emergency
• Occupational Health & Medicine / Welfare
• Healthcare Service Required by Law
• Elective
• Claims & Reimbursements / Public & Private Health Insurance
• Disease Control
• Disaster Management
• Public Health / Health Systems Management
• Health Professionals Training
• Quality Improvement/Audit/Quality Survey/Accreditation
• Human Subjects Research
• Medico-Legal & Ethical/Disciplinary/Investigative Uses
• Public Safety & National Security
72
Myths & Truths about PDPA
73
Myth #1
Myth: จะทา PDPA Compliance ไปทาไม ในเมื่อ
ทุกวันนี้ก็ถูกผู้รับบริการฟ้องตลอดอยู่แล้ว
74
Myth #1
Myth: จะทา PDPA Compliance ไปทาไม ในเมื่อ
ทุกวันนี้ก็ถูกผู้รับบริการฟ้องตลอดอยู่แล้ว
Truth: PDPA มีบทลงโทษทั้งทางแพ่ง อาญา และ
โทษทางปกครอง และหากเป็นข้อมูล sensitive
data ตามมาตรา 26 มีโทษทางอาญา ซึ่งรวมโทษ
จาคุกด้วย
75
76
77
78
Myth #2
Myth: บาง Sector เช่น
Healthcare มีกฎหมายเฉพาะเรื่อง
Privacy อยู่แล้ว ไม่ต้องทาอะไร
เพิ่มเติม
79
Myth #2
Myth: บาง Sector เช่น Healthcare มีกฎหมาย
เฉพาะเรื่อง Privacy อยู่แล้ว ไม่ต้องทาอะไรเพิ่มเติม
Truth: PDPA มีบทบัญญัติเรื่องการคุ้มครองข้อมูล
ส่วนบุคคล สิทธิของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล การ
ร้องเรียน และกลไกต่างๆ เพิ่มเติมจากกฎหมายใน
Healthcare ที่ไม่ได้ลงรายละเอียด แต่เนื้อหาไม่ได้
ขัดแย้งกัน
80
พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
• ความสัมพันธ์กับกฎหมายอื่น (มาตรา 3)
• ในกรณีที่มีกฎหมายว่าด้วยการใดบัญญัติเกี่ยวกับการคุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคลในลักษณะใด กิจการใด หรือหน่วยงานใดไว้
โดยเฉพาะแล้ว ให้บังคับตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายว่าด้วยการ
นั้น เว้นแต่
• (1) บทบัญญัติเกี่ยวกับการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วน
บุคคล และบทบัญญัติเกี่ยวกับสิทธิของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล
รวมทั้งบทกาหนดโทษที่เกี่ยวข้อง ให้บังคับตามบทบัญญัติแห่ง
พ.ร.บ. นี้เป็นการเพิ่มเติม ไม่ว่าจะซ้ากับบทบัญญัติแห่งกฎหมายว่า
ด้วยการนั้นหรือไม่ก็ตาม
• (2) ฯลฯ
81
พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
• ความสัมพันธ์กับกฎหมายอื่น (มาตรา 3)
• ในกรณีที่มีกฎหมายว่าด้วยการใดบัญญัติเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลใน
ลักษณะใด กิจการใด หรือหน่วยงานใดไว้โดยเฉพาะแล้ว ให้บังคับตามบทบัญญัติ
แห่งกฎหมายว่าด้วยการนั้น เว้นแต่
• (1) ฯลฯ
• (2) บทบัญญัติเกี่ยวกับการร้องเรียน บทบัญญัติที่ให้อานาจแก่คณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญ
ออกคาสั่งเพื่อคุ้มครองเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล และบทบัญญัติเกี่ยวกับอานาจหน้าที่ของ
พนักงานเจ้าหน้าที่ รวมทั้งบทกาหนดโทษที่เกี่ยวข้อง ให้บังคับตามบทบัญญัติแห่ง พ.ร.บ.
นี้ ในกรณีดังต่อไปนี้
• (ก) ในกรณีที่กฎหมายว่าด้วยการนั้นไม่มีบทบัญญัติเกี่ยวกับการร้องเรียน
• (ข) ในกรณีที่กฎหมายว่าด้วยการนั้นมีบทบัญญัติที่ให้อานาจแก่เจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจพิจารณาเรื่อง
ร้องเรียนตามกฎหมายดังกล่าวออกคาสั่งเพื่อคุ้มครองเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล แต่ไม่เพียงพอเท่ากับ
อานาจของคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญตาม พ.ร.บ. นี้และเจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจตามกฎหมายดังกล่าว
ร้องขอต่อคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญหรือเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลผู้เสียหายยื่นคาร้องเรียนต่อ
คณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญตาม พ.ร.บ. นี้ แล้วแต่กรณี
82
พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
• ข้อยกเว้นการใช้บังคับ (มาตรา 4)
• พ.ร.บ.นี้ไม่ใช้บังคับแก่
• (1) การเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของบุคคลที่ทาการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลเพื่อ
ประโยชน์ส่วนตนหรือเพื่อกิจกรรมในครอบครัวของบุคคลนั้นเท่านั้น
• (2) การดาเนินการของหน่วยงานของรัฐที่มีหน้าที่ในการรักษาความมั่นคงของรัฐ ซึ่งรวมถึงความมั่นคง
ทางการคลังของรัฐ หรือการรักษาความปลอดภัยของประชาชน รวมทั้งหน้าที่เกี่ยวกับการป้องกันและ
ปราบปรามการฟอกเงิน นิติวิทยาศาสตร์ หรือการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์
• (3) บุคคลหรือนิติบุคคลซึ่งใช้หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลที่ทาการเก็บรวบรวมไว้เฉพาะเพื่อกิจการ
สื่อมวลชน งานศิลปกรรม หรืองานวรรณกรรมอันเป็นไปตามจริยธรรมแห่งการประกอบวิชาชีพหรือเป็น
ประโยชน์สาธารณะเท่านั้น
• (4) สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา และรัฐสภา รวมถึงคณะกรรมาธิการที่แต่งตั้งโดยสภาดังกล่าว ซึ่งเก็บรวบรวม
ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลในการพิจารณาตามหน้าที่และอานาจ...
• (5) การพิจารณาพิพากษาคดีของศาลและการดาเนินงานของเจ้าหน้าที่ในกระบวนการพิจารณาคดี การ
บังคับคดี และการวางทรัพย์ รวมทั้งการดาเนินงานตามกระบวนการยุติธรรมทางอาญา
• (6) การดาเนินการกับข้อมูลของบริษัทข้อมูลเครดิตและสมาชิกตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจข้อมูล
เครดิต
83
พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
• ข้อยกเว้นการใช้บังคับ (มาตรา 4)
• การยกเว้นไม่ให้นาบทบัญญัติแห่ง พ.ร.บ. นี้ทั้งหมดหรือแต่บางส่วนมาใช้บังคับแก่
ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลในลักษณะใด กิจการใด หรือหน่วยงานใดทานอง
เดียวกับผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลตามวรรคหนึ่ง หรือเพื่อประโยชน์สาธารณะอื่น
ใด ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา
• ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลตามวรรคหนึ่ง (2) (3) (4) (5) และ (6) และผู้ควบคุม
ข้อมูลส่วนบุคคลของหน่วยงานที่ได้รับยกเว้นตามที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกา
ตามวรรคสอง ต้องจัดให้มีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคลให้
เป็นไปตามมาตรฐานด้วย
84
Myth #3
Myth: หน่วยงานของเราดูแลเรื่อง
cybersecurity ดีอยู่แล้ว
ไม่ต้องทาอะไรเพิ่มเติม
85
Myth #3
Myth: หน่วยงานของเราดูแลเรื่อง cybersecurity
ดีอยู่แล้ว ไม่ต้องทาอะไรเพิ่มเติม
Truth: security กับ privacy เป็นการมองคนละ
มุมกัน แต่สัมพันธ์กัน แม้มีมาตรการ security ดีแล้ว
แต่เรื่องการเคารพ privacy & protect personal
data โดยเก็บรวบรวม ใช้ เปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล
อย่างเหมาะสม ก็ยังสาคัญ
86
Security & Privacy
http://en.wikipedia.org/wiki/A._S._Bradford_House
87
▪Privacy: “The ability of an individual or group to seclude
themselves or information about themselves and thereby
reveal themselves selectively.” (Wikipedia)
▪Security: “The degree of protection to safeguard ... person
against danger, damage, loss, and crime.” (Wikipedia)
▪Information Security: “Protecting information and information
systems from unauthorized access, use, disclosure, disruption,
modification, perusal, inspection, recording or destruction”
(Wikipedia)
Security & Privacy
88
Confidentiality
•การรักษาความลับของข้อมูล
Integrity
•การรักษาความครบถ้วนและ
ความถูกต้องของข้อมูล
•ปราศจากการเปลี่ยนแปลงแก้ไข
ทาให้สูญหาย ทาให้เสียหาย
หรือถูกทาลายโดยมิชอบ
Availability
•การรักษาสภาพพร้อมใช้งาน
หลักการสาคัญของ Information Security
89
Myth #4
Myth: ก็แค่จับผู้รับบริการ (ยกเว้น
กรณี emergency) มาเซ็น consent
ให้หมด ก็จบแล้ว
90
Myth #4
Myth: ก็แค่จับผู้รับบริการ (ยกเว้นกรณี
emergency) มาเซ็น consent ให้หมด
ก็จบแล้ว
Truth: Consent ต้องทาโดยอิสระ ไม่มีผลต่อการ
ให้บริการ ต้องถอนความยินยอมได้ และเมื่อถอน
ความยินยอม สามารถขอลบข้อมูลได้
“Consent ควรเป็น Last Resort
เมื่อใช้ฐานทางกฎหมายอื่นไม่ได้”
91
พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
• ความยินยอม (มาตรา 19)
• ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลจะกระทาการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลไม่ได้หาก
เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลไม่ได้ให้ความยินยอมไว้ก่อนหรือในขณะนั้น เว้นแต่บทบัญญัติแห่ง พ.ร.บ.นี้
หรือกฎหมายอื่นบัญญัติให้กระทาได้
• การขอความยินยอมต้องทาโดยชัดแจ้ง เป็นหนังสือหรือทาโดยผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ เว้นแต่โดย
สภาพไม่อาจขอความยินยอมด้วยวิธีการดังกล่าวได้
• ในการขอความยินยอม... ต้องแจ้งวัตถุประสงค์ของการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล
ไปด้วย และการขอความยินยอมนั้นต้องแยกส่วนออกจากข้อความอื่นอย่างชัดเจน มีแบบหรือ
ข้อความที่เข้าถึงได้ง่ายและเข้าใจได้ รวมทั้งใช้ภาษาที่อ่านง่าย และไม่เป็นการหลอกลวงหรือทาให้
เข้าใจผิดในวัตถุประสงค์ดังกล่าว...
• ในการขอความยินยอม...ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลต้องคานึงอย่างถึงที่สุดในความเป็นอิสระของ
เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลในการให้ความยินยอม ทั้งนี้ ในการเข้าทาสัญญาซึ่งรวมถึงการให้บริการใด ๆ
ต้องไม่มีเงื่อนไขในการให้ความยินยอมเพื่อเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลที่ไม่มีความ
จาเป็นหรือเกี่ยวข้องสาหรับการเข้าทาสัญญาซึ่งรวมถึงการให้บริการนั้น ๆ
92
พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
• ความยินยอม (มาตรา 19)
• เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลจะถอนความยินยอมเสียเมื่อใดก็ได้โดยจะต้องถอนความ
ยินยอมโดยกฎหมายหรือสัญญาที่ให้ประโยชน์แก่เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล ทั้งนี้ การ
ถอนความยินยอมย่อมไม่ส่งผลกระทบต่อการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วน
บุคคลที่เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลได้ให้ความยินยอมไปแล้วโดยชอบตามที่กาหนดไว้ใน
หมวดนี้
• ในกรณีที่การถอนความยินยอมส่งผลกระทบต่อเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลในเรื่องใด ผู้
ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลต้องแจ้งให้เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลทราบถึงผลกระทบจากการ
ถอนความยินยอมนั้น
• การขอความยินยอมที่ไม่เป็นไปตามที่กาหนด ไม่มีผลผูกพันเจ้าของข้อมูลส่วนบุคค
และไม่ทาให้ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลสามารถทาการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผย
ข้อมูลส่วนบุคคลได้
93
พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
• สิทธิขอให้ลบหรือทาลาย หรือทาให้ข้อมูลส่วนบุคคลเป็นข้อมูลที่ไม่สามารถระบุตัวบุคคลที่
เป็นเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลได้ (มาตรา 33)
• (1) เมื่อข้อมูลส่วนบุคคลหมดความจาเป็นในการเก็บรักษาไว้ตามวัตถุประสงค์ในการเก็บ
รวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล
• (2) เมื่อเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลถอนความยินยอมในการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผย
ข้อมูลส่วนบุคคลและผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลไม่มีอานาจตามกฎหมายที่จะเก็บรวบรวม
ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลนั้นได้ต่อไป
• (3) เมื่อเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลคัดค้านการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล
ตามมาตรา 32 (1) และผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลไม่อาจปฏิเสธคาขอตามมาตรา 32 (1)
(ก) หรือ (ข) ได้ หรือเป็นการคัดค้านตามมาตรา 32 (2)
• (4) เมื่อข้อมูลส่วนบุคคลได้ถูกเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายตามที่
กาหนดไว้ในหมวดนี้
94
พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
• สิทธิขอให้ลบหรือทาลาย หรือทาให้ข้อมูลส่วนบุคคลเป็นข้อมูลที่ไม่สามารถ
ระบุตัวบุคคลที่เป็นเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลได้ (มาตรา 33)
• ความในวรรคหนึ่งมิให้นามาใช้บังคับกับการเก็บรักษาไว้เพื่อวัตถุประสงค์ใน
การใช้เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น การเก็บรักษาไว้เพื่อวัตถุประสงค์ตาม
มาตรา 24 (1) หรือ (4) หรือมาตรา 26 (5) (ก) หรือ (ข) การใช้เพื่อการก่อตั้ง
สิทธิเรียกร้องตามกฎหมาย การปฏิบัติตามหรือการใช้สิทธิเรียกร้องตาม
กฎหมาย หรือการยกขึ้นต่อสู้สิทธิเรียกร้องตามกฎหมาย หรือเพื่อการปฏิบัติ
ตามกฎหมาย
• ฯลฯ
95
พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
• ข้อยกเว้นการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลโดยไม่ได้รับความยินยอม (มาตรา 24)
• (1) เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่เกี่ยวกับการจัดทาเอกสารประวัติศาสตร์หรือจดหมายเหตุเพื่อประโยชน์
สาธารณะ หรือที่เกี่ยวกับการศึกษาวิจัยหรือสถิติซึ่งได้จัดให้มีมาตรการปกป้องที่เหมาะสมเพื่อคุ้มครอง
สิทธิและเสรีภาพของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล ทั้งนี้ ตามที่คณะกรรมการประกาศกาหนด
• (2) เพื่อป้องกันหรือระงับอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย หรือสุขภาพของบุคคล
• (3) เป็นการจาเป็นเพื่อการปฏิบัติตามสัญญาซึ่งเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลเป็นคู่สัญญาหรือเพื่อใช้ในการ
ดาเนินการตามคาขอของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเข้าทาสัญญานั้น
• (4) เป็นการจาเป็นเพื่อการปฏิบัติหน้าที่ในการดาเนินภารกิจเพื่อประโยชน์สาธารณะของผู้ควบคุมข้อมูล
ส่วนบุคคล หรือปฏิบัติหน้าที่ในการใช้อานาจรัฐที่ได้มอบให้แก่ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล
• (5) เป็นการจาเป็นเพื่อประโยชน์โดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลหรือของบุคคลหรือ
นิติบุคคลอื่นที่ไม่ใช่ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล เว้นแต่ประโยชน์ดังกล่าวมีความสาคัญน้อยกว่าสิทธิขั้น
พื้นฐานในข้อมูลส่วนบุคคลของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล
• (6) เป็นการปฏิบัติตามกฎหมายของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล
96
พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
• การเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลที่เป็น Sensitive Data โดยไม่ได้รับความ
ยินยอมโดยชัดแจ้ง (มาตรา 26)
• ข้อมูลส่วนบุคคลเกี่ยวกับเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ ความคิดเห็นทางการเมือง ความ
เชื่อในลัทธิ ศาสนาหรือปรัชญา พฤติกรรมทางเพศ ประวัติอาชญากรรม
ข้อมูลสุขภาพ ความพิการ ข้อมูลสหภาพแรงงาน ข้อมูลพันธุกรรม ข้อมูล
ชีวภาพ หรือข้อมูลอื่นใดซึ่งกระทบต่อเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลในทานอง
เดียวกันตามที่คณะกรรมการประกาศกาหนด
97
พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
• ข้อยกเว้นการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลที่เป็น Sensitive Data โดยไม่ได้
รับความยินยอมโดยชัดแจ้ง (มาตรา 26)
• (1) เพื่อป้องกันหรือระงับอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย หรือสุขภาพของบุคคล
ซึ่งเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลไม่สามารถให้ความยินยอมได้ ไม่ว่าด้วยเหตุใด
ก็ตาม
• (2) เป็นการดาเนินกิจกรรมโดยชอบด้วยกฎหมายที่มีการคุ้มครองที่เหมาะสม
ของมูลนิธิ สมาคม หรือองค์กรที่ไม่แสวงหากาไรที่มีวัตถุประสงค์เกี่ยวกับ
การเมือง ศาสนา ปรัชญา หรือสหภาพแรงงานให้แก่สมาชิก ผู้ซึ่งเคยเป็น
สมาชิก หรือผู้ซึ่งมีการติดต่ออย่างสม่าเสมอกับมูลนิธิ สมาคม หรือองค์กรที่ไม่
แสวงหากาไรตามวัตถุประสงค์ดังกล่าวโดยไม่ได้เปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลนั้น
ออกไปภายนอกมูลนิธิ สมาคม หรือองค์กรที่ไม่แสวงหากาไรนั้น
98
พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
• ข้อยกเว้นการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลที่เป็น Sensitive Data โดยไม่ได้
รับความยินยอมโดยชัดแจ้ง (มาตรา 26)
• (3) เป็นข้อมูลที่เปิดเผยต่อสาธารณะด้วยความยินยอมโดยชัดแจ้งของเจ้าของ
ข้อมูลส่วนบุคคล
• (4) เป็นการจาเป็นเพื่อการก่อตั้งสิทธิเรียกร้องตามกฎหมาย การปฏิบัติตาม
หรือการใช้สิทธิเรียกร้องตามกฎหมาย หรือการยกขึ้นต่อสู้สิทธิเรียกร้องตาม
กฎหมาย
99
พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
• ข้อยกเว้นการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลที่เป็น Sensitive Data โดยไม่ได้
รับความยินยอมโดยชัดแจ้ง (มาตรา 26)
• (5) เป็นการจาเป็นในการปฏิบัติตามกฎหมายเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์
เกี่ยวกับ
• (ก) เวชศาสตร์ป้องกันหรืออาชีวเวชศาสตร์ การประเมินความสามารถในการทางาน
ของลูกจ้าง การวินิจฉัยโรคทางการแพทย์ การให้บริการด้านสุขภาพหรือด้านสังคม
การรักษาทางการแพทย์ การจัดการด้านสุขภาพ หรือระบบและการให้บริการด้าน
สังคมสงเคราะห์ ทั้งนี้ ในกรณีที่ไม่ใช่การปฏิบัติตามกฎหมายและข้อมูลส่วนบุคคล
นั้นอยู่ในความรับผิดชอบของผู้ประกอบอาชีพหรือวิชาชีพหรือผู้มีหน้าที่รักษาข้อมูล
ส่วนบุคคลนั้นไว้เป็นความลับตามกฎหมาย ต้องเป็นการปฏิบัติตามสัญญาระหว่าง
เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลกับผู้ประกอบวิชาชีพทางการแพทย์
100
พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
• ข้อยกเว้นการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลที่เป็น Sensitive Data โดยไม่ได้
รับความยินยอมโดยชัดแจ้ง (มาตรา 26)
• (5) เป็นการจาเป็นในการปฏิบัติตามกฎหมายเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์
เกี่ยวกับ
• (ข) ประโยชน์สาธารณะด้านการสาธารณสุข เช่น การป้องกันด้านสุขภาพจาก
โรคติดต่ออันตรายหรือโรคระบาดที่อาจติดต่อหรือแพร่เข้ามาในราชอาณาจักร หรือ
การควบคุมมาตรฐานหรือคุณภาพของยา เวชภัณฑ์ หรือเครื่องมือแพทย์ ซึ่งได้จัดให้
มีมาตรการที่เหมาะสมและเจาะจงเพื่อคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของเจ้าของข้อมูล
ส่วนบุคคลโดยเฉพาะการรักษาความลับของข้อมูลส่วนบุคคลตามหน้าที่หรือตาม
จริยธรรมแห่งวิชาชีพ
101
พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
• ข้อยกเว้นการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลที่เป็น Sensitive Data โดยไม่ได้
รับความยินยอมโดยชัดแจ้ง (มาตรา 26)
• (5) เป็นการจาเป็นในการปฏิบัติตามกฎหมายเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์
เกี่ยวกับ
• (ค) การคุ้มครองแรงงาน การประกันสังคม หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สวัสดิการ
เกี่ยวกับการรักษาพยาบาลของผู้มีสิทธิตามกฎหมาย การคุ้มครองผู้ประสบภัยจาก
รถ หรือการคุ้มครองทางสังคม ซึ่งการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลเป็นสิ่งจาเป็นใน
การปฏิบัติตามสิทธิหรือหน้าที่ของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลหรือเจ้าของข้อมูลส่วน
บุคคล โดยได้จัดให้มีมาตรการที่เหมาะสมเพื่อคุ้มครองสิทธิขั้นพื้นฐานและประโยชน์
ของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล
102
พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
• ข้อยกเว้นการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลที่เป็น Sensitive Data โดยไม่ได้
รับความยินยอมโดยชัดแจ้ง (มาตรา 26)
• (5) เป็นการจาเป็นในการปฏิบัติตามกฎหมายเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์
เกี่ยวกับ
• (ง) การศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตร์ ประวัติศาสตร์ หรือสถิติ หรือประโยชน์
สาธารณะอื่น ทั้งนี้ ต้องกระทาเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าวเพียงเท่าที่จาเป็น
เท่านั้น และได้จัดให้มีมาตรการที่เหมาะสมเพื่อคุ้มครองสิทธิขั้นพื้นฐานและ
ประโยชน์ของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลตามที่คณะกรรมการประกาศกาหนด
• (จ) ประโยชน์สาธารณะที่สาคัญ โดยได้จัดให้มีมาตรการที่เหมาะสมเพื่อคุ้มครอง
สิทธิขั้นพื้นฐานและประโยชน์ของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล
103
Myth #5
Myth: ถ้าเขาจะขอลบ
อยู่เฉยๆ ก็ต้องลบ
104
Myth #5
Myth: ถ้าเขาจะขอลบ
อยู่เฉยๆ ก็ต้องลบ
Truth: หากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลขอให้ลบ
ข้อมูล จะต้องพิจารณาตามข้อยกเว้นใน PDPA
หากไม่เข้าข้อยกเว้นที่อาจปฏิเสธได้ ก็ต้องลบ
105
พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
• สิทธิขอให้ลบหรือทาลาย หรือทาให้ข้อมูลส่วนบุคคลเป็นข้อมูลที่ไม่สามารถระบุตัวบุคคลที่
เป็นเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลได้ (มาตรา 33)
• (1) เมื่อข้อมูลส่วนบุคคลหมดความจาเป็นในการเก็บรักษาไว้ตามวัตถุประสงค์ในการเก็บ
รวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล
• (2) เมื่อเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลถอนความยินยอมในการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผย
ข้อมูลส่วนบุคคลและผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลไม่มีอานาจตามกฎหมายที่จะเก็บรวบรวม
ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลนั้นได้ต่อไป
• (3) เมื่อเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลคัดค้านการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล
ตามมาตรา 32 (1) และผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลไม่อาจปฏิเสธคาขอตามมาตรา 32 (1)
(ก) หรือ (ข) ได้ หรือเป็นการคัดค้านตามมาตรา 32 (2)
• (4) เมื่อข้อมูลส่วนบุคคลได้ถูกเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายตามที่
กาหนดไว้ในหมวดนี้
106
พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
• สิทธิขอให้ลบหรือทาลาย หรือทาให้ข้อมูลส่วนบุคคลเป็นข้อมูลที่ไม่สามารถ
ระบุตัวบุคคลที่เป็นเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลได้ (มาตรา 33)
• ความในวรรคหนึ่งมิให้นามาใช้บังคับกับการเก็บรักษาไว้เพื่อวัตถุประสงค์ใน
การใช้เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น การเก็บรักษาไว้เพื่อวัตถุประสงค์ตาม
มาตรา 24 (1) หรือ (4) หรือมาตรา 26 (5) (ก) หรือ (ข) การใช้เพื่อการก่อตั้ง
สิทธิเรียกร้องตามกฎหมาย การปฏิบัติตามหรือการใช้สิทธิเรียกร้องตาม
กฎหมาย หรือการยกขึ้นต่อสู้สิทธิเรียกร้องตามกฎหมาย หรือเพื่อการปฏิบัติ
ตามกฎหมาย
• ฯลฯ
107
พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
108
Myth #6
Myth: เดี๋ยวไปเขียน Privacy Policy
เป็นนโยบายภายในของหน่วยงาน
ก็จบละ
109
Myth #6
Myth: เดี๋ยวไปเขียน Privacy Policy เป็นนโยบาย
ภายในของหน่วยงาน ก็จบละ
Truth: PDPA ไม่ได้กาหนดว่าต้องเขียน
“Privacy Policy” ซึ่งเป็นนโยบายภายในองค์กร
แต่กาหนดเงื่อนไขอื่นๆ ซึ่งรวมถึง Privacy Notice
ที่ต้องแจ้งเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลตามมาตรา 23
(คหสต.: ไม่แนะนาให้เรียก Privacy Notice ที่แจ้ง
เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล ว่า “Privacy Policy”)
110
พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
• การเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคล
• การเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคล ให้เก็บรวบรวมได้เท่าที่จาเป็นภายใต้วัตถุประสงค์อัน
ชอบด้วยกฎหมายของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล (มาตรา 22)
• ในการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคล ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลจะต้องแจ้งให้เจ้าของ
ข้อมูลส่วนบุคคลทราบก่อนหรือในขณะเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลถึงรายละเอียด
ดังต่อไปนี้ เว้นแต่ได้ทราบอยู่แล้ว (มาตรา 23) (Privacy Notice)
• (1) วัตถุประสงค์ของการเก็บรวบรวมเพื่อการนาข้อมูลส่วนบุคคลไปใช้หรือเปิดเผย
ซึ่งรวมถึงวัตถุประสงค์ตามที่มาตรา 24 ให้อานาจในการเก็บรวบรวมได้โดยไม่ได้
รับความยินยอม
• (2) แจ้งให้ทราบถึงกรณีที่เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลต้องให้ข้อมูลส่วนบุคคลเพื่อ
ปฏิบัติตามกฎหมายหรือสัญญาหรือมีความจาเป็นต้องให้ข้อมูลส่วนบุคคลเพื่อเข้า
ทาสัญญา รวมทั้งแจ้งถึงผลกระทบที่เป็นไปได้จากการไม่ให้ข้อมูลส่วนบุคคล
• (3) ฯลฯ
111
พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
• การเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคล
• ในการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคล ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลจะต้องแจ้งให้เจ้าของ
ข้อมูลส่วนบุคคลทราบก่อนหรือในขณะเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลถึงรายละเอียด
ดังต่อไปนี้ เว้นแต่ได้ทราบอยู่แล้ว (มาตรา 23) (Privacy Notice)
• (3) ข้อมูลส่วนบุคคลที่จะมีการเก็บรวบรวมและระยะเวลาในการเก็บรวบรวมไว้
ทั้งนี้ ในกรณีที่ไม่สามารถกาหนดระยะเวลาดังกล่าวได้ชัดเจน ให้กาหนด
ระยะเวลาที่อาจคาดหมายได้ตามมาตรฐานของการเก็บรวบรวม
• (4) ประเภทของบุคคลหรือหน่วยงานซึ่งข้อมูลส่วนบุคคลที่เก็บรวบรวมอาจจะถูก
เปิดเผย
• (5) ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล สถานที่ติดต่อ และวิธีการติดต่อ ใน
กรณีที่มีตัวแทนหรือเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (DPO) ให้แจ้งด้วย
• (6) สิทธิของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลตามมาตรา 19 วรรคห้า, 30-34, 36, 73
112
พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
• หน้าที่ของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล (มาตรา 37)
• (1) จัดให้มีมาตรการรักษาความมั่นคงปลอดภัยที่เหมาะสม...ทั้งนี้ ให้เป็นไปตาม
มาตรฐานขั้นต่าที่คณะกรรมการประกาศกาหนด
• (2) ในกรณีที่ต้องให้ข้อมูลส่วนบุคคลแก่บุคคลหรือนิติบุคคลอื่นที่ไม่ใช่ผู้ควบคุมข้อมูลส่วน
บุคคล ต้องดาเนินการเพื่อป้องกันมิให้ผู้นั้นใช้หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลโดยปราศจาก
อานาจหรือโดยมิชอบ
• (3) จัดให้มีระบบการตรวจสอบเพื่อดาเนินการลบหรือทาลายข้อมูลส่วนบุคคลเมื่อพ้น
กาหนดระยะเวลาการเก็บรักษา หรือที่ไม่เกี่ยวข้องหรือเกินความจาเป็นตามวัตถุประสงค์
... หรือตามที่เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลร้องขอ หรือได้ถอนความยินยอม เว้นแต่ ฯลฯ
• (4) แจ้งเหตุการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคลแก่สานักงานโดยไม่ชักช้าภายใน 72 ชั่วโมงนับแต่
ทราบเหตุเท่าที่จะสามารถกระทาได้ เว้นแต่ ฯลฯ
• (5) ในกรณีที่เป็นผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลตามมาตรา 5 วรรคสอง ต้องแต่งตั้งตัวแทน
ของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลเป็นหนังสือซึ่งต้องอยู่ในราชอาณาจักร...
113
พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
• หน้าที่ของผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล (มาตรา 40)
• (1) ดาเนินการเกี่ยวกับการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลตามคาสั่งที่ได้รับ
จากผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลเท่านั้น เว้นแต่คาสั่งนั้นขัดต่อกฎหมายหรือบทบัญญัติใน
การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลตาม พ.ร.บ. นี้
• (2) จัดให้มีมาตรการรักษาความมั่นคงปลอดภัยที่เหมาะสม เพื่อป้องกันการสูญหาย
เข้าถึง ใช้ เปลี่ยนแปลง แก้ไข หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลโดยปราศจากอานาจหรือโดย
มิชอบ รวมทั้งแจ้งให้ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลทราบถึงเหตุการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคลที่
เกิดขึ้น
• (3) จัดทาและเก็บรักษาบันทึกรายการของกิจกรรมการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลไว้
ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการประกาศกาหนด
• ...การดาเนินงานตามหน้าที่ของผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลตามที่ได้รับมอบหมายจาก
ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลตามวรรคหนึ่ง ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลต้องจัดให้มีข้อตกลง
ระหว่างกันเพื่อควบคุมการดาเนินงานตามหน้าที่ของผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล...
114
พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
• เจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (Data Protection Officer: DPO) (มาตรา 41)
• ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลและผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลต้องจัดให้มีเจ้าหน้าที่
คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของตน ในกรณีดังต่อไปนี้
• (1) ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลหรือผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลเป็นหน่วยงานของรัฐ
ตามที่คณะกรรมการประกาศกาหนด
• (2) การดาเนินกิจกรรมของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลหรือผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล
ในการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผย จาเป็นต้องตรวจสอบข้อมูลส่วนบุคคลหรือระบบ
อย่างสม่าเสมอโดยเหตุที่มีข้อมูลส่วนบุคคลเป็นจานวนมากตามที่คณะกรรมการประกาศ
กาหนด
• (3) กิจกรรมหลักของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลหรือผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลเป็น
การเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลตามมาตรา 26
• ฯลฯ
115
Myth #7
Myth: ต่อไปนี้ ปฏิเสธการส่งข้อมูลให้กับ
หน่วยงานภายนอกต่าง ๆ ได้แล้วสินะ
116
Myth #7
Myth: ต่อไปนี้ ปฏิเสธการส่งข้อมูลให้กับ
หน่วยงานภายนอกต่าง ๆ ได้แล้วสินะ
Truth: ต้องพิจารณาตามฐานของ PDPA และ
กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง ว่ารองรับการส่งข้อมูล
โดยถูกต้องตามกฎหมายหรือไม่
117
Myth #8
Myth: หน่วยงานต้องไปแต่งตั้ง
Data Controller Officer และ
Data Processor Officer ตามกฎหมาย
118
Myth #8
Myth: หน่วยงานต้องไปแต่งตั้ง Data Controller Officer และ
Data Processor Officer ตามกฎหมาย
Truth: Data Controller คือบุคคล/นิติบุคคลที่เก็บรวบรวม ใช้ หรือ
เปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลในกิจการของตน โดยอัตโนมัติ ส่วน Data
Processor คือบุคคล/นิติบุคคลอื่น (ที่ไม่ใช่ Data Controller) ที่เก็บ
รวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลตามคาสั่งของ Data
Controller จึงไม่ต้องแต่งตั้ง แต่นิติบุคคลที่เป็น Data Controller
และ Data Processor มีหน้าที่ความรับผิดชอบตามกฎหมายโดย
อัตโนมัติ
119
พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
• บทนิยาม (มาตรา 6)
• “ข้อมูลส่วนบุคคล” หมายความว่า ข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลซึ่งทาให้สามารถระบุตัว
บุคคลนั้นได้ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม แต่ไม่รวมถึงข้อมูลของผู้ถึงแก่กรรม
โดยเฉพาะ
• “ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล” (Data Controller) หมายความว่า บุคคลหรือนิติ
บุคคลซึ่งมีอานาจหน้าที่ตัดสินใจเกี่ยวกับการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูล
ส่วนบุคคล
• “ผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล” (Data Processor) หมายความว่า บุคคลหรือนิติ
บุคคลซึ่งดาเนินการเกี่ยวกับการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลตาม
คาสั่งหรือในนามของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล ทั้งนี้ บุคคลหรือนิติบุคคลซึ่ง
ดาเนินการดังกล่าวไม่เป็นผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล
• “บุคคล” หมายความว่า บุคคลธรรมดา
• ฯลฯ
120
Myth #9
Myth: หน่วยงานจะแต่งตั้งคณะทางาน
Data Protection Officer (DPO) หลาย
คน เพื่อช่วยกันทางาน (หรือจะแบ่ง DPO
ทาหน้าที่แยกส่วนกัน)
121
Myth #9
Myth: หน่วยงานจะแต่งตั้งคณะทางาน Data Protection
Officer (DPO) หลายคน เพื่อช่วยกันทางาน (หรือจะแบ่ง DPO
ทาหน้าที่แยกส่วนกัน)
Truth: DPO เป็นบทบาทที่กฎหมายให้ Data Controller ที่
เข้าเงื่อนไขตาม PDPA (ซึ่งรวมหน่วยงานที่ process sensitive
data เช่น รพ. ด้วย) แต่งตั้งตัวบุคคล ดังนั้น นิติบุคคลที่เป็น
Data Controller จึงควรแต่งตั้ง DPO 1 คน (คนในหรือคน
นอกก็ได้ แต่ไม่ควรมีบทบาทที่มี conflict of interest เช่น IT,
HR, ผู้บริหาร) แต่สามารถมีทีมงานมาช่วยสนับสนุน DPO ได้
122
พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
• เจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (Data Protection Officer: DPO) (มาตรา 41)
• ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลและผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลต้องจัดให้มีเจ้าหน้าที่
คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของตน ในกรณีดังต่อไปนี้
• (1) ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลหรือผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลเป็นหน่วยงานของรัฐ
ตามที่คณะกรรมการประกาศกาหนด
• (2) การดาเนินกิจกรรมของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลหรือผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล
ในการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผย จาเป็นต้องตรวจสอบข้อมูลส่วนบุคคลหรือระบบ
อย่างสม่าเสมอโดยเหตุที่มีข้อมูลส่วนบุคคลเป็นจานวนมากตามที่คณะกรรมการประกาศ
กาหนด
• (3) กิจกรรมหลักของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลหรือผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลเป็น
การเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลตามมาตรา 26
• ฯลฯ
123
124
Myth #10
Myth: ต่อไปนี้ เอาข้อมูลไปฝากไว้บน
Cloud ต่างประเทศไม่ได้แล้ว
125
Myth #10
Myth: ต่อไปนี้ เอาข้อมูลไปฝากไว้บน Cloud
ต่างประเทศไม่ได้แล้ว
Truth: Cross-border Data Transfer ต้อง
พิจารณาว่า การนาข้อมูลไปต่างประเทศ เป็น
“Transit” หรือ “Transfer”
126
พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
• การส่งหรือโอนข้อมูลส่วนบุคคลไปยังต่างประเทศ (มาตรา 28)
• ในกรณีที่ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลส่งหรือโอนข้อมูลส่วนบุคคลไปยังต่างประเทศ
ประเทศปลายทางหรือองค์การระหว่างประเทศที่รับข้อมูลส่วนบุคคลต้องมีมาตรฐานการ
คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลที่เพียงพอ ทั้งนี้ ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์การให้ความคุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคลตามที่คณะกรรมการประกาศกาหนดตามมาตรา 16 (5) เว้นแต่
• (1) เป็นการปฏิบัติตามกฎหมาย
• (2) ได้รับความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลโดยได้แจ้งให้เจ้าของข้อมูลส่วน
บุคคลทราบถึงมาตรฐานการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลที่ไม่เพียงพอของประเทศ
ปลายทางหรือองค์การระหว่างประเทศที่รับข้อมูลส่วนบุคคลแล้ว
• (3) เป็นการจาเป็นเพื่อการปฏิบัติตามสัญญาซึ่งเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลเป็นคู่สัญญา
หรือเพื่อใช้ในการดาเนินการตามคาขอของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเข้าทา
สัญญานั้น
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)
พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)

More Related Content

What's hot

คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางSuradet Sriangkoon
 
Personal Data Protection Act (PDPA) and Enterprise Risk Management (February ...
Personal Data Protection Act (PDPA) and Enterprise Risk Management (February ...Personal Data Protection Act (PDPA) and Enterprise Risk Management (February ...
Personal Data Protection Act (PDPA) and Enterprise Risk Management (February ...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPrachaya Sriswang
 
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วนโครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วนMai Natthida
 
อจท. แผน 1 2 สุขศึกษาฯ ป.5 edit
อจท. แผน 1 2 สุขศึกษาฯ ป.5  editอจท. แผน 1 2 สุขศึกษาฯ ป.5  edit
อจท. แผน 1 2 สุขศึกษาฯ ป.5 editสุขใจ สุขกาย
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลังWan Ngamwongwan
 
Social Media (โซเชียลมีเดีย)
Social Media (โซเชียลมีเดีย)Social Media (โซเชียลมีเดีย)
Social Media (โซเชียลมีเดีย)Kanda Runapongsa Saikaew
 
Personal Data Protection Act & Cybersecurity Act (August 26, 2019)
Personal Data Protection Act & Cybersecurity Act (August 26, 2019)Personal Data Protection Act & Cybersecurity Act (August 26, 2019)
Personal Data Protection Act & Cybersecurity Act (August 26, 2019)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีKawinTheSinestron
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoonการบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemsupreechafkk
 
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติการวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติSambushi Kritsada
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซมPinutchaya Nakchumroon
 

What's hot (20)

คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
 
Personal Data Protection Act (PDPA) and Enterprise Risk Management (February ...
Personal Data Protection Act (PDPA) and Enterprise Risk Management (February ...Personal Data Protection Act (PDPA) and Enterprise Risk Management (February ...
Personal Data Protection Act (PDPA) and Enterprise Risk Management (February ...
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
 
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วนโครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
 
อจท. แผน 1 2 สุขศึกษาฯ ป.5 edit
อจท. แผน 1 2 สุขศึกษาฯ ป.5  editอจท. แผน 1 2 สุขศึกษาฯ ป.5  edit
อจท. แผน 1 2 สุขศึกษาฯ ป.5 edit
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลัง
 
Social Media (โซเชียลมีเดีย)
Social Media (โซเชียลมีเดีย)Social Media (โซเชียลมีเดีย)
Social Media (โซเชียลมีเดีย)
 
Personal Data Protection Act & Cybersecurity Act (August 26, 2019)
Personal Data Protection Act & Cybersecurity Act (August 26, 2019)Personal Data Protection Act & Cybersecurity Act (August 26, 2019)
Personal Data Protection Act & Cybersecurity Act (August 26, 2019)
 
PDPA Basics (March 13, 2021)
PDPA Basics (March 13, 2021)PDPA Basics (March 13, 2021)
PDPA Basics (March 13, 2021)
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
H4U
H4UH4U
H4U
 
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎีตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
ตัวอย่างโครงงานการจำลองทฤษฎี
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoonการบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
 
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติการวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
บท2
บท2บท2
บท2
 

Similar to พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)

Concepts & Key Principles of PDPA Application in the Organization and Experie...
Concepts & Key Principles of PDPA Application in the Organization and Experie...Concepts & Key Principles of PDPA Application in the Organization and Experie...
Concepts & Key Principles of PDPA Application in the Organization and Experie...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
PDPA in the Midst of Pandemic (August 26, 2021)
PDPA in the Midst of Pandemic (August 26, 2021)PDPA in the Midst of Pandemic (August 26, 2021)
PDPA in the Midst of Pandemic (August 26, 2021)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Laws on Personal Health Information (November 23, 2018)
Laws on Personal Health Information (November 23, 2018)Laws on Personal Health Information (November 23, 2018)
Laws on Personal Health Information (November 23, 2018)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Health Information Privacy & Security Management: Part 2 (November 18, 2019)
Health Information Privacy & Security Management: Part 2 (November 18, 2019)Health Information Privacy & Security Management: Part 2 (November 18, 2019)
Health Information Privacy & Security Management: Part 2 (November 18, 2019)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Patients, Users, and the Organization are Secure from Using the Hospital Info...
Patients, Users, and the Organization are Secure from Using the Hospital Info...Patients, Users, and the Organization are Secure from Using the Hospital Info...
Patients, Users, and the Organization are Secure from Using the Hospital Info...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
(Draft) Personal Data Protection Act (May 23, 2019)
(Draft) Personal Data Protection Act (May 23, 2019)(Draft) Personal Data Protection Act (May 23, 2019)
(Draft) Personal Data Protection Act (May 23, 2019)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Personal Data Protection Act & App Developers
Personal Data Protection Act & App DevelopersPersonal Data Protection Act & App Developers
Personal Data Protection Act & App DevelopersNawanan Theera-Ampornpunt
 
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Personal Data Protection Act & National Health Security Office (September 30,...
Personal Data Protection Act & National Health Security Office (September 30,...Personal Data Protection Act & National Health Security Office (September 30,...
Personal Data Protection Act & National Health Security Office (September 30,...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Health Data Privacy Law in Action: Balancing Privacy and Utilization in the R...
Health Data Privacy Law in Action: Balancing Privacy and Utilization in the R...Health Data Privacy Law in Action: Balancing Privacy and Utilization in the R...
Health Data Privacy Law in Action: Balancing Privacy and Utilization in the R...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Personal Data Protection Act (PDPA) for Health Care Service (January 29, 2021)
Personal Data Protection Act (PDPA) for Health Care Service (January 29, 2021)Personal Data Protection Act (PDPA) for Health Care Service (January 29, 2021)
Personal Data Protection Act (PDPA) for Health Care Service (January 29, 2021)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Preparing Employees and the Organization for PDPA and Other ICT Laws (Decembe...
Preparing Employees and the Organization for PDPA and Other ICT Laws (Decembe...Preparing Employees and the Organization for PDPA and Other ICT Laws (Decembe...
Preparing Employees and the Organization for PDPA and Other ICT Laws (Decembe...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Personal Data Protection Act in Healthcare (January 21, 2021)
Personal Data Protection Act in Healthcare (January 21, 2021)Personal Data Protection Act in Healthcare (January 21, 2021)
Personal Data Protection Act in Healthcare (January 21, 2021)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Cybersecurity Protection: Lessons Learned from the Healthcare Sector (October...
Cybersecurity Protection: Lessons Learned from the Healthcare Sector (October...Cybersecurity Protection: Lessons Learned from the Healthcare Sector (October...
Cybersecurity Protection: Lessons Learned from the Healthcare Sector (October...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Patient Data Privacy in Hospitals (July 12, 2018)
Patient Data Privacy in Hospitals (July 12, 2018)Patient Data Privacy in Hospitals (July 12, 2018)
Patient Data Privacy in Hospitals (July 12, 2018)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Personal Data Protection Act and Human Subjects Research and Patients' Health...
Personal Data Protection Act and Human Subjects Research and Patients' Health...Personal Data Protection Act and Human Subjects Research and Patients' Health...
Personal Data Protection Act and Human Subjects Research and Patients' Health...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Information Privacy Laws in Healthcare (September 13, 2020)
Information Privacy Laws in Healthcare (September 13, 2020)Information Privacy Laws in Healthcare (September 13, 2020)
Information Privacy Laws in Healthcare (September 13, 2020)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Overview of Information Security & Privacy (February 5, 2018)
Overview of Information Security & Privacy (February 5, 2018)Overview of Information Security & Privacy (February 5, 2018)
Overview of Information Security & Privacy (February 5, 2018)Nawanan Theera-Ampornpunt
 

Similar to พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022) (20)

Concepts & Key Principles of PDPA Application in the Organization and Experie...
Concepts & Key Principles of PDPA Application in the Organization and Experie...Concepts & Key Principles of PDPA Application in the Organization and Experie...
Concepts & Key Principles of PDPA Application in the Organization and Experie...
 
PDPA in the Midst of Pandemic (August 26, 2021)
PDPA in the Midst of Pandemic (August 26, 2021)PDPA in the Midst of Pandemic (August 26, 2021)
PDPA in the Midst of Pandemic (August 26, 2021)
 
Laws on Personal Health Information (November 23, 2018)
Laws on Personal Health Information (November 23, 2018)Laws on Personal Health Information (November 23, 2018)
Laws on Personal Health Information (November 23, 2018)
 
Health Information Privacy & Security Management: Part 2 (November 18, 2019)
Health Information Privacy & Security Management: Part 2 (November 18, 2019)Health Information Privacy & Security Management: Part 2 (November 18, 2019)
Health Information Privacy & Security Management: Part 2 (November 18, 2019)
 
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)
 
Patients, Users, and the Organization are Secure from Using the Hospital Info...
Patients, Users, and the Organization are Secure from Using the Hospital Info...Patients, Users, and the Organization are Secure from Using the Hospital Info...
Patients, Users, and the Organization are Secure from Using the Hospital Info...
 
(Draft) Personal Data Protection Act (May 23, 2019)
(Draft) Personal Data Protection Act (May 23, 2019)(Draft) Personal Data Protection Act (May 23, 2019)
(Draft) Personal Data Protection Act (May 23, 2019)
 
Personal Data Protection Act & App Developers
Personal Data Protection Act & App DevelopersPersonal Data Protection Act & App Developers
Personal Data Protection Act & App Developers
 
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
Updates on Privacy & Security Laws (November 26, 2021)
 
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)
 
Personal Data Protection Act & National Health Security Office (September 30,...
Personal Data Protection Act & National Health Security Office (September 30,...Personal Data Protection Act & National Health Security Office (September 30,...
Personal Data Protection Act & National Health Security Office (September 30,...
 
Health Data Privacy Law in Action: Balancing Privacy and Utilization in the R...
Health Data Privacy Law in Action: Balancing Privacy and Utilization in the R...Health Data Privacy Law in Action: Balancing Privacy and Utilization in the R...
Health Data Privacy Law in Action: Balancing Privacy and Utilization in the R...
 
Personal Data Protection Act (PDPA) for Health Care Service (January 29, 2021)
Personal Data Protection Act (PDPA) for Health Care Service (January 29, 2021)Personal Data Protection Act (PDPA) for Health Care Service (January 29, 2021)
Personal Data Protection Act (PDPA) for Health Care Service (January 29, 2021)
 
Preparing Employees and the Organization for PDPA and Other ICT Laws (Decembe...
Preparing Employees and the Organization for PDPA and Other ICT Laws (Decembe...Preparing Employees and the Organization for PDPA and Other ICT Laws (Decembe...
Preparing Employees and the Organization for PDPA and Other ICT Laws (Decembe...
 
Personal Data Protection Act in Healthcare (January 21, 2021)
Personal Data Protection Act in Healthcare (January 21, 2021)Personal Data Protection Act in Healthcare (January 21, 2021)
Personal Data Protection Act in Healthcare (January 21, 2021)
 
Cybersecurity Protection: Lessons Learned from the Healthcare Sector (October...
Cybersecurity Protection: Lessons Learned from the Healthcare Sector (October...Cybersecurity Protection: Lessons Learned from the Healthcare Sector (October...
Cybersecurity Protection: Lessons Learned from the Healthcare Sector (October...
 
Patient Data Privacy in Hospitals (July 12, 2018)
Patient Data Privacy in Hospitals (July 12, 2018)Patient Data Privacy in Hospitals (July 12, 2018)
Patient Data Privacy in Hospitals (July 12, 2018)
 
Personal Data Protection Act and Human Subjects Research and Patients' Health...
Personal Data Protection Act and Human Subjects Research and Patients' Health...Personal Data Protection Act and Human Subjects Research and Patients' Health...
Personal Data Protection Act and Human Subjects Research and Patients' Health...
 
Information Privacy Laws in Healthcare (September 13, 2020)
Information Privacy Laws in Healthcare (September 13, 2020)Information Privacy Laws in Healthcare (September 13, 2020)
Information Privacy Laws in Healthcare (September 13, 2020)
 
Overview of Information Security & Privacy (February 5, 2018)
Overview of Information Security & Privacy (February 5, 2018)Overview of Information Security & Privacy (February 5, 2018)
Overview of Information Security & Privacy (February 5, 2018)
 

More from Nawanan Theera-Ampornpunt

Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Telemedicine: A Health Informatician's Point of View
Telemedicine: A Health Informatician's Point of ViewTelemedicine: A Health Informatician's Point of View
Telemedicine: A Health Informatician's Point of ViewNawanan Theera-Ampornpunt
 
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Health Information Privacy and Security (November 8, 2021)
Health Information Privacy and Security (November 8, 2021)Health Information Privacy and Security (November 8, 2021)
Health Information Privacy and Security (November 8, 2021)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 2 (Octobe...
Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 2 (Octobe...Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 2 (Octobe...
Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 2 (Octobe...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 1 (Octobe...
Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 1 (Octobe...Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 1 (Octobe...
Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 1 (Octobe...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Clinical Information Systems and Electronic Health Records (October 18, 2021)
Clinical Information Systems and Electronic Health Records (October 18, 2021)Clinical Information Systems and Electronic Health Records (October 18, 2021)
Clinical Information Systems and Electronic Health Records (October 18, 2021)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
World Cafe Subgroup Workshop Summary on Health Information Exchange Platform ...
World Cafe Subgroup Workshop Summary on Health Information Exchange Platform ...World Cafe Subgroup Workshop Summary on Health Information Exchange Platform ...
World Cafe Subgroup Workshop Summary on Health Information Exchange Platform ...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Integrating Health Information for National Health Systems Reform (October 30...
Integrating Health Information for National Health Systems Reform (October 30...Integrating Health Information for National Health Systems Reform (October 30...
Integrating Health Information for National Health Systems Reform (October 30...Nawanan Theera-Ampornpunt
 

More from Nawanan Theera-Ampornpunt (20)

Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
 
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)
 
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)
 
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
 
Telemedicine: A Health Informatician's Point of View
Telemedicine: A Health Informatician's Point of ViewTelemedicine: A Health Informatician's Point of View
Telemedicine: A Health Informatician's Point of View
 
Meeting Management (March 2, 2022)
Meeting Management (March 2, 2022)Meeting Management (March 2, 2022)
Meeting Management (March 2, 2022)
 
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
 
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
 
Hospital Informatics (November 26, 2021)
Hospital Informatics (November 26, 2021)Hospital Informatics (November 26, 2021)
Hospital Informatics (November 26, 2021)
 
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
 
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
 
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
 
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
 
Health Information Privacy and Security (November 8, 2021)
Health Information Privacy and Security (November 8, 2021)Health Information Privacy and Security (November 8, 2021)
Health Information Privacy and Security (November 8, 2021)
 
Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 2 (Octobe...
Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 2 (Octobe...Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 2 (Octobe...
Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 2 (Octobe...
 
Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 1 (Octobe...
Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 1 (Octobe...Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 1 (Octobe...
Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 1 (Octobe...
 
Clinical Information Systems and Electronic Health Records (October 18, 2021)
Clinical Information Systems and Electronic Health Records (October 18, 2021)Clinical Information Systems and Electronic Health Records (October 18, 2021)
Clinical Information Systems and Electronic Health Records (October 18, 2021)
 
Cybersecurity (November 12, 2021)
Cybersecurity (November 12, 2021)Cybersecurity (November 12, 2021)
Cybersecurity (November 12, 2021)
 
World Cafe Subgroup Workshop Summary on Health Information Exchange Platform ...
World Cafe Subgroup Workshop Summary on Health Information Exchange Platform ...World Cafe Subgroup Workshop Summary on Health Information Exchange Platform ...
World Cafe Subgroup Workshop Summary on Health Information Exchange Platform ...
 
Integrating Health Information for National Health Systems Reform (October 30...
Integrating Health Information for National Health Systems Reform (October 30...Integrating Health Information for National Health Systems Reform (October 30...
Integrating Health Information for National Health Systems Reform (October 30...
 

พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) (January 21, 2022)

  • 1. 1 พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 นพ.นวนรรน ธีระอัมพรพันธุ์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 21 มกราคม 2565 www.SlideShare.net/Nawanan
  • 3. 3 Outline •ตัวอย่างกฎหมาย Information Privacy ก่อนยุค PDPA •ข้อจากัดของกฎหมาย Information Privacy ของไทย ก่อนยุค PDPA •Overview ของ พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA) •Myths & Truths about PDPA •PDPA & Enterprise Risk Management •Supplemental Slides on PDPA (for Reference Only)
  • 5. 5 Relevant Ethical Principles Autonomy (หลักเอกสิทธิ์/ความเป็นอิสระของบุคคล) Beneficence (หลักการรักษาประโยชน์สูงสุดของผู้ป่วย) Non-maleficence (หลักการไม่ทาอันตรายต่อผู้ป่วย) “First, Do No Harm.”
  • 6. 6 ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 323 ผู้ใดล่วงรู้หรือได้มาซึ่งความลับของผู้อื่นโดยเหตุที่เป็นเจ้าพนักงาน ผู้มีหน้าที่ โดยเหตุที่ประกอบอาชีพเป็นแพทย์ เภสัชกร คนจาหน่ายยา นางผดุง ครรภ์ ผู้พยาบาล...หรือโดยเหตุที่เป็นผู้ช่วยในการประกอบอาชีพนั้น แล้ว เปิดเผยความลับนั้นในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด ต้อง ระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ ผู้รับการศึกษาอบรมในอาชีพดังกล่าวในวรรคแรก เปิดเผยความลับของผู้อื่น อันตนได้ล่วงรู้หรือได้มาในการศึกษาอบรมนั้น ในประการที่น่าจะเกิดความ เสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใดต้องระวางโทษเช่นเดียวกัน
  • 7. 7 ข้อบังคับแพทยสภา ว่าด้วยการรักษาจริยธรรม แห่งวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. 2549 วิชาชีพอื่นๆ ด้านสุขภาพ และคณะกรรมการประกอบโรคศิลปะ มีข้อบังคับใน ทานองเดียวกัน
  • 9. 9 พรบ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 “เปิดเผยเป็นหลัก ปกปิดเป็นข้อยกเว้น” มาตรา 15 ข้อมูลข่าวสารของราชการที่มีลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้ หน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐอาจมีคาสั่งมิให้เปิดเผยก็ได้ โดยคานึงถึง การปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมาย...ประกอบกัน... (5) รายงานการแพทย์หรือข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลซึ่งการเปิดเผยจะเป็นการ รุกล้าสิทธิส่วนบุคคลโดยไม่สมควร (6) ข้อมูลข่าวสารของราชการที่มีกฎหมายคุ้มครองมิให้เปิดเผย...
  • 11. 11 พรบ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 มาตรา 7 ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล เป็นความลับส่วนบุคคล ผู้ใดจะ นาไปเปิดเผยในประการที่น่าจะทาให้บุคคลนั้นเสียหายไม่ได้ เว้นแต่การ เปิดเผยนั้นเป็นไปตามความประสงค์ของบุคคลนั้นโดยตรง หรือมีกฎหมาย เฉพาะบัญญัติให้ต้องเปิดเผย แต่ไม่ว่าในกรณีใด ๆ ผู้ใดจะอาศัยอานาจหรือ สิทธิตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการหรือกฎหมายอื่นเพื่อขอ เอกสารเกี่ยวกับข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคลที่ไม่ใช่ของตนไม่ได้
  • 15. 15 กฎหมายเฉพาะ • พรบ.สถานพยาบาล พ.ศ. 2541 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
  • 20. 20 ปัญหาของกฎหมาย Information Privacy ไทย ก่อนยุค PDPA • เป็น sectoral privacy law (เช่น healthcare sector) จึงอาจมี มาตรฐานแตกต่างจาก sector อื่น • หน่วยงานของรัฐ ถูกกากับโดย พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ ด้วย แต่ไม่รวมหน่วยงานภาคเอกชน ทาให้มีมาตรฐานแตกต่างกัน • ไม่มีบทบัญญัติบังคับให้หน่วยงานมีการจัดการเชิงระบบเพื่อคุ้มครอง Privacy อย่างชัดเจน
  • 21. 21 ปัญหาของกฎหมาย Information Privacy ไทย ก่อนยุค PDPA • กฎหมายในอดีตเขียนอานาจหน้าที่ในการต้องเปิดเผยข้อมูล สุขภาพของผู้ป่วยไม่ชัดเจน • ในสถานการณ์จริงบางกรณีไม่มีบทบัญญัติทางกฎหมายรองรับ?
  • 22. 22 ปัญหาของกฎหมาย Information Privacy ไทย ก่อนยุค PDPA • ปัญหาของ พรบ.สุขภาพแห่งชาติ มาตรา 7 • “ในประการที่น่าจะทาให้บุคคลนั้นเสียหาย” เป็น Subjective Value Judgment และขัดกับแนวคิด Privacy ทั่วไปที่มุ่ง คุ้มครอง Privacy ของข้อมูลสุขภาพ โดยไม่สนใจความเสียหาย • เงื่อนไขข้อยกเว้นไม่ครอบคลุม (ต่างจาก HIPAA ที่ระบุไว้ชัด มาก) • ไม่ให้อานาจในการออกข้อยกเว้น
  • 23. 23 ปัญหาของกฎหมาย Information Privacy ไทย ก่อนยุค PDPA • ปัญหาของ พรบ.สุขภาพแห่งชาติ มาตรา 7 • การให้ความยินยอมแทนโดยญาติ ไม่ชัดเจน และมีปัญหาในทางปฏิบัติ • ไม่ให้อานาจในการออกหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในทางปฏิบัติ (เช่น การ ขอความยินยอมของผู้ป่วย) • มุ่งเน้นเรื่องการเปิดเผยข้อมูล แต่ไม่รวมเรื่องการเก็บรวบรวมและการใช้ข้อมูล • ไม่ได้กาหนดหลักการของ Sensitive Personal Information • มุ่งเน้นเพียงด้าน Privacy แต่ไม่ได้กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขด้าน Security • ไม่ได้ Balance กับความเสี่ยงอีกด้าน คือ ให้ข้อมูลผู้ป่วยไม่ครบ เกิดความเสี่ยง ในการวินิจฉัยรักษาโรค • ขาดเรื่อง Breach Notification
  • 25. 25 TDPG 1.0 TDPG 2.0 TDPG 3.0 TDPG 3.1 for Investment Banking Activities https://www.law.chula.ac.th/wp-content/ uploads/2020/12/TDPG3.0-C5-20201208.pdf คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 26. 26 Timeline พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 • 6 ม.ค. 2558 ครม. อนุมัติหลักการร่างกฎหมายเพื่อรองรับการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัลของ ประเทศ จานวน 8 ฉบับ • ก.ค. 2558 สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณาร่างเสร็จแล้ว (เรื่องเสร็จที่ 1135/2558) • 16 พ.ย. 2559 กระทรวง DE รับฟังความคิดเห็นเป็นการทั่วไป ณ โรงแรมเอทัส ลุมพินี • 15-17 ส.ค. 2560 กระทรวง DE รับฟังความคิดเห็นโดยการจัดประชุม Focus Group ร่วมกับ หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาการ และภาคประชาสังคมที่เกี่ยวข้อง ณ กระทรวง DE • 24-30 ม.ค. 2561 กระทรวง DE รับฟังความคิดเห็นจากตัวแทนผู้มีส่วนได้เสีย ณ กระทรวง DE • 22 ม.ค. - 6 ก.พ. 2561 กระทรวง DE รับฟังความคิดเห็นผ่านเว็บไซต์และ e-mail • 22 พ.ค. 2561 ครม. อนุมัติหลักการร่าง พรบ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. .... • 5-20 ก.ย. 2561 กระทรวง DE รับฟังความคิดเห็นผ่านเว็บไซต์ (ประชุม 11 ก.ย. 2651) • 28 ธ.ค. 2561 สนช. รับหลักการในวาระที่ 1 • 27-28 ก.พ. 2562 สนช. เห็นชอบในวาระที่ 2-3 • 27 พ.ค. 2562 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา • 27 พ.ค. 2563 บทบัญญัติเรื่องสิทธิและหน้าที่ในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลมีผลใช้บังคับ (แต่ยกเว้นการบังคับใช้จนถึง 31 พ.ค. 2565)
  • 28. 28 พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 • หมวด 1 คณะกรรมการคุ้มครอง ข้อมูลส่วนบุคคล • หมวด 2 การคุ้มครองข้อมูลส่วน บุคคล • ส่วนที่ 1 บททั่วไป • ส่วนที่ 2 การเก็บรวบรวมข้อมูล ส่วนบุคคล • ส่วนที่ 3 การใช้หรือเปิดเผย ข้อมูลส่วนบุคคล • หมวด 3 สิทธิของเจ้าของข้อมูล ส่วนบุคคล • หมวด 4 สานักงานคณะกรรมการ คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล • หมวด 5 การร้องเรียน • หมวด 6 ความรับผิดทางแพ่ง • หมวด 7 บทกาหนดโทษ • ส่วนที่ 1 โทษอาญา • ส่วนที่ 2 โทษทางปกครอง • บทเฉพาะกาล
  • 30. 30 พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 ตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา • หมวด 1 คณะกรรมการคุ้มครองข้อมูล ส่วนบุคคล • หมวด 4 สานักงานคณะกรรมการ คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล • บทเฉพาะกาล (ยกเว้นมาตรา 95, 96) เมื่อพ้นกาหนดหนึ่งปีนับแต่วัน ประกาศในราชกิจจานุเบกษา • หมวด 2 การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล • หมวด 3 สิทธิของเจ้าของข้อมูลส่วน บุคคล • หมวด 5 การร้องเรียน • หมวด 6 ความรับผิดทางแพ่ง • หมวด 7 บทกาหนดโทษ • บทเฉพาะกาล เฉพาะมาตรา 95 (การ เก็บรวบรวมและใช้ข้อมูลส่วนบุคคลที่ เก็บรวบรวมไว้ก่อนวันที่ พ.ร.บ. นี้ใช้ บังคับ), มาตรา 96 (ระยะเวลาในการ ดาเนินการออกระเบียบ และประกาศ ตาม พ.ร.บ. นี้) ตั้งแต่ 27 พ.ค. 2563 แต่ยกเว้น การบังคับใช้จนถึง 31 พ.ค. 2565 ตั้งแต่ 28 พ.ค. 2562
  • 31. 31 พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 เก็บรวบรวม (Collection) ใช้ (Use) เปิดเผย (Disclosure) กระบวนการเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล ประมวลผล (Process) = เก็บรวบรวม + ใช้ + เปิดเผย (+ จัดเก็บ + วิเคราะห์ + ทาลาย + แสดงผล ฯลฯ)
  • 32. 32
  • 33. 33
  • 34. 34
  • 35. 35
  • 36. 36
  • 37. 37
  • 38. 38
  • 39. 39
  • 41. 41
  • 42. 42
  • 43. 43
  • 44. 44
  • 45. 45
  • 46. 46
  • 47. 47
  • 48. 48
  • 49. 49
  • 50. 50
  • 51. 51
  • 52. 52
  • 53. 53
  • 54. 54
  • 55. 55 พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 สิทธิขอเข้าถึงและขอรับสาเนาข้อมูล สิทธิขอรับข้อมูลส่วนบุคคลที่เกี่ยวกับตน สิทธิคัดค้านการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูล สิทธิขอให้ลบหรือทาลาย หรือทาให้ข้อมูลส่วนบุคคลเป็นข้อมูลที่ไม่สามารถระบุตัวบุคคลได้ สิทธิขอให้ระงับการใช้ข้อมูลส่วนบุคคล สิทธิร้องขอให้ดาเนินการให้ข้อมูลส่วนบุคคลถูกต้อง เป็นปัจจุบัน สมบูรณ์ และไม่ก่อให้เกิดความเข้าใจผิด
  • 56. 56
  • 57. 57
  • 58. 58
  • 64. 64 สรุปการบ้าน พ.ร.บ. PDPA • Identify ข้อมูลส่วนบุคคลต่างๆ ที่องค์กรเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผย ทั้ง ข้อมูลทั่วไป (มาตรา 24) และข้อมูล Sensitive Data (มาตรา 26) เช่น • ข้อมูลผู้ป่วย/ลูกค้า • ข้อมูลบุคลากร • ข้อมูล Research Subjects (ถ้ามี) • ข้อมูลนักศึกษา/Trainees • ผู้เข้าร่วมการประชุมวิชาการ/ฝึกอบรมระยะสั้น • วิทยากร/ที่ปรึกษาภายนอก • ข้อมูล vendors/suppliers • Website Visitors
  • 65. 65 สรุปการบ้าน พ.ร.บ. PDPA •สาหรับข้อมูลส่วนบุคคลต่างๆ ตามข้างต้น ให้ระบุ • แหล่งที่มา • วัตถุประสงค์การใช้งานทั้งหมด (Primary Uses & Secondary Uses) • Consent และ/หรืออานาจหน้าที่ตามกฎหมายในการใช้งานข้อมูลนั้น • กระบวนการทางาน เอกสาร และระบบสารสนเทศ ที่เก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลนั้นๆ • Data Processor ที่ใช้บริการ/เกี่ยวข้องกับข้อมูลนั้นๆ และเงื่อนไข/ มาตรฐาน Security & Privacy • สถานที่เก็บข้อมูล (ใน/นอกประเทศ) และมาตรฐานการคุ้มครองข้อมูล ส่วนบุคคล
  • 66. 66 สรุปการบ้าน พ.ร.บ. PDPA •สาหรับข้อมูลส่วนบุคคลต่างๆ ตามข้างต้น ให้พิจารณาว่า • ยังมีความจาเป็นต้องเก็บรวบรวม ใช้ และเปิดเผยข้อมูลเหล่านั้นหรือไม่ • ถ้าจาเป็น ให้พิจารณาว่า พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ม. 24 & ม. 26 (และ/หรือกฎหมายอื่น) ให้อานาจเก็บรวบรวม ใช้ และเปิดเผย โดยไม่ ต้องขอ Consent จากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลหรือไม่ อ้างอิงบทใด • หากไม่มี ให้ทบทวน Consent Form และ Consent Process ให้เป็นไป ตาม พ.ร.บ. PDPA (ม.19) • จัดทา Privacy Notice (ม. 23) • Make sure ว่า เป็นไปตามวัตถุประสงค์และเท่าที่จาเป็น (ม.21-22) • หากเก็บรวบรวมจากแหล่งอื่นที่ไม่ใช่เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล ให้พิจารณา ว่าสอดคล้องกับ ม. 25 หรือไม่
  • 67. 67 สรุปการบ้าน พ.ร.บ. PDPA •สาหรับข้อมูลส่วนบุคคลต่างๆ ตามข้างต้น ให้พิจารณาว่า • กรณีเฉพาะ • มีข้อมูลใดที่ต้องขอ Consent แต่เป็นข้อมูลของผู้เยาว์ ผู้ไร้ความสามารถ ผู้ เสมือนไร้ความสามารถ ให้ทบทวนกระบวนการและเอกสาร Consent (ม.20) • ข้อมูลที่ส่งหรือโอนไปยังต่างประเทศ สอดคล้องกับ ม.28 • ข้อมูลที่ได้เก็บรวบรวมไว้ก่อนวันที่ พ.ร.บ. นี้ใช้บังคับ สอดคล้องกับ ม.95 •Set ระบบการดาเนินการตามที่เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลร้องขอ • กระบวนการและเอกสารการถอน Consent (ม.19) • สิทธิของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล (ม.30-36) • การปรับกระบวนการทางานและระบบสารสนเทศให้บันทึกข้อมูลการใช้ และเปิดเผยข้อมูล
  • 68. 68 สรุปการบ้าน พ.ร.บ. PDPA • Set ระบบที่เป็นหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล • หากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลใช้สิทธิขอให้ลบหรือทาลาย หรือทาให้ข้อมูลส่วนบุคคลเป็น ข้อมูลที่ไม่สามารถระบุตัวบุคคลที่เป็นเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลได้ มีเงื่อนไขข้อยกเว้นที่ไม่ ต้องปฏิบัติหรือไม่ (ม.33) • การดาเนินการให้ข้อมูลส่วนบุคคลถูกต้อง เป็นปัจจุบัน สมบูรณ์ และไม่ก่อให้เกิดความ เข้าใจผิด (ม.35-36) • การปรับกระบวนการทางานและระบบสารสนเทศให้บันทึกรายการเพื่อให้เจ้าของข้อมูล ส่วนบุคคลและสานักงานสามารถตรวจสอบได้ (ม. 39) • หน้าที่ของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลตาม ม.37 • ย้า: ทบทวนมาตรการดูแล Cybersecurity ตาม ม.37 (1) • การจัดทาข้อตกลง การทาหน้าที่ & Compliance ของผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล ตาม ม.40 (Data Processor Agreement: DPA)
  • 69. 69 สรุปการบ้าน พ.ร.บ. PDPA •Set ระบบที่เป็นหน้าที่ความรับผิดชอบของผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล • หน้าที่ของผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลตาม ม.40 • ย้า: ทบทวนมาตรการดูแล Cybersecurity ตาม ม.40 (2) • การจัดทาข้อตกลง การทาหน้าที่ และความรับผิดชอบ (Liability & Indemnification) ระหว่างผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลและผู้ควบคุมข้อมูล ส่วนบุคคล (Data Processor Agreement: DPA) • การปรับกระบวนการทางานและระบบสารสนเทศให้บันทึกรายการสามารถ ตรวจสอบได้ (ม. 40)
  • 70. 70 สรุปการบ้าน พ.ร.บ. PDPA • แต่งตั้งเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (Data Protection Officer: DPO) (ม.41) และกากับให้ทาหน้าที่ตาม ม.42 • แจ้งเหตุการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคลแก่สานักงานคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูล ส่วนบุคคลโดยไม่ชักช้าภายใน 72 ชั่วโมงนับแต่ทราบเหตุเท่าที่จะสามารถ กระทาได้ เว้นแต่การละเมิดดังกล่าวไม่มีความเสี่ยงที่จะมีผลกระทบต่อสิทธิ และเสรีภาพของบุคคล ในกรณีที่การละเมิดมีความเสี่ยงสูงที่จะมีผลกระทบต่อ สิทธิและเสรีภาพของบุคคล ให้แจ้งเหตุการละเมิดให้เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล ทราบพร้อมกับแนวทางการเยียวยาโดยไม่ชักช้าด้วย (ม.37(4)) • ทบทวนการดาเนินการให้ Comply ตาม พ.ร.บ. ทั้งฉบับ (รวมทั้ง Compliance ตาม พ.ร.บ. อื่นๆ)
  • 71. 71 Common Healthcare Use Cases • Patient Care (Including Referrals) • Emergency/Life-Saving • Non-Emergency • Occupational Health & Medicine / Welfare • Healthcare Service Required by Law • Elective • Claims & Reimbursements / Public & Private Health Insurance • Disease Control • Disaster Management • Public Health / Health Systems Management • Health Professionals Training • Quality Improvement/Audit/Quality Survey/Accreditation • Human Subjects Research • Medico-Legal & Ethical/Disciplinary/Investigative Uses • Public Safety & National Security
  • 72. 72 Myths & Truths about PDPA
  • 73. 73 Myth #1 Myth: จะทา PDPA Compliance ไปทาไม ในเมื่อ ทุกวันนี้ก็ถูกผู้รับบริการฟ้องตลอดอยู่แล้ว
  • 74. 74 Myth #1 Myth: จะทา PDPA Compliance ไปทาไม ในเมื่อ ทุกวันนี้ก็ถูกผู้รับบริการฟ้องตลอดอยู่แล้ว Truth: PDPA มีบทลงโทษทั้งทางแพ่ง อาญา และ โทษทางปกครอง และหากเป็นข้อมูล sensitive data ตามมาตรา 26 มีโทษทางอาญา ซึ่งรวมโทษ จาคุกด้วย
  • 75. 75
  • 76. 76
  • 77. 77
  • 78. 78 Myth #2 Myth: บาง Sector เช่น Healthcare มีกฎหมายเฉพาะเรื่อง Privacy อยู่แล้ว ไม่ต้องทาอะไร เพิ่มเติม
  • 79. 79 Myth #2 Myth: บาง Sector เช่น Healthcare มีกฎหมาย เฉพาะเรื่อง Privacy อยู่แล้ว ไม่ต้องทาอะไรเพิ่มเติม Truth: PDPA มีบทบัญญัติเรื่องการคุ้มครองข้อมูล ส่วนบุคคล สิทธิของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล การ ร้องเรียน และกลไกต่างๆ เพิ่มเติมจากกฎหมายใน Healthcare ที่ไม่ได้ลงรายละเอียด แต่เนื้อหาไม่ได้ ขัดแย้งกัน
  • 80. 80 พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 • ความสัมพันธ์กับกฎหมายอื่น (มาตรา 3) • ในกรณีที่มีกฎหมายว่าด้วยการใดบัญญัติเกี่ยวกับการคุ้มครอง ข้อมูลส่วนบุคคลในลักษณะใด กิจการใด หรือหน่วยงานใดไว้ โดยเฉพาะแล้ว ให้บังคับตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายว่าด้วยการ นั้น เว้นแต่ • (1) บทบัญญัติเกี่ยวกับการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วน บุคคล และบทบัญญัติเกี่ยวกับสิทธิของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล รวมทั้งบทกาหนดโทษที่เกี่ยวข้อง ให้บังคับตามบทบัญญัติแห่ง พ.ร.บ. นี้เป็นการเพิ่มเติม ไม่ว่าจะซ้ากับบทบัญญัติแห่งกฎหมายว่า ด้วยการนั้นหรือไม่ก็ตาม • (2) ฯลฯ
  • 81. 81 พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 • ความสัมพันธ์กับกฎหมายอื่น (มาตรา 3) • ในกรณีที่มีกฎหมายว่าด้วยการใดบัญญัติเกี่ยวกับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลใน ลักษณะใด กิจการใด หรือหน่วยงานใดไว้โดยเฉพาะแล้ว ให้บังคับตามบทบัญญัติ แห่งกฎหมายว่าด้วยการนั้น เว้นแต่ • (1) ฯลฯ • (2) บทบัญญัติเกี่ยวกับการร้องเรียน บทบัญญัติที่ให้อานาจแก่คณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญ ออกคาสั่งเพื่อคุ้มครองเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล และบทบัญญัติเกี่ยวกับอานาจหน้าที่ของ พนักงานเจ้าหน้าที่ รวมทั้งบทกาหนดโทษที่เกี่ยวข้อง ให้บังคับตามบทบัญญัติแห่ง พ.ร.บ. นี้ ในกรณีดังต่อไปนี้ • (ก) ในกรณีที่กฎหมายว่าด้วยการนั้นไม่มีบทบัญญัติเกี่ยวกับการร้องเรียน • (ข) ในกรณีที่กฎหมายว่าด้วยการนั้นมีบทบัญญัติที่ให้อานาจแก่เจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจพิจารณาเรื่อง ร้องเรียนตามกฎหมายดังกล่าวออกคาสั่งเพื่อคุ้มครองเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล แต่ไม่เพียงพอเท่ากับ อานาจของคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญตาม พ.ร.บ. นี้และเจ้าหน้าที่ผู้มีอานาจตามกฎหมายดังกล่าว ร้องขอต่อคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญหรือเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลผู้เสียหายยื่นคาร้องเรียนต่อ คณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญตาม พ.ร.บ. นี้ แล้วแต่กรณี
  • 82. 82 พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 • ข้อยกเว้นการใช้บังคับ (มาตรา 4) • พ.ร.บ.นี้ไม่ใช้บังคับแก่ • (1) การเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลของบุคคลที่ทาการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลเพื่อ ประโยชน์ส่วนตนหรือเพื่อกิจกรรมในครอบครัวของบุคคลนั้นเท่านั้น • (2) การดาเนินการของหน่วยงานของรัฐที่มีหน้าที่ในการรักษาความมั่นคงของรัฐ ซึ่งรวมถึงความมั่นคง ทางการคลังของรัฐ หรือการรักษาความปลอดภัยของประชาชน รวมทั้งหน้าที่เกี่ยวกับการป้องกันและ ปราบปรามการฟอกเงิน นิติวิทยาศาสตร์ หรือการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ • (3) บุคคลหรือนิติบุคคลซึ่งใช้หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลที่ทาการเก็บรวบรวมไว้เฉพาะเพื่อกิจการ สื่อมวลชน งานศิลปกรรม หรืองานวรรณกรรมอันเป็นไปตามจริยธรรมแห่งการประกอบวิชาชีพหรือเป็น ประโยชน์สาธารณะเท่านั้น • (4) สภาผู้แทนราษฎร วุฒิสภา และรัฐสภา รวมถึงคณะกรรมาธิการที่แต่งตั้งโดยสภาดังกล่าว ซึ่งเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลในการพิจารณาตามหน้าที่และอานาจ... • (5) การพิจารณาพิพากษาคดีของศาลและการดาเนินงานของเจ้าหน้าที่ในกระบวนการพิจารณาคดี การ บังคับคดี และการวางทรัพย์ รวมทั้งการดาเนินงานตามกระบวนการยุติธรรมทางอาญา • (6) การดาเนินการกับข้อมูลของบริษัทข้อมูลเครดิตและสมาชิกตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบธุรกิจข้อมูล เครดิต
  • 83. 83 พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 • ข้อยกเว้นการใช้บังคับ (มาตรา 4) • การยกเว้นไม่ให้นาบทบัญญัติแห่ง พ.ร.บ. นี้ทั้งหมดหรือแต่บางส่วนมาใช้บังคับแก่ ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลในลักษณะใด กิจการใด หรือหน่วยงานใดทานอง เดียวกับผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลตามวรรคหนึ่ง หรือเพื่อประโยชน์สาธารณะอื่น ใด ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา • ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลตามวรรคหนึ่ง (2) (3) (4) (5) และ (6) และผู้ควบคุม ข้อมูลส่วนบุคคลของหน่วยงานที่ได้รับยกเว้นตามที่กาหนดในพระราชกฤษฎีกา ตามวรรคสอง ต้องจัดให้มีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคลให้ เป็นไปตามมาตรฐานด้วย
  • 84. 84 Myth #3 Myth: หน่วยงานของเราดูแลเรื่อง cybersecurity ดีอยู่แล้ว ไม่ต้องทาอะไรเพิ่มเติม
  • 85. 85 Myth #3 Myth: หน่วยงานของเราดูแลเรื่อง cybersecurity ดีอยู่แล้ว ไม่ต้องทาอะไรเพิ่มเติม Truth: security กับ privacy เป็นการมองคนละ มุมกัน แต่สัมพันธ์กัน แม้มีมาตรการ security ดีแล้ว แต่เรื่องการเคารพ privacy & protect personal data โดยเก็บรวบรวม ใช้ เปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล อย่างเหมาะสม ก็ยังสาคัญ
  • 87. 87 ▪Privacy: “The ability of an individual or group to seclude themselves or information about themselves and thereby reveal themselves selectively.” (Wikipedia) ▪Security: “The degree of protection to safeguard ... person against danger, damage, loss, and crime.” (Wikipedia) ▪Information Security: “Protecting information and information systems from unauthorized access, use, disclosure, disruption, modification, perusal, inspection, recording or destruction” (Wikipedia) Security & Privacy
  • 89. 89 Myth #4 Myth: ก็แค่จับผู้รับบริการ (ยกเว้น กรณี emergency) มาเซ็น consent ให้หมด ก็จบแล้ว
  • 90. 90 Myth #4 Myth: ก็แค่จับผู้รับบริการ (ยกเว้นกรณี emergency) มาเซ็น consent ให้หมด ก็จบแล้ว Truth: Consent ต้องทาโดยอิสระ ไม่มีผลต่อการ ให้บริการ ต้องถอนความยินยอมได้ และเมื่อถอน ความยินยอม สามารถขอลบข้อมูลได้ “Consent ควรเป็น Last Resort เมื่อใช้ฐานทางกฎหมายอื่นไม่ได้”
  • 91. 91 พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 • ความยินยอม (มาตรา 19) • ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลจะกระทาการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลไม่ได้หาก เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลไม่ได้ให้ความยินยอมไว้ก่อนหรือในขณะนั้น เว้นแต่บทบัญญัติแห่ง พ.ร.บ.นี้ หรือกฎหมายอื่นบัญญัติให้กระทาได้ • การขอความยินยอมต้องทาโดยชัดแจ้ง เป็นหนังสือหรือทาโดยผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ เว้นแต่โดย สภาพไม่อาจขอความยินยอมด้วยวิธีการดังกล่าวได้ • ในการขอความยินยอม... ต้องแจ้งวัตถุประสงค์ของการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล ไปด้วย และการขอความยินยอมนั้นต้องแยกส่วนออกจากข้อความอื่นอย่างชัดเจน มีแบบหรือ ข้อความที่เข้าถึงได้ง่ายและเข้าใจได้ รวมทั้งใช้ภาษาที่อ่านง่าย และไม่เป็นการหลอกลวงหรือทาให้ เข้าใจผิดในวัตถุประสงค์ดังกล่าว... • ในการขอความยินยอม...ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลต้องคานึงอย่างถึงที่สุดในความเป็นอิสระของ เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลในการให้ความยินยอม ทั้งนี้ ในการเข้าทาสัญญาซึ่งรวมถึงการให้บริการใด ๆ ต้องไม่มีเงื่อนไขในการให้ความยินยอมเพื่อเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลที่ไม่มีความ จาเป็นหรือเกี่ยวข้องสาหรับการเข้าทาสัญญาซึ่งรวมถึงการให้บริการนั้น ๆ
  • 92. 92 พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 • ความยินยอม (มาตรา 19) • เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลจะถอนความยินยอมเสียเมื่อใดก็ได้โดยจะต้องถอนความ ยินยอมโดยกฎหมายหรือสัญญาที่ให้ประโยชน์แก่เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล ทั้งนี้ การ ถอนความยินยอมย่อมไม่ส่งผลกระทบต่อการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วน บุคคลที่เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลได้ให้ความยินยอมไปแล้วโดยชอบตามที่กาหนดไว้ใน หมวดนี้ • ในกรณีที่การถอนความยินยอมส่งผลกระทบต่อเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลในเรื่องใด ผู้ ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลต้องแจ้งให้เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลทราบถึงผลกระทบจากการ ถอนความยินยอมนั้น • การขอความยินยอมที่ไม่เป็นไปตามที่กาหนด ไม่มีผลผูกพันเจ้าของข้อมูลส่วนบุคค และไม่ทาให้ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลสามารถทาการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผย ข้อมูลส่วนบุคคลได้
  • 93. 93 พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 • สิทธิขอให้ลบหรือทาลาย หรือทาให้ข้อมูลส่วนบุคคลเป็นข้อมูลที่ไม่สามารถระบุตัวบุคคลที่ เป็นเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลได้ (มาตรา 33) • (1) เมื่อข้อมูลส่วนบุคคลหมดความจาเป็นในการเก็บรักษาไว้ตามวัตถุประสงค์ในการเก็บ รวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล • (2) เมื่อเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลถอนความยินยอมในการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผย ข้อมูลส่วนบุคคลและผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลไม่มีอานาจตามกฎหมายที่จะเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลนั้นได้ต่อไป • (3) เมื่อเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลคัดค้านการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล ตามมาตรา 32 (1) และผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลไม่อาจปฏิเสธคาขอตามมาตรา 32 (1) (ก) หรือ (ข) ได้ หรือเป็นการคัดค้านตามมาตรา 32 (2) • (4) เมื่อข้อมูลส่วนบุคคลได้ถูกเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายตามที่ กาหนดไว้ในหมวดนี้
  • 94. 94 พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 • สิทธิขอให้ลบหรือทาลาย หรือทาให้ข้อมูลส่วนบุคคลเป็นข้อมูลที่ไม่สามารถ ระบุตัวบุคคลที่เป็นเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลได้ (มาตรา 33) • ความในวรรคหนึ่งมิให้นามาใช้บังคับกับการเก็บรักษาไว้เพื่อวัตถุประสงค์ใน การใช้เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น การเก็บรักษาไว้เพื่อวัตถุประสงค์ตาม มาตรา 24 (1) หรือ (4) หรือมาตรา 26 (5) (ก) หรือ (ข) การใช้เพื่อการก่อตั้ง สิทธิเรียกร้องตามกฎหมาย การปฏิบัติตามหรือการใช้สิทธิเรียกร้องตาม กฎหมาย หรือการยกขึ้นต่อสู้สิทธิเรียกร้องตามกฎหมาย หรือเพื่อการปฏิบัติ ตามกฎหมาย • ฯลฯ
  • 95. 95 พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 • ข้อยกเว้นการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลโดยไม่ได้รับความยินยอม (มาตรา 24) • (1) เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่เกี่ยวกับการจัดทาเอกสารประวัติศาสตร์หรือจดหมายเหตุเพื่อประโยชน์ สาธารณะ หรือที่เกี่ยวกับการศึกษาวิจัยหรือสถิติซึ่งได้จัดให้มีมาตรการปกป้องที่เหมาะสมเพื่อคุ้มครอง สิทธิและเสรีภาพของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล ทั้งนี้ ตามที่คณะกรรมการประกาศกาหนด • (2) เพื่อป้องกันหรือระงับอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย หรือสุขภาพของบุคคล • (3) เป็นการจาเป็นเพื่อการปฏิบัติตามสัญญาซึ่งเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลเป็นคู่สัญญาหรือเพื่อใช้ในการ ดาเนินการตามคาขอของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเข้าทาสัญญานั้น • (4) เป็นการจาเป็นเพื่อการปฏิบัติหน้าที่ในการดาเนินภารกิจเพื่อประโยชน์สาธารณะของผู้ควบคุมข้อมูล ส่วนบุคคล หรือปฏิบัติหน้าที่ในการใช้อานาจรัฐที่ได้มอบให้แก่ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล • (5) เป็นการจาเป็นเพื่อประโยชน์โดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลหรือของบุคคลหรือ นิติบุคคลอื่นที่ไม่ใช่ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล เว้นแต่ประโยชน์ดังกล่าวมีความสาคัญน้อยกว่าสิทธิขั้น พื้นฐานในข้อมูลส่วนบุคคลของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล • (6) เป็นการปฏิบัติตามกฎหมายของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล
  • 96. 96 พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 • การเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลที่เป็น Sensitive Data โดยไม่ได้รับความ ยินยอมโดยชัดแจ้ง (มาตรา 26) • ข้อมูลส่วนบุคคลเกี่ยวกับเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ ความคิดเห็นทางการเมือง ความ เชื่อในลัทธิ ศาสนาหรือปรัชญา พฤติกรรมทางเพศ ประวัติอาชญากรรม ข้อมูลสุขภาพ ความพิการ ข้อมูลสหภาพแรงงาน ข้อมูลพันธุกรรม ข้อมูล ชีวภาพ หรือข้อมูลอื่นใดซึ่งกระทบต่อเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลในทานอง เดียวกันตามที่คณะกรรมการประกาศกาหนด
  • 97. 97 พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 • ข้อยกเว้นการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลที่เป็น Sensitive Data โดยไม่ได้ รับความยินยอมโดยชัดแจ้ง (มาตรา 26) • (1) เพื่อป้องกันหรือระงับอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย หรือสุขภาพของบุคคล ซึ่งเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลไม่สามารถให้ความยินยอมได้ ไม่ว่าด้วยเหตุใด ก็ตาม • (2) เป็นการดาเนินกิจกรรมโดยชอบด้วยกฎหมายที่มีการคุ้มครองที่เหมาะสม ของมูลนิธิ สมาคม หรือองค์กรที่ไม่แสวงหากาไรที่มีวัตถุประสงค์เกี่ยวกับ การเมือง ศาสนา ปรัชญา หรือสหภาพแรงงานให้แก่สมาชิก ผู้ซึ่งเคยเป็น สมาชิก หรือผู้ซึ่งมีการติดต่ออย่างสม่าเสมอกับมูลนิธิ สมาคม หรือองค์กรที่ไม่ แสวงหากาไรตามวัตถุประสงค์ดังกล่าวโดยไม่ได้เปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลนั้น ออกไปภายนอกมูลนิธิ สมาคม หรือองค์กรที่ไม่แสวงหากาไรนั้น
  • 98. 98 พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 • ข้อยกเว้นการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลที่เป็น Sensitive Data โดยไม่ได้ รับความยินยอมโดยชัดแจ้ง (มาตรา 26) • (3) เป็นข้อมูลที่เปิดเผยต่อสาธารณะด้วยความยินยอมโดยชัดแจ้งของเจ้าของ ข้อมูลส่วนบุคคล • (4) เป็นการจาเป็นเพื่อการก่อตั้งสิทธิเรียกร้องตามกฎหมาย การปฏิบัติตาม หรือการใช้สิทธิเรียกร้องตามกฎหมาย หรือการยกขึ้นต่อสู้สิทธิเรียกร้องตาม กฎหมาย
  • 99. 99 พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 • ข้อยกเว้นการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลที่เป็น Sensitive Data โดยไม่ได้ รับความยินยอมโดยชัดแจ้ง (มาตรา 26) • (5) เป็นการจาเป็นในการปฏิบัติตามกฎหมายเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ เกี่ยวกับ • (ก) เวชศาสตร์ป้องกันหรืออาชีวเวชศาสตร์ การประเมินความสามารถในการทางาน ของลูกจ้าง การวินิจฉัยโรคทางการแพทย์ การให้บริการด้านสุขภาพหรือด้านสังคม การรักษาทางการแพทย์ การจัดการด้านสุขภาพ หรือระบบและการให้บริการด้าน สังคมสงเคราะห์ ทั้งนี้ ในกรณีที่ไม่ใช่การปฏิบัติตามกฎหมายและข้อมูลส่วนบุคคล นั้นอยู่ในความรับผิดชอบของผู้ประกอบอาชีพหรือวิชาชีพหรือผู้มีหน้าที่รักษาข้อมูล ส่วนบุคคลนั้นไว้เป็นความลับตามกฎหมาย ต้องเป็นการปฏิบัติตามสัญญาระหว่าง เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลกับผู้ประกอบวิชาชีพทางการแพทย์
  • 100. 100 พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 • ข้อยกเว้นการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลที่เป็น Sensitive Data โดยไม่ได้ รับความยินยอมโดยชัดแจ้ง (มาตรา 26) • (5) เป็นการจาเป็นในการปฏิบัติตามกฎหมายเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ เกี่ยวกับ • (ข) ประโยชน์สาธารณะด้านการสาธารณสุข เช่น การป้องกันด้านสุขภาพจาก โรคติดต่ออันตรายหรือโรคระบาดที่อาจติดต่อหรือแพร่เข้ามาในราชอาณาจักร หรือ การควบคุมมาตรฐานหรือคุณภาพของยา เวชภัณฑ์ หรือเครื่องมือแพทย์ ซึ่งได้จัดให้ มีมาตรการที่เหมาะสมและเจาะจงเพื่อคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของเจ้าของข้อมูล ส่วนบุคคลโดยเฉพาะการรักษาความลับของข้อมูลส่วนบุคคลตามหน้าที่หรือตาม จริยธรรมแห่งวิชาชีพ
  • 101. 101 พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 • ข้อยกเว้นการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลที่เป็น Sensitive Data โดยไม่ได้ รับความยินยอมโดยชัดแจ้ง (มาตรา 26) • (5) เป็นการจาเป็นในการปฏิบัติตามกฎหมายเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ เกี่ยวกับ • (ค) การคุ้มครองแรงงาน การประกันสังคม หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สวัสดิการ เกี่ยวกับการรักษาพยาบาลของผู้มีสิทธิตามกฎหมาย การคุ้มครองผู้ประสบภัยจาก รถ หรือการคุ้มครองทางสังคม ซึ่งการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลเป็นสิ่งจาเป็นใน การปฏิบัติตามสิทธิหรือหน้าที่ของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลหรือเจ้าของข้อมูลส่วน บุคคล โดยได้จัดให้มีมาตรการที่เหมาะสมเพื่อคุ้มครองสิทธิขั้นพื้นฐานและประโยชน์ ของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล
  • 102. 102 พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 • ข้อยกเว้นการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลที่เป็น Sensitive Data โดยไม่ได้ รับความยินยอมโดยชัดแจ้ง (มาตรา 26) • (5) เป็นการจาเป็นในการปฏิบัติตามกฎหมายเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ เกี่ยวกับ • (ง) การศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตร์ ประวัติศาสตร์ หรือสถิติ หรือประโยชน์ สาธารณะอื่น ทั้งนี้ ต้องกระทาเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าวเพียงเท่าที่จาเป็น เท่านั้น และได้จัดให้มีมาตรการที่เหมาะสมเพื่อคุ้มครองสิทธิขั้นพื้นฐานและ ประโยชน์ของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลตามที่คณะกรรมการประกาศกาหนด • (จ) ประโยชน์สาธารณะที่สาคัญ โดยได้จัดให้มีมาตรการที่เหมาะสมเพื่อคุ้มครอง สิทธิขั้นพื้นฐานและประโยชน์ของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล
  • 104. 104 Myth #5 Myth: ถ้าเขาจะขอลบ อยู่เฉยๆ ก็ต้องลบ Truth: หากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลขอให้ลบ ข้อมูล จะต้องพิจารณาตามข้อยกเว้นใน PDPA หากไม่เข้าข้อยกเว้นที่อาจปฏิเสธได้ ก็ต้องลบ
  • 105. 105 พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 • สิทธิขอให้ลบหรือทาลาย หรือทาให้ข้อมูลส่วนบุคคลเป็นข้อมูลที่ไม่สามารถระบุตัวบุคคลที่ เป็นเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลได้ (มาตรา 33) • (1) เมื่อข้อมูลส่วนบุคคลหมดความจาเป็นในการเก็บรักษาไว้ตามวัตถุประสงค์ในการเก็บ รวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล • (2) เมื่อเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลถอนความยินยอมในการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผย ข้อมูลส่วนบุคคลและผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลไม่มีอานาจตามกฎหมายที่จะเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลนั้นได้ต่อไป • (3) เมื่อเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลคัดค้านการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล ตามมาตรา 32 (1) และผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลไม่อาจปฏิเสธคาขอตามมาตรา 32 (1) (ก) หรือ (ข) ได้ หรือเป็นการคัดค้านตามมาตรา 32 (2) • (4) เมื่อข้อมูลส่วนบุคคลได้ถูกเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายตามที่ กาหนดไว้ในหมวดนี้
  • 106. 106 พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 • สิทธิขอให้ลบหรือทาลาย หรือทาให้ข้อมูลส่วนบุคคลเป็นข้อมูลที่ไม่สามารถ ระบุตัวบุคคลที่เป็นเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลได้ (มาตรา 33) • ความในวรรคหนึ่งมิให้นามาใช้บังคับกับการเก็บรักษาไว้เพื่อวัตถุประสงค์ใน การใช้เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น การเก็บรักษาไว้เพื่อวัตถุประสงค์ตาม มาตรา 24 (1) หรือ (4) หรือมาตรา 26 (5) (ก) หรือ (ข) การใช้เพื่อการก่อตั้ง สิทธิเรียกร้องตามกฎหมาย การปฏิบัติตามหรือการใช้สิทธิเรียกร้องตาม กฎหมาย หรือการยกขึ้นต่อสู้สิทธิเรียกร้องตามกฎหมาย หรือเพื่อการปฏิบัติ ตามกฎหมาย • ฯลฯ
  • 108. 108 Myth #6 Myth: เดี๋ยวไปเขียน Privacy Policy เป็นนโยบายภายในของหน่วยงาน ก็จบละ
  • 109. 109 Myth #6 Myth: เดี๋ยวไปเขียน Privacy Policy เป็นนโยบาย ภายในของหน่วยงาน ก็จบละ Truth: PDPA ไม่ได้กาหนดว่าต้องเขียน “Privacy Policy” ซึ่งเป็นนโยบายภายในองค์กร แต่กาหนดเงื่อนไขอื่นๆ ซึ่งรวมถึง Privacy Notice ที่ต้องแจ้งเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลตามมาตรา 23 (คหสต.: ไม่แนะนาให้เรียก Privacy Notice ที่แจ้ง เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล ว่า “Privacy Policy”)
  • 110. 110 พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 • การเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคล • การเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคล ให้เก็บรวบรวมได้เท่าที่จาเป็นภายใต้วัตถุประสงค์อัน ชอบด้วยกฎหมายของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล (มาตรา 22) • ในการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคล ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลจะต้องแจ้งให้เจ้าของ ข้อมูลส่วนบุคคลทราบก่อนหรือในขณะเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลถึงรายละเอียด ดังต่อไปนี้ เว้นแต่ได้ทราบอยู่แล้ว (มาตรา 23) (Privacy Notice) • (1) วัตถุประสงค์ของการเก็บรวบรวมเพื่อการนาข้อมูลส่วนบุคคลไปใช้หรือเปิดเผย ซึ่งรวมถึงวัตถุประสงค์ตามที่มาตรา 24 ให้อานาจในการเก็บรวบรวมได้โดยไม่ได้ รับความยินยอม • (2) แจ้งให้ทราบถึงกรณีที่เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลต้องให้ข้อมูลส่วนบุคคลเพื่อ ปฏิบัติตามกฎหมายหรือสัญญาหรือมีความจาเป็นต้องให้ข้อมูลส่วนบุคคลเพื่อเข้า ทาสัญญา รวมทั้งแจ้งถึงผลกระทบที่เป็นไปได้จากการไม่ให้ข้อมูลส่วนบุคคล • (3) ฯลฯ
  • 111. 111 พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 • การเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคล • ในการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคล ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลจะต้องแจ้งให้เจ้าของ ข้อมูลส่วนบุคคลทราบก่อนหรือในขณะเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลถึงรายละเอียด ดังต่อไปนี้ เว้นแต่ได้ทราบอยู่แล้ว (มาตรา 23) (Privacy Notice) • (3) ข้อมูลส่วนบุคคลที่จะมีการเก็บรวบรวมและระยะเวลาในการเก็บรวบรวมไว้ ทั้งนี้ ในกรณีที่ไม่สามารถกาหนดระยะเวลาดังกล่าวได้ชัดเจน ให้กาหนด ระยะเวลาที่อาจคาดหมายได้ตามมาตรฐานของการเก็บรวบรวม • (4) ประเภทของบุคคลหรือหน่วยงานซึ่งข้อมูลส่วนบุคคลที่เก็บรวบรวมอาจจะถูก เปิดเผย • (5) ข้อมูลเกี่ยวกับผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล สถานที่ติดต่อ และวิธีการติดต่อ ใน กรณีที่มีตัวแทนหรือเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (DPO) ให้แจ้งด้วย • (6) สิทธิของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลตามมาตรา 19 วรรคห้า, 30-34, 36, 73
  • 112. 112 พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 • หน้าที่ของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล (มาตรา 37) • (1) จัดให้มีมาตรการรักษาความมั่นคงปลอดภัยที่เหมาะสม...ทั้งนี้ ให้เป็นไปตาม มาตรฐานขั้นต่าที่คณะกรรมการประกาศกาหนด • (2) ในกรณีที่ต้องให้ข้อมูลส่วนบุคคลแก่บุคคลหรือนิติบุคคลอื่นที่ไม่ใช่ผู้ควบคุมข้อมูลส่วน บุคคล ต้องดาเนินการเพื่อป้องกันมิให้ผู้นั้นใช้หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลโดยปราศจาก อานาจหรือโดยมิชอบ • (3) จัดให้มีระบบการตรวจสอบเพื่อดาเนินการลบหรือทาลายข้อมูลส่วนบุคคลเมื่อพ้น กาหนดระยะเวลาการเก็บรักษา หรือที่ไม่เกี่ยวข้องหรือเกินความจาเป็นตามวัตถุประสงค์ ... หรือตามที่เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลร้องขอ หรือได้ถอนความยินยอม เว้นแต่ ฯลฯ • (4) แจ้งเหตุการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคลแก่สานักงานโดยไม่ชักช้าภายใน 72 ชั่วโมงนับแต่ ทราบเหตุเท่าที่จะสามารถกระทาได้ เว้นแต่ ฯลฯ • (5) ในกรณีที่เป็นผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลตามมาตรา 5 วรรคสอง ต้องแต่งตั้งตัวแทน ของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลเป็นหนังสือซึ่งต้องอยู่ในราชอาณาจักร...
  • 113. 113 พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 • หน้าที่ของผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล (มาตรา 40) • (1) ดาเนินการเกี่ยวกับการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลตามคาสั่งที่ได้รับ จากผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลเท่านั้น เว้นแต่คาสั่งนั้นขัดต่อกฎหมายหรือบทบัญญัติใน การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลตาม พ.ร.บ. นี้ • (2) จัดให้มีมาตรการรักษาความมั่นคงปลอดภัยที่เหมาะสม เพื่อป้องกันการสูญหาย เข้าถึง ใช้ เปลี่ยนแปลง แก้ไข หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลโดยปราศจากอานาจหรือโดย มิชอบ รวมทั้งแจ้งให้ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลทราบถึงเหตุการละเมิดข้อมูลส่วนบุคคลที่ เกิดขึ้น • (3) จัดทาและเก็บรักษาบันทึกรายการของกิจกรรมการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลไว้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการประกาศกาหนด • ...การดาเนินงานตามหน้าที่ของผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลตามที่ได้รับมอบหมายจาก ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลตามวรรคหนึ่ง ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลต้องจัดให้มีข้อตกลง ระหว่างกันเพื่อควบคุมการดาเนินงานตามหน้าที่ของผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล...
  • 114. 114 พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 • เจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (Data Protection Officer: DPO) (มาตรา 41) • ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลและผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลต้องจัดให้มีเจ้าหน้าที่ คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของตน ในกรณีดังต่อไปนี้ • (1) ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลหรือผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลเป็นหน่วยงานของรัฐ ตามที่คณะกรรมการประกาศกาหนด • (2) การดาเนินกิจกรรมของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลหรือผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล ในการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผย จาเป็นต้องตรวจสอบข้อมูลส่วนบุคคลหรือระบบ อย่างสม่าเสมอโดยเหตุที่มีข้อมูลส่วนบุคคลเป็นจานวนมากตามที่คณะกรรมการประกาศ กาหนด • (3) กิจกรรมหลักของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลหรือผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลเป็น การเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลตามมาตรา 26 • ฯลฯ
  • 115. 115 Myth #7 Myth: ต่อไปนี้ ปฏิเสธการส่งข้อมูลให้กับ หน่วยงานภายนอกต่าง ๆ ได้แล้วสินะ
  • 116. 116 Myth #7 Myth: ต่อไปนี้ ปฏิเสธการส่งข้อมูลให้กับ หน่วยงานภายนอกต่าง ๆ ได้แล้วสินะ Truth: ต้องพิจารณาตามฐานของ PDPA และ กฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง ว่ารองรับการส่งข้อมูล โดยถูกต้องตามกฎหมายหรือไม่
  • 117. 117 Myth #8 Myth: หน่วยงานต้องไปแต่งตั้ง Data Controller Officer และ Data Processor Officer ตามกฎหมาย
  • 118. 118 Myth #8 Myth: หน่วยงานต้องไปแต่งตั้ง Data Controller Officer และ Data Processor Officer ตามกฎหมาย Truth: Data Controller คือบุคคล/นิติบุคคลที่เก็บรวบรวม ใช้ หรือ เปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลในกิจการของตน โดยอัตโนมัติ ส่วน Data Processor คือบุคคล/นิติบุคคลอื่น (ที่ไม่ใช่ Data Controller) ที่เก็บ รวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลตามคาสั่งของ Data Controller จึงไม่ต้องแต่งตั้ง แต่นิติบุคคลที่เป็น Data Controller และ Data Processor มีหน้าที่ความรับผิดชอบตามกฎหมายโดย อัตโนมัติ
  • 119. 119 พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 • บทนิยาม (มาตรา 6) • “ข้อมูลส่วนบุคคล” หมายความว่า ข้อมูลเกี่ยวกับบุคคลซึ่งทาให้สามารถระบุตัว บุคคลนั้นได้ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม แต่ไม่รวมถึงข้อมูลของผู้ถึงแก่กรรม โดยเฉพาะ • “ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล” (Data Controller) หมายความว่า บุคคลหรือนิติ บุคคลซึ่งมีอานาจหน้าที่ตัดสินใจเกี่ยวกับการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูล ส่วนบุคคล • “ผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล” (Data Processor) หมายความว่า บุคคลหรือนิติ บุคคลซึ่งดาเนินการเกี่ยวกับการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลตาม คาสั่งหรือในนามของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล ทั้งนี้ บุคคลหรือนิติบุคคลซึ่ง ดาเนินการดังกล่าวไม่เป็นผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล • “บุคคล” หมายความว่า บุคคลธรรมดา • ฯลฯ
  • 120. 120 Myth #9 Myth: หน่วยงานจะแต่งตั้งคณะทางาน Data Protection Officer (DPO) หลาย คน เพื่อช่วยกันทางาน (หรือจะแบ่ง DPO ทาหน้าที่แยกส่วนกัน)
  • 121. 121 Myth #9 Myth: หน่วยงานจะแต่งตั้งคณะทางาน Data Protection Officer (DPO) หลายคน เพื่อช่วยกันทางาน (หรือจะแบ่ง DPO ทาหน้าที่แยกส่วนกัน) Truth: DPO เป็นบทบาทที่กฎหมายให้ Data Controller ที่ เข้าเงื่อนไขตาม PDPA (ซึ่งรวมหน่วยงานที่ process sensitive data เช่น รพ. ด้วย) แต่งตั้งตัวบุคคล ดังนั้น นิติบุคคลที่เป็น Data Controller จึงควรแต่งตั้ง DPO 1 คน (คนในหรือคน นอกก็ได้ แต่ไม่ควรมีบทบาทที่มี conflict of interest เช่น IT, HR, ผู้บริหาร) แต่สามารถมีทีมงานมาช่วยสนับสนุน DPO ได้
  • 122. 122 พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 • เจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (Data Protection Officer: DPO) (มาตรา 41) • ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลและผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลต้องจัดให้มีเจ้าหน้าที่ คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของตน ในกรณีดังต่อไปนี้ • (1) ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลหรือผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลเป็นหน่วยงานของรัฐ ตามที่คณะกรรมการประกาศกาหนด • (2) การดาเนินกิจกรรมของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลหรือผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล ในการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผย จาเป็นต้องตรวจสอบข้อมูลส่วนบุคคลหรือระบบ อย่างสม่าเสมอโดยเหตุที่มีข้อมูลส่วนบุคคลเป็นจานวนมากตามที่คณะกรรมการประกาศ กาหนด • (3) กิจกรรมหลักของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลหรือผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลเป็น การเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลตามมาตรา 26 • ฯลฯ
  • 123. 123
  • 124. 124 Myth #10 Myth: ต่อไปนี้ เอาข้อมูลไปฝากไว้บน Cloud ต่างประเทศไม่ได้แล้ว
  • 125. 125 Myth #10 Myth: ต่อไปนี้ เอาข้อมูลไปฝากไว้บน Cloud ต่างประเทศไม่ได้แล้ว Truth: Cross-border Data Transfer ต้อง พิจารณาว่า การนาข้อมูลไปต่างประเทศ เป็น “Transit” หรือ “Transfer”
  • 126. 126 พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 • การส่งหรือโอนข้อมูลส่วนบุคคลไปยังต่างประเทศ (มาตรา 28) • ในกรณีที่ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลส่งหรือโอนข้อมูลส่วนบุคคลไปยังต่างประเทศ ประเทศปลายทางหรือองค์การระหว่างประเทศที่รับข้อมูลส่วนบุคคลต้องมีมาตรฐานการ คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลที่เพียงพอ ทั้งนี้ ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์การให้ความคุ้มครอง ข้อมูลส่วนบุคคลตามที่คณะกรรมการประกาศกาหนดตามมาตรา 16 (5) เว้นแต่ • (1) เป็นการปฏิบัติตามกฎหมาย • (2) ได้รับความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลโดยได้แจ้งให้เจ้าของข้อมูลส่วน บุคคลทราบถึงมาตรฐานการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลที่ไม่เพียงพอของประเทศ ปลายทางหรือองค์การระหว่างประเทศที่รับข้อมูลส่วนบุคคลแล้ว • (3) เป็นการจาเป็นเพื่อการปฏิบัติตามสัญญาซึ่งเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลเป็นคู่สัญญา หรือเพื่อใช้ในการดาเนินการตามคาขอของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเข้าทา สัญญานั้น