SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
1 
ดร.ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า 
การวิเคราะห์ข้อมูลด้วย โปรแกรม SPSS (Statistics Package for the Social Sciences) 
1. หน้าต่างของ SPSS 
1.1 Data Editor 
เปิดโปรแกรม Start > program > SPSS > SPSS for window หน้าต่าง Data Editor ของ SPSS มี 2 ส่วน ดังนี้ 
เมื่อเข้ามาที่หน้าจอ SPSS แล้ว ให้ไปที่ Variable View จะได้ดังรูป 
หน้าต่าง Variable View เป็นหน้าต่างสำหรับการกำหนดชื่อ และชนิด ลักษณะของตัวแปรแต่ละตัว โดยแต่ละ column ใน 
หน้าต่างนี้ จะเป็นชื่อและลักษณะต่างๆ ของตัวแปรแต่ละตัว (ตัวแปรแต่ละตัวจะปรากฏในแต่ละแถว เช่น แถวที่ 1 คือ ชื่อและ 
ข้อมูลของตัวแปรตัวที่ 1) 
1. 
‘Name*’ คือ ชื่อของตัวแปรหรือสัญลักษณ์แทนตัวแปรนั้น ๆ ความยาวไม่เกิน 7-10 ตัวอักษร (ขึ้นอยู่กับ 
version) โดยชื่อนี้จะไปปรากฎเป็นชื่อ column ในหน้าต่าง Data View เช่น ID SEX AGE EDU SAT 
2. 
‘Type*’ คือ ชนิดของตัวแปร ที่สำคัญ คือ Numeric เป็น ข้อมูลที่เป็นตัวเลข ,String เป็น ข้อมูลที่เป็น 
ตัวอักษร 
Data View คือ หน้าต่างที่จะทำการ Key ข้อมูลลงไป 
Variable View คือ หน้าต่างที่ทำการกำหนดชื่อ ลักษณะของตัวแปรแต่ละตัว
2 
ดร.ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า 
3. 
‘Width’ คือ ความกว้างของตัวแปรหรือจำนวนอักขระหรืออักษรที่ต้องการให้ใส่ได้ใน ‘Values’ 
4. 
‘Decimals’ คือ จำนวนทศนิยม 
5. 
‘Labels’ คือ คำอธิบายตัวแปรหรือชื่อเต็มของตัวแปรนั้น ๆ จะใช้ในกรณีที่ผู้วิจัยกำหนดชื่อตัวแปรใน column 
‘Name’ เป็นอักษรย่อ แล้วต้องการอธิบายหรือขยายความไว้ เช่น Name ระบุเป็น ‘ID’ ใน Labels จะระบุเป็น 
‘ลำดับที่’ หรือ Name ระบุเป็น ‘Salary’ ใน Labels จะระบุเป็น ‘รายได้ต่อเดือน’ เป็นต้น 
6. 
‘Values*’ คือ เป็นการกำหนดค่าให้กับตัวแปร เช่น ตัวแปร ‘เพศ’ กำหนดให้ ‘เพศชาย’ มีค่าเท่ากับ 1 และ ‘เพศ 
หญิง’ มีค่าเท่ากับ 2 เป็นต้น โดย ค่าของตัวแปร เช่น 1 นั้นจะใส่ในช่อง Value ส่วนชื่อของค่าตัวแปรนั้น เช่น 
เพศชาย จะใส่ในช่อง Value Label 
7. 
‘Missing’ คือ ค่าของข้อมูลที่แสดงว่าผู้ตอบแบบสอบถามไม่ได้ตอบในข้อคำถามข้อนั้น เช่น ตัวแปร ‘เพศ’ 
กำหนดค่า missing = ‘9’ นั่นคือ ถ้ามีผู้ที่ไม่ระบุเพศในแบบสอบถาม จะ key ข้อมูลเป็น ‘9’ โดยทั่วไปจะ 
กำหนดค่า missing ให้ไม่ซ้ำกับค่าของตัวแปร ‘Values’ 
8. 
‘Column’ เป็นการกำหนดความกว้าง ของ Column ซึ่งส่วนใหญ่จะกำหนดให้กว้างกว่าความกว้างของตัวแปร 
9. 
‘Align’ เป็นตัวกำหนดลักษณะการวางข้อมูลว่าจะให้อยู่ชิดซ้าย กลาง ขวา 
10. 
‘Measure’ เป็นตัวที่จะบ่งบอกว่าข้อมูลนั้นเป็นข้อมูลแบบใด Scale , Ordinal หรือ Nominal 
* ข้อมูลที่จำเป็นต้องระบุทุกครั้งในการสร้างแฟ้มข้อมูล 
ตัวอย่างการกำหนดลักษณะตัวแปรในหน้าต่าง Variable view 
Data view
3 
ดร.ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า 
1.2 Output 
เป็นหน้าต่างแสดงผลลัพธ์การประมวลผล 
2. การลงรหัสในแฟ้มข้อมูล 
การ key ข้อมูลจะใช้หน้าต่าง Data view เป็นหลัก 
ข้อมูลในแต่ละแถว หมายถึง ข้อมูล 1 ชุด เช่น แถวที่ 1,2,3,…n เป็นข้อมูลของผู้ตอบคนที่ 1,2,3,…n ตามลำดับ 
ข้อมูลในแต่ละ column หมายถึง ข้อมูลของตัวแปรแต่ละตัว หรือ ข้อคำถามแต่ละข้อ 
วิธีการ key ให้ใส่รหัสตามค่าที่เรากำหนดไว้ เช่น ตัวแปร ‘เพศ’ 1 = เพศชาย, 2 = เพศหญิง และ 9 =ไม่ตอบ 
ดังนั้นเวลา Key ข้อมูลเพศ ก็จะ Key หมายเลข 1 หรือ 2 หรือ 9 เท่านั้น 
ในกรณีของ salary ให้ใส่ตัวเลขตามที่ผู้ตอบแบบสอบถามระบุได้เลย ดังตัวอย่าง
4 
ดร.ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า 
การเปลี่ยนแปลง หรือปรับแก้ข้อมูล 3. 
3.1 การเปลี่ยนค่าตัวแปร (RECODE) 
การเปลี่ยนค่าของข้อมูลสำหรับตัวแปรใดๆ โดยอาจจะเป็นการเปลี่ยนค่าใดๆ ค่าหนึ่ง เป็นค่าใหม่ หรือ 
เปลี่ยนจากค่าที่ต่อเนื่องกันเป็นค่าเดียว สามารถทำได้ 2 ลักษณะ คือ 
1) การเปลี่ยนค่าในตัวแปรเดิม (Transform>Recode>Into Same Variables…) 
2) การเปลี่ยนค่าและสร้างเป็นตัวแปรใหม่ (Transform>Recode>Into Different Variables…) 
1) การเปลี่ยนค่าในตัวแปรเดิม (Transform>Recode>Into Same Variables…) 
1 
1. เลือก ตัวแปร ที่ต้องการเปลี่ยนค่าจากช่องหมายเลข ‘1’ มาที่ช่อง ‘2’ หรือ Numeric Variable: 
2. เลือกคำสั่ง Old and New Values… จะปรากฏดังรูปขวามือ (ภาพประกอบ) 
3. กำหนดค่าที่ต้องการเปลี่ยนในส่วน Old Value และกำหนดค่าใหม่ที่ต้องการแทนค่าเดิมในส่วน New Value 
หลังจากนั้นเลือก Add จะปรากฎค่าที่เปลี่ยนในช่อง Old => New 
4. เลือกปุ่ม Continue จะกลับมาแสดงหน้าจอ Recode into Same Variables (หน้าจอซ้ายมือ) ถ้าต้องการเปลี่ยน 
ค่าของข้อมูลบางชุดให้กด If… เพื่อกำหนดเงื่อนไขในการเลือกชุดข้อมูลที่จะนำมาเปลี่ยนค่า 
5. เลือก OK ค่าของตัวแปรที่ถูกเลือกจะเปลี่ยนเป็นค่าใหม่ทันที 
2
5 
ดร.ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า 
2) การเปลี่ยนค่าและสร้างเป็นตัวแปรใหม่ (Transform>Recode>Into Different Variables…) 
1. เลือกตัวแปรที่ต้องการเปลี่ยนค่าจากกล่องซ้ายมือ มาไว้ที่ช่อง Numeric Variable => Output 
2. ตั้งชื่อตัวแปรใหม่ที่ช่อง Output Variable ที่ช่อง Name: หลังจากนั้นเลือกปุ่ม Old and New Values… โดยให้ 
ดำเนินการเช่นเดียวกับการเปลี่ยนค่าในตัวแปรเดิม (Into Same Variable) 
3.2 การสร้างตัวแปรใหม่จากการคำนวณและเงื่อนไข (Compute) 
เป็นการสร้างตัวแปรใหม่ด้วนการคำนวณทางคณิตศาสตร์ มีขั้นตอนดังนี้ 
1. เลือก Transform > Compute… จะปรากฏหน้าจอดังนี้ 
2. สร้างชื่อตัวแปรให 
เช่ 
น a1+a2+a3
6 
ดร.ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า 
4. การเลือกวิเคราะห์บางกลุ่มข้อมูล 
4.1 การวิเคราะห์แยกตามค่าของตัวแปร (Split – File Processing) 
ใช้เมื่อต้องการแยกวิเคราะห์ข้อมูลเป็นกลุ่ม ๆ ตามค่าของตัวแปรใด ตัวแปรหนึ่ง หรือมากกว่า 
ยกวิเคราะห์ “ระดับความพึงพอใจ 
คำสั่ง Data > 
• 
Analyze all cases, do not create groups วิเคราะห์ข้อมูลทุก case 
• Compare groups ใช้เมื่อต้องการให้วิเคราะห์ข้อมูลแยกเป็นกลุ่ม ๆ ตาม 
แยกตามเพศ 
แยกตามอายุ (ต้องเป็นตัวแปรในระดับ nominal scale)
7 
ดร.ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า 
• Organize output by groups 
ต 
“ผ
8 
ดร.ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า 
• Random sample of cases ต้องการเลือกตัวอย่าง ca 
• Based on time or case ra 
nge ต้องการวิเคราะห์เฉพาะบาง
9 
ดร.ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า 
ตัวอย่าง ผลของคำสั่งที่ให้วิเคราะห์เฉพาะเพศชาย, มีอายุ 30 ปีขึ้นไป
10 
ดร.ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า 
Statistics640064000045.00009.0025.0001107.00569.0001116.005628.00003.00 
ก 
1 
79.000017.00 75
11 
ดร.ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า 
2. SPSS: Analyze > Compare means > Means… เลือกที่ Options… ผู้วิจัยสามารถเลือกสถิติที่ต้องการให้ประมวลผลได 
Report 
Jo 
n N 
1.209 
5 
3.20 
23641.2 
More t 
5 
3.90 
1820 
1.107 
To 
3.06 
6400 
1.369
12 
ดร.ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า 
วิธีการตรวจสอบการแจกแจงของข 
้อม 
ก่ ตารา 
ิติทด 
1 
ในการนำเสนอกา 
ทางเดียว 
V 
y ตารางแบบหลายทาง 
SPSS: Analyze > Descriptive Statistics > 
ตาราง 2 ทางให้เลือกตัวแปรเฉพาะ row(s): และ column(s):
13 
ดร.ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า 
- ในส่วน Variables Are Coded A 
- ต 
ั้งชื่อตัวแปรของกลุ่มคำตอบนี้ใน Name: (ตัวอย่างคือ own 
เครื 
่องใช้ไฟฟ้า) 
คลิ 
ก Add จะปรากฎชื่อ set เป็น $own ใน Multi Response Sets 
- คลิก Close 
Level of education * Job satisfaction * Retired Cross 
163 15.0 
27.3% 25.2% 
20.9%22.8%19.5%19.3%21.5% 273303275262192130525.2%25.0%20.7%19.7%16.9%21.4% 
1 
085 100.0% 
4 
21 16.7%36.8%31.8%21 81324 
3 
3.3%22.8%36.4%38.2%31.8%32.8% 391013175212.5%15.8%15.2%17.1%20.0%16.9% 
2 
8.3%3. Count 
% within Job satisfactionCount% within Job satisfactionCount% within Job satisfactionCount% within Job satisfactionCo % within Jo Count% within Job satisfactionCount% within Job satisfactionCount% within Job satisfactionCount% within Job satisfaction Count% within Job satisfaction Did mphighl High school deg Some collegeCollege degreePost-undergraduatedegreeLevel ofeducationTotalDid not completehigh schoolHigh school degreeSome collegeCollege deg Post-undergraduatedegreeLeeducationvel of 
T 
otal Yes 
Highlyeddissatisfi
14 
ดร.ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า 
ี 
่ 2 การวิเคราะห์ตัวแปรใน 
เลือกตัวแปรใน Mult Response Sets ลงใน Table(s) for: 
twise within dic 
-Missing Values เลือก Exclude cases lis 
- เลือก OK
15 
ดร.ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า 
หมายเลข 1 คือ จำนวนการตอบ (17863 คำตอบ) 
ค 
ือ จำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม (6377 คน) 
ร้อยละของการตอบ โดยคิดจากจำนวนการตอบ 178 
ค 
ือ ร้อยละของผู้ตอบ โดยคิดจากจำนวนผู้ตอบ 6377 คน 
2. Crosst 
SPSS: Analysis > Multiple Response > Crosstabs… 
ตัวอย่าง ต้องการหาจำนวนการครอบครองเครื่องใช้ไฟ 
- เลือกตัวแปรที่ตั้งไว้($own) และตัวแปรระดับการศึกษา (ed) ลงใน row และ - เลือก Define Ranges… จะปรากฎ หน้าต่างของ Multiple Response CrosRanges ให้กำหนดค่ารหัสต่ำสุด (1) และสูงสุด (4) ของตัวแปร ed - Options…
16 
ดร.ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า 
ƒ สามารถเลือกการคำนวณร้อยละได้ใน Cell Percent 
ƒ Percentages Based 
1. Analyze > Descriptive
17 
ดร.ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า 
3. 
Graphs > Histogram… 
Hi 
stogram 
Job satisfaction 
5.04.03.0N = 
00 
Freq
18 
ดร.ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า 
t 
ี่ผ 
Boxplot จะให้ค่าสถ 
่ำสุดของข้อมูลที่ยังไม่ต่ำผิดปกติ: ค่าไม่เกิน Q1-1.5IQR 
ก 
* O IQR 
ค่ากลาง: คว 
ค่าสูงสุดของข้อมูลที่ยังไม่สูงผิดปกติ (5) 
outliner: ค่าที่อยู่ระหว่าง Q3+1.5(IQR) ถ
19 
ดร.ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า 
19 
DepeFacto 
เลือกกราฟแบบ simp
20 
ดร.ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า 
182023642216N = Years with current employerMore than 155 to 15Less than 5 Job satisfaction 6543210 
3 
–
21 
ดร.ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า 
y 
0 
1390 
0 
1936 0 1360 
0 
1355 
Did not completehigh school 
High sch Some co 
College degreePost-undergraduate Job satisfaction Sig 
ic novaSha 
-Wilk 
Sig. Lilliefors Significance Correctiona.
ดร.ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า 
22 
แบบสอบถามการทำงาน 
ข้อมูลส่วนบุคคล 
1 เพศ [ ] ชาย [ ] หญิง 
2 อายุ ............... ปี 
3 อาชีพ [ ] วิศวกร [ ] แพทย์ [ ] นักข่าว 
4 รายได้ (ต่อเดือน) ................ บาท 
0Bความรู้สึกต่องานที่ท่านทำ 
มาก 
ที่สุด 
มาก ปาน 
กลาง 
น้อย น้อย 
ที่สุด 
1 ความน่าสนใจของงานที่รับผิดชอบ 
2 ท่านมีเพื่อนร่วมงานที่ดี 
3 ท่านมั่นใจในความมั่นคงของหน่วยงาน 
คะแนนความสามารถทางคอมพิวเตอร์ (100 คะแนน) 
ก่อนการฝึกอบรม ...................คะแนน 
หลังการฝึกอบรม ....................คะแนน

More Related Content

What's hot

ระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยKero On Sweet
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟsuraidabungasayu
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงานPinutchaya Nakchumroon
 
การสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSS
การสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSSการสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSS
การสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSSเบญจวรรณ กลสามัญ
 
การอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการการอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการWatcharapol Wiboolyasarin
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Thunyalak Thumphila
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4Tatthep Deesukon
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์Roiyan111
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4Ngamsiri Prasertkul
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2oraneehussem
 
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปรการตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปรDuangdenSandee
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกลPhanuwat Somvongs
 
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนพิทักษ์ ทวี
 

What's hot (20)

ระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัย
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
 
การสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSS
การสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSSการสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSS
การสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSS
 
การอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการการอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการ
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปรการตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 2
 
สาวน้อยนักกายกรรม
สาวน้อยนักกายกรรมสาวน้อยนักกายกรรม
สาวน้อยนักกายกรรม
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
 
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
 

Similar to คู่มือการใช้งานSpss

การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spssการใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spssthaweesak mahan
 
Spc basic for training in thai
Spc basic for training in thaiSpc basic for training in thai
Spc basic for training in thaiKrissana Manoping
 
Spssเริ่มต้น
Spssเริ่มต้นSpssเริ่มต้น
Spssเริ่มต้นsaypin
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณtanongsak
 
สถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้นสถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้นothanatoso
 
บทที่9.pdf
บทที่9.pdfบทที่9.pdf
บทที่9.pdfsewahec743
 
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นสถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นParn Parai
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3KEk YourJust'one
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพอภิเทพ ทองเจือ
 

Similar to คู่มือการใช้งานSpss (20)

สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
 
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spssการใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss
 
9 spss
9 spss9 spss
9 spss
 
Spss jan2010
Spss jan2010Spss jan2010
Spss jan2010
 
Spss jan2010
Spss jan2010Spss jan2010
Spss jan2010
 
Spc basic for training in thai
Spc basic for training in thaiSpc basic for training in thai
Spc basic for training in thai
 
Spssเริ่มต้น
Spssเริ่มต้นSpssเริ่มต้น
Spssเริ่มต้น
 
Spss
SpssSpss
Spss
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
 
Spss
SpssSpss
Spss
 
Spss sriprapai
Spss sriprapaiSpss sriprapai
Spss sriprapai
 
สถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้นสถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้น
 
บทที่9.pdf
บทที่9.pdfบทที่9.pdf
บทที่9.pdf
 
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นสถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
สถิติ ม.6 เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
 
Static excel
Static excelStatic excel
Static excel
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติ อภิเทพ
 

คู่มือการใช้งานSpss

  • 1. 1 ดร.ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า การวิเคราะห์ข้อมูลด้วย โปรแกรม SPSS (Statistics Package for the Social Sciences) 1. หน้าต่างของ SPSS 1.1 Data Editor เปิดโปรแกรม Start > program > SPSS > SPSS for window หน้าต่าง Data Editor ของ SPSS มี 2 ส่วน ดังนี้ เมื่อเข้ามาที่หน้าจอ SPSS แล้ว ให้ไปที่ Variable View จะได้ดังรูป หน้าต่าง Variable View เป็นหน้าต่างสำหรับการกำหนดชื่อ และชนิด ลักษณะของตัวแปรแต่ละตัว โดยแต่ละ column ใน หน้าต่างนี้ จะเป็นชื่อและลักษณะต่างๆ ของตัวแปรแต่ละตัว (ตัวแปรแต่ละตัวจะปรากฏในแต่ละแถว เช่น แถวที่ 1 คือ ชื่อและ ข้อมูลของตัวแปรตัวที่ 1) 1. ‘Name*’ คือ ชื่อของตัวแปรหรือสัญลักษณ์แทนตัวแปรนั้น ๆ ความยาวไม่เกิน 7-10 ตัวอักษร (ขึ้นอยู่กับ version) โดยชื่อนี้จะไปปรากฎเป็นชื่อ column ในหน้าต่าง Data View เช่น ID SEX AGE EDU SAT 2. ‘Type*’ คือ ชนิดของตัวแปร ที่สำคัญ คือ Numeric เป็น ข้อมูลที่เป็นตัวเลข ,String เป็น ข้อมูลที่เป็น ตัวอักษร Data View คือ หน้าต่างที่จะทำการ Key ข้อมูลลงไป Variable View คือ หน้าต่างที่ทำการกำหนดชื่อ ลักษณะของตัวแปรแต่ละตัว
  • 2. 2 ดร.ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า 3. ‘Width’ คือ ความกว้างของตัวแปรหรือจำนวนอักขระหรืออักษรที่ต้องการให้ใส่ได้ใน ‘Values’ 4. ‘Decimals’ คือ จำนวนทศนิยม 5. ‘Labels’ คือ คำอธิบายตัวแปรหรือชื่อเต็มของตัวแปรนั้น ๆ จะใช้ในกรณีที่ผู้วิจัยกำหนดชื่อตัวแปรใน column ‘Name’ เป็นอักษรย่อ แล้วต้องการอธิบายหรือขยายความไว้ เช่น Name ระบุเป็น ‘ID’ ใน Labels จะระบุเป็น ‘ลำดับที่’ หรือ Name ระบุเป็น ‘Salary’ ใน Labels จะระบุเป็น ‘รายได้ต่อเดือน’ เป็นต้น 6. ‘Values*’ คือ เป็นการกำหนดค่าให้กับตัวแปร เช่น ตัวแปร ‘เพศ’ กำหนดให้ ‘เพศชาย’ มีค่าเท่ากับ 1 และ ‘เพศ หญิง’ มีค่าเท่ากับ 2 เป็นต้น โดย ค่าของตัวแปร เช่น 1 นั้นจะใส่ในช่อง Value ส่วนชื่อของค่าตัวแปรนั้น เช่น เพศชาย จะใส่ในช่อง Value Label 7. ‘Missing’ คือ ค่าของข้อมูลที่แสดงว่าผู้ตอบแบบสอบถามไม่ได้ตอบในข้อคำถามข้อนั้น เช่น ตัวแปร ‘เพศ’ กำหนดค่า missing = ‘9’ นั่นคือ ถ้ามีผู้ที่ไม่ระบุเพศในแบบสอบถาม จะ key ข้อมูลเป็น ‘9’ โดยทั่วไปจะ กำหนดค่า missing ให้ไม่ซ้ำกับค่าของตัวแปร ‘Values’ 8. ‘Column’ เป็นการกำหนดความกว้าง ของ Column ซึ่งส่วนใหญ่จะกำหนดให้กว้างกว่าความกว้างของตัวแปร 9. ‘Align’ เป็นตัวกำหนดลักษณะการวางข้อมูลว่าจะให้อยู่ชิดซ้าย กลาง ขวา 10. ‘Measure’ เป็นตัวที่จะบ่งบอกว่าข้อมูลนั้นเป็นข้อมูลแบบใด Scale , Ordinal หรือ Nominal * ข้อมูลที่จำเป็นต้องระบุทุกครั้งในการสร้างแฟ้มข้อมูล ตัวอย่างการกำหนดลักษณะตัวแปรในหน้าต่าง Variable view Data view
  • 3. 3 ดร.ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า 1.2 Output เป็นหน้าต่างแสดงผลลัพธ์การประมวลผล 2. การลงรหัสในแฟ้มข้อมูล การ key ข้อมูลจะใช้หน้าต่าง Data view เป็นหลัก ข้อมูลในแต่ละแถว หมายถึง ข้อมูล 1 ชุด เช่น แถวที่ 1,2,3,…n เป็นข้อมูลของผู้ตอบคนที่ 1,2,3,…n ตามลำดับ ข้อมูลในแต่ละ column หมายถึง ข้อมูลของตัวแปรแต่ละตัว หรือ ข้อคำถามแต่ละข้อ วิธีการ key ให้ใส่รหัสตามค่าที่เรากำหนดไว้ เช่น ตัวแปร ‘เพศ’ 1 = เพศชาย, 2 = เพศหญิง และ 9 =ไม่ตอบ ดังนั้นเวลา Key ข้อมูลเพศ ก็จะ Key หมายเลข 1 หรือ 2 หรือ 9 เท่านั้น ในกรณีของ salary ให้ใส่ตัวเลขตามที่ผู้ตอบแบบสอบถามระบุได้เลย ดังตัวอย่าง
  • 4. 4 ดร.ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า การเปลี่ยนแปลง หรือปรับแก้ข้อมูล 3. 3.1 การเปลี่ยนค่าตัวแปร (RECODE) การเปลี่ยนค่าของข้อมูลสำหรับตัวแปรใดๆ โดยอาจจะเป็นการเปลี่ยนค่าใดๆ ค่าหนึ่ง เป็นค่าใหม่ หรือ เปลี่ยนจากค่าที่ต่อเนื่องกันเป็นค่าเดียว สามารถทำได้ 2 ลักษณะ คือ 1) การเปลี่ยนค่าในตัวแปรเดิม (Transform>Recode>Into Same Variables…) 2) การเปลี่ยนค่าและสร้างเป็นตัวแปรใหม่ (Transform>Recode>Into Different Variables…) 1) การเปลี่ยนค่าในตัวแปรเดิม (Transform>Recode>Into Same Variables…) 1 1. เลือก ตัวแปร ที่ต้องการเปลี่ยนค่าจากช่องหมายเลข ‘1’ มาที่ช่อง ‘2’ หรือ Numeric Variable: 2. เลือกคำสั่ง Old and New Values… จะปรากฏดังรูปขวามือ (ภาพประกอบ) 3. กำหนดค่าที่ต้องการเปลี่ยนในส่วน Old Value และกำหนดค่าใหม่ที่ต้องการแทนค่าเดิมในส่วน New Value หลังจากนั้นเลือก Add จะปรากฎค่าที่เปลี่ยนในช่อง Old => New 4. เลือกปุ่ม Continue จะกลับมาแสดงหน้าจอ Recode into Same Variables (หน้าจอซ้ายมือ) ถ้าต้องการเปลี่ยน ค่าของข้อมูลบางชุดให้กด If… เพื่อกำหนดเงื่อนไขในการเลือกชุดข้อมูลที่จะนำมาเปลี่ยนค่า 5. เลือก OK ค่าของตัวแปรที่ถูกเลือกจะเปลี่ยนเป็นค่าใหม่ทันที 2
  • 5. 5 ดร.ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า 2) การเปลี่ยนค่าและสร้างเป็นตัวแปรใหม่ (Transform>Recode>Into Different Variables…) 1. เลือกตัวแปรที่ต้องการเปลี่ยนค่าจากกล่องซ้ายมือ มาไว้ที่ช่อง Numeric Variable => Output 2. ตั้งชื่อตัวแปรใหม่ที่ช่อง Output Variable ที่ช่อง Name: หลังจากนั้นเลือกปุ่ม Old and New Values… โดยให้ ดำเนินการเช่นเดียวกับการเปลี่ยนค่าในตัวแปรเดิม (Into Same Variable) 3.2 การสร้างตัวแปรใหม่จากการคำนวณและเงื่อนไข (Compute) เป็นการสร้างตัวแปรใหม่ด้วนการคำนวณทางคณิตศาสตร์ มีขั้นตอนดังนี้ 1. เลือก Transform > Compute… จะปรากฏหน้าจอดังนี้ 2. สร้างชื่อตัวแปรให เช่ น a1+a2+a3
  • 6. 6 ดร.ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า 4. การเลือกวิเคราะห์บางกลุ่มข้อมูล 4.1 การวิเคราะห์แยกตามค่าของตัวแปร (Split – File Processing) ใช้เมื่อต้องการแยกวิเคราะห์ข้อมูลเป็นกลุ่ม ๆ ตามค่าของตัวแปรใด ตัวแปรหนึ่ง หรือมากกว่า ยกวิเคราะห์ “ระดับความพึงพอใจ คำสั่ง Data > • Analyze all cases, do not create groups วิเคราะห์ข้อมูลทุก case • Compare groups ใช้เมื่อต้องการให้วิเคราะห์ข้อมูลแยกเป็นกลุ่ม ๆ ตาม แยกตามเพศ แยกตามอายุ (ต้องเป็นตัวแปรในระดับ nominal scale)
  • 8. 8 ดร.ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า • Random sample of cases ต้องการเลือกตัวอย่าง ca • Based on time or case ra nge ต้องการวิเคราะห์เฉพาะบาง
  • 9. 9 ดร.ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า ตัวอย่าง ผลของคำสั่งที่ให้วิเคราะห์เฉพาะเพศชาย, มีอายุ 30 ปีขึ้นไป
  • 10. 10 ดร.ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า Statistics640064000045.00009.0025.0001107.00569.0001116.005628.00003.00 ก 1 79.000017.00 75
  • 11. 11 ดร.ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า 2. SPSS: Analyze > Compare means > Means… เลือกที่ Options… ผู้วิจัยสามารถเลือกสถิติที่ต้องการให้ประมวลผลได Report Jo n N 1.209 5 3.20 23641.2 More t 5 3.90 1820 1.107 To 3.06 6400 1.369
  • 12. 12 ดร.ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า วิธีการตรวจสอบการแจกแจงของข ้อม ก่ ตารา ิติทด 1 ในการนำเสนอกา ทางเดียว V y ตารางแบบหลายทาง SPSS: Analyze > Descriptive Statistics > ตาราง 2 ทางให้เลือกตัวแปรเฉพาะ row(s): และ column(s):
  • 13. 13 ดร.ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า - ในส่วน Variables Are Coded A - ต ั้งชื่อตัวแปรของกลุ่มคำตอบนี้ใน Name: (ตัวอย่างคือ own เครื ่องใช้ไฟฟ้า) คลิ ก Add จะปรากฎชื่อ set เป็น $own ใน Multi Response Sets - คลิก Close Level of education * Job satisfaction * Retired Cross 163 15.0 27.3% 25.2% 20.9%22.8%19.5%19.3%21.5% 273303275262192130525.2%25.0%20.7%19.7%16.9%21.4% 1 085 100.0% 4 21 16.7%36.8%31.8%21 81324 3 3.3%22.8%36.4%38.2%31.8%32.8% 391013175212.5%15.8%15.2%17.1%20.0%16.9% 2 8.3%3. Count % within Job satisfactionCount% within Job satisfactionCount% within Job satisfactionCount% within Job satisfactionCo % within Jo Count% within Job satisfactionCount% within Job satisfactionCount% within Job satisfactionCount% within Job satisfaction Count% within Job satisfaction Did mphighl High school deg Some collegeCollege degreePost-undergraduatedegreeLevel ofeducationTotalDid not completehigh schoolHigh school degreeSome collegeCollege deg Post-undergraduatedegreeLeeducationvel of T otal Yes Highlyeddissatisfi
  • 14. 14 ดร.ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า ี ่ 2 การวิเคราะห์ตัวแปรใน เลือกตัวแปรใน Mult Response Sets ลงใน Table(s) for: twise within dic -Missing Values เลือก Exclude cases lis - เลือก OK
  • 15. 15 ดร.ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า หมายเลข 1 คือ จำนวนการตอบ (17863 คำตอบ) ค ือ จำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม (6377 คน) ร้อยละของการตอบ โดยคิดจากจำนวนการตอบ 178 ค ือ ร้อยละของผู้ตอบ โดยคิดจากจำนวนผู้ตอบ 6377 คน 2. Crosst SPSS: Analysis > Multiple Response > Crosstabs… ตัวอย่าง ต้องการหาจำนวนการครอบครองเครื่องใช้ไฟ - เลือกตัวแปรที่ตั้งไว้($own) และตัวแปรระดับการศึกษา (ed) ลงใน row และ - เลือก Define Ranges… จะปรากฎ หน้าต่างของ Multiple Response CrosRanges ให้กำหนดค่ารหัสต่ำสุด (1) และสูงสุด (4) ของตัวแปร ed - Options…
  • 16. 16 ดร.ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า ƒ สามารถเลือกการคำนวณร้อยละได้ใน Cell Percent ƒ Percentages Based 1. Analyze > Descriptive
  • 17. 17 ดร.ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า 3. Graphs > Histogram… Hi stogram Job satisfaction 5.04.03.0N = 00 Freq
  • 18. 18 ดร.ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า t ี่ผ Boxplot จะให้ค่าสถ ่ำสุดของข้อมูลที่ยังไม่ต่ำผิดปกติ: ค่าไม่เกิน Q1-1.5IQR ก * O IQR ค่ากลาง: คว ค่าสูงสุดของข้อมูลที่ยังไม่สูงผิดปกติ (5) outliner: ค่าที่อยู่ระหว่าง Q3+1.5(IQR) ถ
  • 19. 19 ดร.ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า 19 DepeFacto เลือกกราฟแบบ simp
  • 20. 20 ดร.ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า 182023642216N = Years with current employerMore than 155 to 15Less than 5 Job satisfaction 6543210 3 –
  • 21. 21 ดร.ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า y 0 1390 0 1936 0 1360 0 1355 Did not completehigh school High sch Some co College degreePost-undergraduate Job satisfaction Sig ic novaSha -Wilk Sig. Lilliefors Significance Correctiona.
  • 22. ดร.ทิพย์สุดา จันทร์แจ่มหล้า 22 แบบสอบถามการทำงาน ข้อมูลส่วนบุคคล 1 เพศ [ ] ชาย [ ] หญิง 2 อายุ ............... ปี 3 อาชีพ [ ] วิศวกร [ ] แพทย์ [ ] นักข่าว 4 รายได้ (ต่อเดือน) ................ บาท 0Bความรู้สึกต่องานที่ท่านทำ มาก ที่สุด มาก ปาน กลาง น้อย น้อย ที่สุด 1 ความน่าสนใจของงานที่รับผิดชอบ 2 ท่านมีเพื่อนร่วมงานที่ดี 3 ท่านมั่นใจในความมั่นคงของหน่วยงาน คะแนนความสามารถทางคอมพิวเตอร์ (100 คะแนน) ก่อนการฝึกอบรม ...................คะแนน หลังการฝึกอบรม ....................คะแนน