SlideShare a Scribd company logo
1 of 54
ทรัพย์ หมายถึง วัตถุมีรูปร่างซึ่งมีราคาและอาจถือเอาได้
“วัตถุมีรูปร่าง” นั้นหมายถึง สิ่งที่เห็นได้ด้วยตาและจับต้องสัมผัส
ได้ เช่น ช้าง บ้าน โต๊ะ รถยนต์ เป็นต้น
“มีราคา”นั้นหมายถึง มีคุณค่าในตัวของสิ่งนั้นเอง โดยอาจมีคุณค่า
เพื่อประโยชน์ใช้สอยในทางเศรษฐกิจหรือประโยชน์ทางจิตใจก็ได้
ไม่จาเป็นต้องมีราคาที่อาจซื้อขายกันได้ตามท้องตลาด
“ถือเอาได้” หมายถึง การที่บุคคลสามารถเข้าหวงกันไม่ไห้บุคคลอื่นเข้ามา
เกี่ยวข้องกับทรัพย์นั้น
ดังนั้น วัตถุใดจะเป็นทรัพย์ได้ต้องมีข้อเท็จจริงครบองค์ประกอบ 2
ประการ คือ
(1) ต้องเป็นวัตถุมีรูปร่าง
(2) ต้องเป็นวัตถุที่มีราคาและอาจถือเอาได้
หากขาดองค์ประกอบข้อใดข้อหนึ่งไปย่อมไม่ใช่ทรัพย์ เช่น มนุษย์
เป็นสิ่งที่มีรูปร่าง แต่มนุษย์ไม่ใช่สิ่งมีราคาและไม่สามารถถือเอาได้เพราะไม่
สามารถตีค่าของมนุษย์เพื่อซื้อขายและถือเอาเยี่ยงทาสได้ มนุษย์จึงไม่ใช่
ทรัพย์ หรือดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ ดวงดาว และอากาศ เป็นสิ่งที่ไม่อาจ
ถือเอาได้จึงไม่ใช่ทรัพย์
หมายถึง ทรัพย์ และวัตถุไม่มีรูปร่างซึ่งมีราคา
และอาจถือเอาได้ จากความหมายข้างต้นจะเห็นได้ว่าทรัพย์สินมี
ความหมายที่กว้างกว่าทรัพย์ กล่าวคือ ทรัพย์สินนอกจากจะ
หมายถึงทรัพย์แล้ว ทรัพย์สินยังหมายความรวมถึงวัตถุไม่มีรูปร่าง
ซึ่งมีราคาละอาจถือเอาได้อีกด้วย
คาว่า “วัตถุไม่มีรูปร่าง” หมายถึง สิ่งที่ไม่สามารถเห็นได้
ด้วยตาและไม่สามารถจับต้องสัมผัสได้ ทรัพย์สินที่เป็นวัตถุไม่มี
รูปร่าง เช่น แก๊ส กระแสไฟฟ้ า สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา หุ้นของ
บริษัท สิทธิตามสัญญาเช่าที่ดิน เป็นต้น จะเห็นได้ว่าวัตถุไม่มี
รูปร่างอาจเป็นทรัพย์สินได้หากมีราคาและอาจถือเอาได้ แต่ไม่
สามารถเป็นทรัพย์ได้เพราะทรัพย์ต้องเป็นวัตถุมีรูปร่างเท่านั้น
2.1 แบ่งตามการเคลื่อนที่ได้ของทรัพย์สิน
หากใช้เกณฑ์การเคลื่อนที่ได้ของทรัพย์สินมาพิจารณา
จะสามารถแบ่งทรัพย์สินได้เป็นสองประเภท คือ
(1) อสังหาริมทรัพย์ และ(2) สังหาริมทรัพย์
อสังหาริมทรัพย์ หมายถึง ทรัพย์สินอันเคลื่อนที่ไม่ได้
ซึ่งได้แก่
1. ที่ดิน หมายถึง พื้นที่บนผิวโลก แต่ไม่รวมถึงเนื้อดินที่ขุดออกมาจาก
พื้นดินแล้วเนื้อดินดังกล่าวไม่เป็นที่ดินอีกต่อไปแต่เป็นเพียง
สังหาริมทรัพย์เท่านั้น
2. ทรัพย์อันติดอยู่กับที่ดินอันมีลักษณะเป็นการถาวร หมายถึง ทรัพย์อื่น
ใดซึ่งไม่ใช่ที่ดินแต่ทรัพย์นั้นได้ติดตรึงตราอยู่กับที่ดินอย่างถาวร
ทรัพย์อันติดอยู่กับที่ดินอันมีลักษณะเป็นการถาวรนั้นอาจเป็นสิ่ง
ที่มีอยู่ตามธรรมชาติ เช่น ไม้ยืนต้นอันเป็นพันธุ์ไม่ที่มีอายุเกินกว่า 3 ปี
อาทิ ต้นมะม่วง ต้นฝรั่ง ต้นไผ่ ต้นพลู หรืออาจเป็นสิ่งที่ติดกับที่ดินโดย
การกระทาของของมนุษย์ เช่น บ้าน สะพาน ถนน อนุสาวรีย์ เป็นต้น
3. ทรัพย์ซึ่งประกอบเป็นอันหนึ่งอันเดี่ยวกับที่ดิน หมายถึง ทรัพย์ที่
ประกอบเป็นเนื้อเดี่ยวกับที่ดิน เช่น กรวด หิน ดิน ทราย แร่ธาตุ
อสังหาริมทรัพย์ประเภทนี้ต้องรวมเป็นเนื้อเดี่ยวกันกับที่ดินเสมอ หาก
ขุดออกไปจากที่ดินย่อมไม่เป็นอสังหาริมทรัพย์อีกต่อไป แต่ถือเป็น
สังหาริมทรัพย์
4. ทรัพยสิทธิอันเดี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ หมายถึง ทรัพยสิทธิ
เกี่ยวกับที่ดิน ทรัพยสิทธิเกี่ยวกับทรัพย์อันติดอยู่กับที่ดินเป็นการ
ถาวร หรือทรัพยสิทธิเกี่ยวกับทรัพย์ซึ่งประกอบเป็นอันหนึ่งอันเดี่ยว
กับที่ดิน เช่น กรรมสิทธิ์หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์
สิทธิอาศัยภาระจายอม สิทธิเก็บกิน สิทธิเหนือพื้นดิน สิทธิรับ
จานองที่ดิน เป็นต้น
สังหาริมทรัพย์ หมายถึง ทรัพย์สินอันเคลื่อนที่ได้ซึ่งได้แก่
1) ทรัพย์สินอื่นที่ไมใชอสังหาริมทรัพย์ หมายถึง ทรัพย์ที่เคลื่อนย้าย
โดยไมเสียรูปทรง หรือไมเสียสภาพแกหงทรัพย์นั้น เชน รถยนต์ สัตว์พาหนะ
เครื่องจั่ร หนังสือ ต้นไม้ที่ปลู่ใน่ระถางดินที่ขุดไปขาย แกพที่อยูอาศัย
แกผงลอย เรือนที่รื้อถอนออ่ไป เรือ เครื่องบิน เป็นต้น
2) สิทธิทั้งหลายอันเ่ี่ยว่ับสังหาริมทรัพย์ ได้แก่ ่รรมสิทธิ์หรือ
สิทธิครอบครองในสังหาริมทรัพย์ สิทธิของผู้รับจานา ลิขสิทธิ์ สิทธิใน
เครื่องหมาย่ารค้า สิทธิของผู้ถือหุ้น เป็นต้น
ประเด็น อสังหาริมทรัพย์ สังหาริมทรัพย์
1.ความเป็นเจ้าของ ต้องมีเจ้าของเสมอ หา่ไมมีบุคคลใดเป็นเจ้าของ่็
เจ้าของ่็จะเป็นของแกผนดิน
อาจไมมีเจ้าของ่็ได้
2.่ารครอบครองปรปั่ษ์ ได้่รรมสิทธิ์เมื่อครอบครองติดตอ่ันเป็น
ระยะเวลา 1๐ ปี
ได้่รรมสิทธิ์เมื่อครอบครองติดตอ่ันเป็น
ระยะเวลา 5 ปี
3.่ารโอน่รรมสิทธิ์ ต้องทาเป็นหนังสือแกละจดทะเบียนตอพนั่งาน
เจ้าหน้าที่
ไมต้องทาเป็นหนังสือแกละจดทะเบียนตอพนั่งาน
พนั่งานเจ้าหน้าที่ เว้นแกตเป็นสังหาริมทรัพย์ชนิด
ชนิดพิเศษ
4.่ารสันนิฐานความเป็น
เจ้าของ
พิจารณาจา่ชื่อที่ปรา่ฏในทะเบียน พิจารณาจา่่ารครอบครองทรัพย์
5.แกดน่รรมสิทธิ์ ่รรมสิทธ์ไมได้จา่ัดอยูที่ตัวอสังหาริมทรัพย์
เทานั้น แกตยังรวมไปถึงบริเวณเหนือพื้นดินแกละใต้
ใต้พื้นดินนั้นด้วย
่รรมสิทธิ์มีจา่ัดอยูเฉพาะตัวสังหาริมทรัพย์
เทานั้น
6.่ารมีทรัพยสิทธิบางประเภท ทรัพยสิทธิบางประเภท เชน ภาระจายอม สิทธิ
อาศัย สิทธิเ่็บ่ิน สิทธิเหนือพื้นดิน ภาระติดพัน
พันในอสังหาริมทรัพย์ มีได้เฉพาะในสังหาริมทรัพย์
ไมอาจมีทรัพยสิทธิบางประเภทได้ เชน ภาระจา
ยอม สิทธิอาศัย สิทธิเ่็บ่ิน สิทธิเหนือพื้นดิน
ภาระติดพันในอสังหาริมทรัพย์
หา่เ่ณฑ์่ารแกย่ออ่จา่่ันได้ของทรัพย์สินมาพิจารณาจะ
สามารถแกบงทรัพย์สินได้เป็น 2 ประเภท คือ
1) ทรัพย์แกบงได้แกละ 2 )ทรัพย์แกบงไมได้
1) ทรัพย์แกบงได้
ทรัพย์แกบงได้ หมายถึง ทรัพย์ที่อาจแกย่ออ่จา่่ันได้เป็นสวนๆโดย
ไมเสียรูปลั่ษณะของทรัพย์เดิม แกละแกตแกละสวนที่แกย่ออ่ไปได้รูปบริบูรณ์ใน
ตัวเอง เชน ที่ดินซึ่งอาจแกย่เป็นแกปลงเล็่ๆ หลายแกปลงได้ ข้าวสารซึ่งอาจ
แกย่เป็นหลาย่ระสอบได้ น้าดื่มอาจแกย่ใสขวดหลายๆขวดได้
2) ทรัพย์แบ่งไม่ได้
ทรัพย์แบ่งไม่ได้ หมายถึง ทรัพย์ซึ่งไม่สามารถแยกออกจากกันได้
หากแยกออกจากกันจะทาให้เปลี่ยนแปลงภาวะหรือรูปลักษณะของทรัพย์จน
ผิดแลกไปจากเดิม เช่น เก้าอี้ หากแยกขาเก้าอี้ออกไปก็จะทาให้เก้าอี้ใช้นั่ง
ไม่ได้อีกต่อไป หรือกางเกง เสื้อ หนังสือ กระทะ นาฬิกา เป็นต้น
นอกจากนี้ทรัพย์แบ่งไม่ได้ยังรวมถึงทรัพย์ที่มีกฎหมายบัญญัติว่าแบ่งไม่ได้
ด้วย เช่น หุ้นของบริษัทจากัด ทรัพย์อันเป็นส่วนควบ ภาระจายอม เป็นต้น
หา่ใช้เ่ณฑ์ความสามารถใน่ารถือครองเอาทรัพย์สินมาพิจารณาจะ
สามารถแกบงทรัพย์สินได้เป็น 2 ประเภท คือ (1) ทรัพย์นอ่พาณิชย์ ( 2 )
ทรัพย์ในพาณิชย์
1 ทรัพย์นอ่พาณิชย์
ทรัพย์นอ่พาณิชย์ หมายถึง ทรัพย์ที่ไมสามารถยึดถือเอาได้ แกละ
ทรัพย์ที่ไมสามารถโอนแก่่ันได้โดยชอบของ่ฎหมาย ทรัพย์นอ่พาณิชย์จะเป็น
สังหาริมทรัพย์หรืออสังหาริมทรัพย์่็ได้ ทรัพย์นอ่พาณิชย์มี 2 ประเภท ดังนี้
(1) ทรัพย์ที่ไม่สามารถยึดถือเอาได้ ความจริงแล้วทรัพย์นอก
พาณิชย์ประเภทนี้ไม่ใช่ทรัพย์และทรัพย์สินเพราะจะเป็นทรัพย์สินได้ต้อง
สามารถถือเอาได้ ทรัพย์นอกพาณิชย์ประเภทนี้ ได้แก่ สายลม แสงแดด
ดวงดาว ดวงอาทิตย์ เป็นต้น
(2) ทรัพย์ที่ไม่สามารถดอนกันได้โดยชอบด้วยกกหมาย หมายถึง
ทรัพย์สินที่ไม่สามารถจาหน่ายจ่ายโอนได้ดังเช่นทรัพย์สินทั่วๆไป เพราะ
กฎหมายไม่ต้องการให้อยู่ในความหมุนเวียนเปลี่ยนมือของบุคคล เช่น
สาธารณสมบัติของแผ่นดิน ที่วัด ที่ธรณีสงฆ์ เป็นต้น
2 ทรัพย์ในพาณิชย์
ทรัพย์ในพาณิชย์ หมายถึง ทรัพย์ที่ไม่ใช่ทรัพย์ยืนอกพาณิชย์
กล่าวคือ ทรัพย์ที่ประชาชนสามารถถือเอาได้อย่างเสรีและสามารถโอน
กันได้โดยกฎหมายห้ามไว้ เช่น เงิน ที่ดิน โทรศัพท์ มือถือ เก้าอี้
หนังสือ เป็นต้น
3.1 สวนควบ
สวนควบของทรัพย์ หมายถึง สวนซึ่งโดยสภาพแกหงทรัพย์หรือโดย
จารีตประเพณีแกหงท้องถิ่น เป็นสาระสาคัญในความเป็นอยูของทรัพย์นั้นแกละ
ไมอาจแกย่จา่่ันได้ นอ่จา่ทาลายทาให้บุบสลาย หรือทาให้ทรัพย์นั้น
เปลี่ยนแกปลงรูปทรงหรือสภาพไปทรัพย์ที่จะเป็นสวนควบได้จะต้องประ่อบด้วย
หลั่เ่ณฑ์ 2 ประ่าร ได้แก่
1) ส่วนควบต้องเป็นสาระสาคัญในความเป็นอยู่ของทรัพย์นั้น ทรัพย์
ที่เป็นส่วนคาบนั้นต้องมีความสาคัญถึงขนาดเป็นสิ่งที่ขาดเสียมิได้สาหรับ
ทรัพย์ที่ประธาน เช่น เลนส์แว่นตาย่อมเป็นสาระสาคัญของแว่นตา หาก
แว่นตาไม่มีเลนส์ย่อมไม่อาจใช้งานได้
2) ส่วนควบต้องมีสภาพที่ไม่อาจแยกออกจากทรัพย์นั้นได้ นอกจาก
จะทาให้บุบสลายหรือเสียรูปทรงหรือเสียสภาพไป เช่น ขาโต๊ะไม่อาจแยก
จากโต๊ะได้นอกจากจะทาให้มันบุบสลาย
ผลของการเป็นส่วนควบ เจ้าของทรัพย์(ประธาน) ย่อมเป็นเจ้าของ
กรรมสิทธิ์ในส่วนควบ เช่น ดาขโมยกระเบื้องมุงหลังคาของแดง เมื่อดานา
กระเบื้องดั้งกล่าวมามุงหลังคาบ้านของตนกระเบื้องนั้นก็จะเป็นส่วนควบ
ของบ้านดา ดั้งนั้น กรรมสิทธิ์ในกระเบื้องอันเป็นส่วนควบนั้นย่อมเป็นของ
ดาซึ่งเป็นเจ้าของบ้าน แม้การกระทาของดาจะเป็นละเมิดและเป็นความผิด
อาญาฐานลักทรัพย์ก็ตามข้อยกเว้นของส่วนควบ ทรัพย์บ้างประเภทแม้จะ
มีหลักเกณฑ์ครบองค์ประกอบการเป็นส่วนควบทั้ง 2 ประการ แต่ก็ไม่เป็น
ส่วนควบเพราะเป็นข้อยกเว้นตามกฎหมาย ซึ่งได้แก่
1) ไม้ล้มลุกหรือธัญชาติ
2) ทรัพย์ที่ติดกับที่ดินหรือโรงเรือนเป็นการชั่วคราว
3) โรงเรือนหรือสิ่งปลุกสร้างที่ปลุกลงในที่ดินของผู้อื่นโดยมีสิทธิเหนือ
ที่ดินนั้น กรณีที่บุคคลหนึ่งได้สร้างโรงเรือนหรือสิ่งปลุกสร้างของตนไว้ในที่ดิน
ของผู้อื่นโดยมีสิทธิไม่ว่าจะเป็นสิทธิตามกาหมาย สิทธิตามสัญญา หรือสิทธิ
โดยความยินยอมของเจ้าของที่ดิน ดารงเรือนหรือสิ่งปลุกสร้างนั้นย่อมไม่เป็น
ส่วนควบของที่ดิน เช่น แดงที่ดินของดาเพื่อปลูกบ้าน หากแดงสร้างบ้านใน
ที่ดินของดา บ้านย่อมไม่เป็นส่วนควบของที่ดิน
หมายถึง สังหาริมทรัพย์ที่เจ้าของทรัพย์ประธานใช้เพื่อ
ประโยชน์แก่่ารดูแกลใช้สอย หรือรั่ษาทรัพย์ประธาน แกละเป็นของใช้ประจา
อยู่ับทรัพย์ประธาน โดยเจ้าของทรัพย์ประธานนาสังหาริมทรัพย์ของตนนั้นมา
ติดหรือปรับเข้าไว้่ับทรัพย์ประธาน เชน ล้ออะไหลรถยนต์เป็นอุป่รณ์ของ
รถยนต์ ที่สูบลมจั่รยาน (ที่ติดอยู่ับจั่รยาน ) เป็นอุป่รณ์ของจั่รยาน
เป็นต้น
1) อุป่รณ์จะต้องเป็นสังหาริมทรัพย์ เชน ่รงน่เป็นอุป่รณ์ของน่
เพราะ่รงน่เป็นสังหาริมทรัพย์ แกตเลาไ่้ไมเป็นอุป่รณ์ของไ่เพราะเป็น
อสังหาริมทรัพย์ เล้าไ่จึงเป็นสวนควบของที่ดิน
2) อุป่รณ์จะต้องมีทรัพย์ประธานเสมอ หา่ไมมีทรัพย์ประธาน่็จะไม
สามารถมีทรัพย์อุป่รณ์ได้ เชน ช้อน่ับส้อมนั้นไมเป็นอุป่รณ์ซึ่ง่ันแกละ่ัน
เพราะไมมีทรัพย์ชิ้นใดเป็นทรัพย์ประธาน ทั้งนี้ เนื่องจา่ช้อน่ับส้อมมีความสาคัญ
เทาๆ่ัน
3) อุปกรณ์ต้องเป็นของใช้ประจาอยู่กับทรัพย์ประธาน หากนามาใช้
เพียงครั้งคราวทรัพย์นั้นไม่เป็นอุปกรณ์ ส่วนการใช้เป็นประจา หมายถึง การ
นามาใช้ในลักษณะยืนยาวตลอดไปแต่ไม่จาเป็นต้องนามาใช้กับทรัพย์ที่เป็น
ประธานตลอดเวลา เช่น ลูกกุญแจเป็นอุปกรณ์ของแม่กุญแจ ไม้พายเป็น
อุปกรณ์ของเรือ เป็นต้น
4) อุปกรณ์ต้องเป็นไปเพื่อใช้ประโยชน์ในการจัด ดูแล ใช้สอย หรือ
รักษาทรัพย์ ประธาน อุปกรณ์ต้องมีไว้เพื่อประโยชน์ของทรัพย์ประธานไม่ใช่
เพื่อประโยชน์ของเจ้าของทรัพย์ประธาน เช่น ผ้าคลุมรถและเครื่องมือช่างที่ติด
ประจารถยนต์เป็นอุปกรณ์ของรถยนต์แต่วิทยุติดรถยนต์ไม่เป็นอุปกรณ์ของ
รถยนต์เพราะไม่ได้เป็นประโยชน์แก่รถยนต์แต่เป็นประโยชน์เจ้าของรถ
5) อุปกรณ์และทรัพย์ประธานต้องมีเจ้าของเป็นคนเดียวกัน
หากเจ้าของทรัพย์ประธานกับทรัพย์ที่นามาติดไว้เป็นเจ้าของคนละคน
กัน ทรัพย์ที่นามาติดไว้ย่อมไม่เป็นอุปกรณ์ เช่น แดงยืมรถยนต์ของดา
มาขับ ระหว่างที่ยืมแดงได้ซื้อยางอะไหล่มาเก็บไว้ประจารถ จะเห็นได้
ว่ารถยนต์เป็นของดา แต่ยางอะไหล่เป็นแดง ดังนี้ ยางอะไหล่ดังกล่าว
จึงเป็นอุปกรณ์ของรถยนต์
6) อุปกรณ์จะต้องเป็นทรัพย์ที่เจ้าของทรัพย์ประธานได้นามาสู้ทรัพย์
ประธานในฐานะเป็นของใช้ประกอบกับทรัพย์ประธาน เช่น ซื้อกรงมาใส่นก
เพื่อป้ องกันนกหนี กรงนกย่อมเป็นอุปกรณ์ของนก แต่ถ้ามีกรงงาช้างเอาไว้ดู
เล่น เจ้าของต้องการซื้อนกมาเพียงเพื่อจะทาให้กรงงาช้างของตนดูสวยขึ้น
เท่านั้น เจ้าของกรงจึงได้ซื้อนกมาใส่ในกรง ในกรณีนี้กรงงาช้างจึงไม่ใช่
อุปกรณ์ของนก เพราะเจ้าของกรงไม่มีเจตนานากรงมาเป็นอุปกรณ์ของนก
ผลของการเป็นอุปกรณ์ ถ้าไม่ได้ตกลงเป็นอย่างอื่น เจ้าของทรัพย์
ประธานย่อมเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ในอุปกรณ์
1
2
3
ดอ่ผลของทรัพย์แกบงได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ (1) ดอ่ผลธรรมดา (2)
ดอ่ผลนิตินัย
1. ดอ่ผลธรรมดา
ดอ่ผลธรรมดา หมายถึง ทรัพย์ที่เ่ิดขึ้นตามธรรมชาติจา่ทรัพย์ โดย
่ารมีหรือใช้แกมทรัพย์ตามป่ติแกละสามารถถือเอาได้เมื่อขาดจา่แกมทรัพย์นั้น
เชน ลู่ไ่เป็นดอ่ผลของแกมไ่ ลู่มะมวงเป็นดอ่ผลของต้นมะมวง น้านม
ของโคที่รีดออ่มาได้เป็นดอ่ผลของแกมโคเป็นดอ่ผลของที่ดิน เป็นต้น ดอ่ผล
ธรรมดามีลั่ษณะสาคัญหลายประ่าร ดังนี้
1) ดอกผลธรรมดาต้องเป็นทรัพย์ที่เพิ่มพูนงอกเงยต่างหากจากตัว
แม่ทรัพย์ โดยแม่ทรัพย์ที่ผลิตดอกผลนั้นคงสภาพหรือคงลักษณะเป็นแม่
ทรัพย์อยู่อย่างเดิมโดยไม่เปลี่ยนแปลงไป เช่น ลูกสุกรเมื่อคลอดออก
มาแล้วแม่สุกรก็ยังคงสภาพลักษณะเป็นแม่สุกรอย่างเช่นเดิม ดังนั้น ลูก
สุกรจึงเป็นดอกผลธรรมดาของแม่สุกร
2) ทรัพย์ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติจากแม่ทรัพย์จะเป็นดอกเป็นดอก
ผลธรรมดาก็ต่อเมื่อขาดหรือตกออกจากแม่ทรัพย์แล้ว ถ้ายังไม่ขาดหรือ
ตกออกจากแม่ทรัพย์ เช่น ผลไม้ที่อยู่บนต้นหรือลูกสัตว์ที่อยู่ในท้องก็ยังไม่
ถึงเป็นดอกผลธรรมดา ส่วนการขาดหรือตกออกจากแม่ทรัพย์นั้นอาจเกิด
โดยธรรมชาติหรือการกะทาของมนุษย์ก็ได้ เช่น สอยมะม่วงจากต้น
มะม่วง รีดนมจากแม่โค
2. ดอกผลนิตินัย
ดอกผลนิตินัย หมายถึง ทรัพย์หรือประโยชน์อย่างอื่นที่ได้มา
เป็นครั้งคราวแก่เจ้าของทรัพย์จากผู้อื่นเพื่อการได้ใช้ทรัพย์นั้น และ
สามารถคานวณและถือเลือกเอาได้เป็นรายวันหรือตามระยะเวลาที่
กาหนดไว้ เช่น ดอกเบี้ยจากการที่ให้กู้ยืมเงิน ค่าเช่าจากการให้เช่า
ทรัพย์สิน กาไรหรือเงินปัดผลจากการถือหุ้นในบริษัท เป็นต้น ดอกผลนิติ
นัยมีลักษณะสาคัญหลายประการ ดังนี้
1) ดอกผลนิตินัยต้องเป็นทรัพย์ที่ให้แก่เจ้าของแม่ทรัพย์ เช่น ค่า
เช่าต้องให้แก่เจ้าของทรัพย์ที่ให้เช่า ดอกเบี้ยต้องให้แก่เจ้าของเงินฝากหรือ
เจ้าของเงินกู้ (ผู้ให้กู้) เงินปันผลในบริษัทต้องให้แก่ผู้ถือหุ้น
2) ดอกผลนิตินัยต้องเป็นการตอบแทนจากผู้อื่นที่ได้ใช่แม่ทรัพย์
นั้น
3) ดอกผลนิตินัยจะต้องได้เป็นครั้งคราวจากการใช้แม่ทรัพย์
เนื่องจากดอกผลนิตินัยไม่ได้เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติอย่างดอกผล
ธรรมดาแต่เกิดโดยผลของกฎหมาย ตัวอย่างเช่น เงินปัดผลได้รับประจา
ทุกปี ดอกเบี้ยหรือค่าเช่าได้รับ เป็นต้น
สาธารณสมบัติของแกผนดิน หมายถึง ทรัพย์สินของแกผนดินซึ่งใช้เพื่อ
สาธารณประโยชน์หรือสงวนไว้เพื่อประโยชน์รวม่ัน เชน ที่ดินร้างวางเปลา
ที่ดินซึ่งเวนคืน่ลับมาเป็นของรัฐทรัพย์สินสาหรับประชาชนใชรวม่ัน (อาทิ
ที่ชายตลิ่ง ทางน้า ทางหลวง ทะเลสาบ ฯลฯ)
จา่นิยามข้างต้นจะเห็นได้วา ทรัพย์สินใดจะเป็นสาธารณสมบัติ
ของแกผนดินได้จะต้องเข้าองค์ประ่อบ 2 ประ่าร ตังตอไปนี้
1) ทรัพย์สินนั้นต้องเป็นทรัพย์สินของแผ่นดิน ซึ่ง “ทรัพย์สินของ
แผ่นดิน” หมายถึง บรรดาทรัพย์สินที่แผ่นดินหรือรัฐเป็นเจ้าของ ทั้งนี้ไม่ว่าจะ
เป็นอสังหาริมทรัพย์หรือสังหาริมทรัพย์
2) ทรัพย์สินนั้นได้ใช้เพื่อสาธารณประโยชน์หรือสงวนไว้เพื่อใช้
ประโยชน์ร่วมกัน ทรัพย์สินของแผ่นดินซึ่งไม่ได้ใช้เพื่อสาธารณประโยชน์หรือ
สงวนไว้เพื่อใช้ประโยชน์ร่วมกันย่อมไม่เป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน แต่
เป็นเพียงทรัพย์สินของแผ่นดินธรรมดาเท่านั้น เช่น ที่ราชพัสดุที่ให้เอกชนเช่า
หรือสินค้าที่หน่วยงานของรัฐผลิตออกจาหน่ายเป็นเพียงทรัพย์สินของแผ่นดิน
ธรรมดาไม่เป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
มี 3 ประ่าร คือ
(1) สาธารณสมบัติของแกผนดินนั้นจะโอนแก่่ันไมได้เว้นแกตจะโอน
โดยอาศัยอานาจตามพระราชบัญญัติเฉพาะหรือพระราช่ฤษฎี่า
(2) สาธารณสมบัติของแกผนดินไมสามารถถู่ครอบครองปรปั่ษ์ได้
แกละ
(3) สาธารณสมบัติของแกผนดินไมสามารถถู่ยึดมาบังคับคดีได้
่รรมสิทธิ์ หมายถึง ทรัพยสิทธิที่แกสดงความเป็นเจ้าของทรัพย์สินหรือ
สิทธิทั้งปวงที่ผู้เป็นเจ้าของมีอยูในทรัพย์สิน อันได้แก่
(1) สิทธิใช้สอย
(2) สิทธิจาหนายจายโอน
(3) สิทธิได้ดอ่ผลในทรัพย์สิน
(4) สิทธิขัดขวางมิให้ผู้อื่นเข้ามายุงเ่ี่ยว่ับทรัพย์สินของตน
(5) สิทธิติดตามเอาทรัพย์คืนจา่ผู้ไมมีสิทธิจะยึดถือไว้
ตัวอย่าง แดงเป็นเจ้าของรถยนต์คันหนึ่ง กล่าวอีกนัยหนึ่งแดงมี
กรรมสิทธิ์ในรถยนต์คันดังกล่าว ดังนั้น แดงจึงสามารถใช้รถยนต์ของตน
อย่างไรก็ได้ นาไปขายก็ได้ นาไปให้เช่าก็ได้ ขัดขวางไม่ให้ผู้ใดมายุ่ง
เกี่ยวกับรถของตน และหากมีผู้ใดเอารถของตนไปแดงก็สามารถติดตาม
เอารถคืนจากผู้นั้นได้
่ารครอบครองปรปั่ษ์ หมายถึง ่ารได้่รรมสิทธิ์โดยอายุความ
่ลาวคือ บุคคลใดครอบครองทรัพย์สินของผู้อื่นโดยสงบแกละเปิดเผยด้วยเจตนา
เป็นเจ้าของ ถ้าเป็นอสังหาริมทรัพย์ได้ครอบครองติดตอ่ันเป็นเวลา 10 ปี
ถ้าเป็นสังหาริมทรัพย์ไดครอบครองติดตอ่ันเป็นเลา 5 ปีบุคคลนั้นยอมได้
่รรมสิทธิ์ในทรัพย์ที่ตนครอบครอง
หากพิจารณาจากนิยมข้างต้นแล้ว จะเห็นได้ว่าบุคคลใดจะได้
กรรมสิทธิ์โดยการครอบครองปรปักษ์ก็ต่อเมื่อมีข้อเท็จจริงครบ
องค์ประกอบ 5 ประการ คือ 1 ทรัพย์สินที่ครอบครองต้องเป็นทรัพย์สินของ
ผู้อื่น 2 ต้องครอบครองทรัพย์สินโดยสงบและเปิดเผย 3 ต้องครอบครอง
ทรัพย์สินนั้นด้วยเจตนาเป็นเจ้าของ 4 ต้องครองทรัพย์สินนั้นติดต่อกัน
และ 5 ต้องครอบครองครบเวลาที่กฎหมายกาหนด โดยอสังหาริมทรัพย์
ต้องครอบครองติดต่อกันเป็นเวลา 10 ปี ส่วนสังหาริมทรัพย์ต้อง
ครอบครองติดต่อกันเป็นเลา 5 ปี
ตัวอย่าง ดาซื่อที่ดินต่างจังหวัดทิ้งไว้ แดงเป็นชาวบ้านบริเวณ
นั้นได้เข้าไปครอบครองที่ดินของดาโดยปลูกบ้านและล้อมรั้วที่ดินดังกล่าว
อีกทั้งแดงได้บอกกล่าวว่าที่ดินนั้นเป็นของตน แดงครอบครองที่ดินของดา
ติดต่อกันมาเป็นเลา 10 ปี ดั้งนั้น แดงย่อมได้กรรมสิทธิ์ในที่ดินดั้งกล่าว
ส่วนดาไม่มีสิทธิ์ในที่ดินดั้งกล่าวอีกต่อไป
7.1 ทางจาเป็น
ทางจาเป็น หมายถึง ทางออ่ที่จาเป็นต้องผานที่ดินของบุคคลอื่น
ไปสูที่สาธารณะซึ่ง่าหมาย่าหนดไว้สารับที่ดินที่ไมมีทางออ่ไปสูทาง
สาธารณะ เนื่องจา่ถู่ปิดล้อมโดยที่ดินอื่นหรือถู่ปิดล้อมโดย บึ่ง ทะเล ที่
ตางระดับทั้งนี้ มั่เรีย่ที่ดินที่ไมมีทางออ่สู้ทางสาธารณะวา ที่ดินตาบอด
โดยเจ้าของที่ดินตาบอดที่ใช้ทางจาเป็นต้องเสียคาทดแกทนแก่เจ้าของที่ดินที่ยอม
ให้ผานไปสูทางสาธารณะ แกละต้องใช้ทางจาเป็นให้เ่ิดความเสียหายแก่
เจ้าของที่ดินน้อยที่สุด
ตัวอย่าง แดงมีที่ดินแปลงหนึ่งที่ไม่มีทางออกสู่ทางสาธารณะ
เนื่องจากทศเหนือติดกับที่ดินของดาซึ่งติดอยู่กับถนนหลวง ทิศใต้ติดกับ
แม่น้าที่ไม่สามารถสัญจรไปมาได้ ทิศตะวันออกติดกับที่ดินของนายเขียว
และทิศตะวันตกติดกับที่ดินของฟ้ า ดั้งนั้น แดงสามารถผ่านที่ดินของดา
ไปสู่ถนนสาธารณะได้ โดยแดงต้องเสียค่าทดแทนต่อดาเพื่อตอบแทนการ
ใช้ทางจาเป็นบนที่ดินของดา หากดาไม่ยอมให้ผ่านที่ดินของตนแดงก็สาม
รถฟ้ องศาลให้เปิดทางจาเป็นได้
7.2 ภาระจายอม
ภาระจายอม หมายถึง ทรัพย์สินที่เจ้าของอสังหาริมทรัพย์
หนึ่งที่เรียกว่า สามยทรัพย์ มีสิทธิ์ใช้ประโยชน์บางอย่างในอีก
อสังหาริมทรัพย์หนึ่งที่เรียกว่า ภารยทรัพย์ อันเนื่องจากเจ้าของ
ภารยทรัพย์ต้องมีหน้าที่บางอย่างที่กระทบต่อทรัพย์สินของตน หรือต้อง
งดเว้นการใช้สิทธ์บางอย่างอันมีอยู่ในกรรมสิทธิ์ของทรัพย์สินนั้น เพื่อ
ประโยชน์แก่สามยทรัพย์
ภาระจายอมจะเกิดขึ้นได้ต้องเข้าองค์ประกอบ 3 ประการ คือ
1 ต้องมีอสังหาริมทรัพย์ 2 อสังหาริมทรัพย์ 2 อสังหาริมทรัพย์ทั้งสอง
ต้องมีเจ้าของคนละคนกัน และ 3 เจ้าของภารยทรัพย์ต้องมีหน้าที่
บางอย่างหรือต้องงดเว้นการใช้สิทธิ์บางอย่างเพื่อประโยชน์แก่สาม
ทรัพย์ ทั้งนี้ การได้มาของภาระจายอมอาจได้มา 2 วิธี ได้แก่
1) การได้มาโดยนิติกรรม เป็นกรณีที่เจ้าของสามยทรัพย์และ
ภารยทรัพย์ได้ทานิติกรรมก่อตั้งภาระจายอมโดยทาเป็นหนังสือละจด
ทะเบียนต่อเจ้าหน้าที่ เช่น ดาได้เป็นเจ้าของที่ดินแปลงหนึ่งได้ขอเดิน
ผ่านที่ดินของแดงออกสู่ทางสาธารณะ แดงได้ตงลงให้ดาเดินผ่าน
ที่ดินของตนได้ ทั้งสองจึงได้ทาข้อตกลงดั้งกล่าวเป็นหนังสือและจด
ทะเบียนต่อเจ้าหน้าที่
2) การได้มาโดยผลประโยชน์ของกฎหมา เป็นกรณีที่กฎหมาย
บัญญัติให้การกระทาบางอย่างก่อให้เกิดภาระจายอมได้ เช่น การได้
ภารจายอมโดยอายุความ ซึ่งกฎหมายได้นาหลักเกณฑ์การครอบครอง
ปรปักษ์ใช้โดยอนุโลม กล่าวคือ เจ้าของสามยทรัพย์ต้องใช้ประโยชน์
ภารยทรัพย์ติดต่อกัน 10 ปี ซึ่งต้องใช้ประโยชน์โดยสงบและเปิดเผยด้วย
เจตนาให้ได้ภารจายอมในทรัพย์นั้น เช่น แดงเป็นเจ้าของที่ดินแปลง
หนึ่งได้เดินผ่านที่ดินของดาออกสู่ทางสาธารณะโดยสงบและเปิดเผยเป็น
เวลา 10 ปีแล้ว แดงยอมได้สิทธิ์ภาระจายอมในการเดินผ่านที่ดินของดา
8.1 สิทธิ์ของบุคคลซึ่งทาให้สัตว์ปาบาดเจ็บ
บุคคลที่ทาให้สัตว์ปาบาดเจ็บแกล้วติดตามไป แกละบุคคลอื่นจับสัตว์
นั้นได้หรือสัตว์นั้นตายลงในที่ดินของบุคคลอื่น บุคคลที่ทาให้สัตว์ปาบาดเจ็บ
แกล้วติดตามไปยอมเป็นเจ้าของ่รรมสิทธิ์นั้นตามหลั่ สิทธิของผู้ได้่น
โดยบุคคลที่จะได้รับความคุ้มครองตามหลั่เ่ณฑ์ข้างต้นต้องมีข้อเท็จจริง
ครบสอง ประ่าร ดังนี้
1) บุคคลนั้นต้องทาให้สัตว์ป่าบาดเจ็บ ซึ่งทาให้สัตว่าบาดเจ็บ
นั้น หมายถึง ต้องทาให้สัตว์ป่านั้นไม่อาจหนีไปได้จนพ้นเป็นอิสระ
ดังนั้น การทาให้สัตว์ป่าป่าเจ็บเพียงเล็กน้อย เช่น ขนหลุด มีรอยขีด
ข่วน เลือดไหลเล็กน้อย สัตว์ยังสามารถหนีเป็นอิสระได้ ย่อมไม่ถือว่า
ทาให้สัตว์บาดเจ็บตามความหมายข้างต้น
2) บุคคลที่ทาให้สัตว์ป่าบาดเจ็บต้องติดตามสัตว์ป่าโดยพลั่น
เพื่อเข้าถือเอาสัตว์นั้น
ตัวอย่าง แดงยิงนกจนปีกหักจนไม่สามารถบินต่อไปได้และได้ตกลง
มาในที่ดินของดา แดงจึงติดตามเข้าไปในที่ดินของนายดาเพื่อเก็บนกตัวนั้น
แต่ดาจับนกตัวนั้นได้ก่อน กรณีนี้แดงย่อมเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์ในนกตัวนั้น
ไม่ใช่นายดา แม้ว่าดาจะเป็นเจ้าของที่ดินและจับนกตัวนั้นได้ก็ตาม เพราะ
แดงเป็นบุคคลที่ทาให้นกบาดเจ็บถึงขนาดไม่สามารถหนีไปไหนได้และได้
ติดตามไปจับนกตัวนั้น แต่หากแดงยิงนกเพียงส่วนหางทาให้ขนนกร่วง
กระจุยลงมา ปรากฏว่านกตัวนั้นยังสามารถบินต่อได้โดยปกติ นกตัวนั้นได้
บินเข้าไปในที่ดินของดาและถูกดาจับได้ กรณีนี่ดาย่อมเป็นเจ้าของกรรมสิทธิ์
ในนกตัวนั้นไม่ใช่แดง แม้แดงจะเป็นบุคคลที่ได้ทาให้นกบาดเจ็บและติดตาม
ไปก็ตามเพราะการที่แดงทาให้ขนนกร่วงลงมายังไม่ได้ทาให้นกบาดเจ็บถึง
ขนาดเสื่อมสภาพในการหนี
8.2 สิทธิของผู้ซื้อทรัพย์สินโดยสุจริตจากตลาดเปิดเผย
บุคคลใดซื้อทรัพย์สินมาโดยสุจริตในการขายทอดตลาด หรือใน
ท้องตลาด หรือจากพ่อค้าซึ่งขายของชนิดนั้นบุคคลนั้นไม่จาต้องคืน
ทรัพย์สินที่ซื้อให้แก่เจ้าของที่แท้จริง เว้นแต่เจ้าของจะชดใช้ราคาที่ซื้อมา
บุคคลที่จะได้รับความคุ้มครองตามหลักเกณฑ์ข้างต้นต้องมี
ข้อเท็จจริงครบองค์ประกอบ 2 ประการ ดังนี้
1) บุคคลนั้นต้องซื้อทรัพย์สินโดยสุจริต กล่าวคือ บุคคลนั้นต้อง
ซื้อทรัพย์สอนโดยไม่รู้ว่าเป็นทรัพย์สินที่ขโมยมา หรือไม่รู้ว่าทรัพย์สินนั้น
ไม่ใช่ของผู้ขาย หรือไม่รู้ว่าผู้ขายไม่มีอานาจขายสินค้านั้น
2) บุคคลนั้นต้องซื้อทรัพย์สินจากการขายทอดตลาด หรือจาก
ท้องตลาด หรือจากพ่อค้าซึ่งขายของชนิดนั้น
ตัวอย่าง แดงเป็นพ่อค้าขายโทรศัพท์มือถือ แดงตกลงขาย
โทรศัพท์มือถือที่ตนขโมยมาจากดาให้แก่เขียวในราคา 5,000บาทโดย
เขียวไม่ทันทราบว่าโทรศัพท์มือถือที่ตนซื้อนั้นเป็นทรัพย์สินที่ถูกขโมยมา
ต่อมาดาซึ่งเป็นเจ้าของที่แท้จริงได้เรียกให้นายเขียวคืนโทรศัพท์มือถือนั้น
แก่ตน กรณีนี้เขียวไม่ต้องคืนโทรศัพท์มือถือให้แก่นายดา เพราะเขียวซื้อ
โทรศัพท์มือถือมาโดยสุจริตจากพ่อค้าซึ่งขายของชนิดนั้น เขียวจะต้องคืน
โทรศัพท์มือถือให้แก่ดาก็ต่อเมื่อดาได้ชดใช้เงินจานวน 5000 บาท ซึ่งเป็น
ราคาที่เขียวซื้อมา ให้แก่เขียว
8.3 การที่บุคคลหลายคนเรียกเอาสังหาริมทรัพย์เดียวกัน
ในกรณีที่บุคคลหลายคนเรียกเอาสังหาริมทรัพย์เดียวกันโดย
อาศัยหลักกรรมสิทธิ์ต่างกัน ทรัพย์นั้นตกอยู่ในครอบครองของบุคคลใด
บุคคลนั้นย่อมมีสิทธิ์ยิ่งกว่าบุคคลอื่นๆแต่บุคคลนั้นต้องได้ทรัพย์นั้นมา
โดยมีค่าตอบแทนและได้การครอบครองมาโดยสุจริต
น.ส. ศิริพร จุ้ยปาน รหัส 521120608
น.ส. ปวีณา แจ่มหม้อ รหัส 521120622
นายแลกดี ฉายานามชัย รหัส 521120633
นายเอกชัย ผาแสนเถิน รหัส 521120638
น.ส.เมธิณี คาบรรลือ รหัส 521120640
น.ส.นริศรา คงคาดิษฐ์ รหัส 521120641
จบการนาเสนอ

More Related Content

What's hot

กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินYosiri
 
กฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคลกฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคลYosiri
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญาYosiri
 
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญากฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญาYosiri
 
แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1
แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1
แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1Nurat Puankhamma
 
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรมกฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรมYosiri
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญาYosiri
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมYosiri
 
บทที่ 4หนี้
บทที่ 4หนี้บทที่ 4หนี้
บทที่ 4หนี้Chi Wasana
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอHikaru NoSai
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมTa Lattapol
 
กฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวกฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวYosiri
 
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีเศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ใบความรู้ ชาดก ป.5+483+dltvsocp5+54soc p05 f08-1page
ใบความรู้ ชาดก ป.5+483+dltvsocp5+54soc p05 f08-1pageใบความรู้ ชาดก ป.5+483+dltvsocp5+54soc p05 f08-1page
ใบความรู้ ชาดก ป.5+483+dltvsocp5+54soc p05 f08-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อเอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อNurat Puankhamma
 
สารรอบตัว
สารรอบตัวสารรอบตัว
สารรอบตัวNetiie Thanaporn
 

What's hot (20)

กฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สินกฎหมายทรัพย์สิน
กฎหมายทรัพย์สิน
 
กฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคลกฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคล
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญากฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
กฎหมายลักษณะเอกเทศสัญญา
 
แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1
แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1
แบบฝึกหัดกฎหมายเอกเทศสัญญา 1
 
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรมกฎหมายลักษณะนิติกรรม
กฎหมายลักษณะนิติกรรม
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
 
บทที่ 4หนี้
บทที่ 4หนี้บทที่ 4หนี้
บทที่ 4หนี้
 
Light[1]
Light[1]Light[1]
Light[1]
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถม
 
กฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวกฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัว
 
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีเศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
 
ใบความรู้ ชาดก ป.5+483+dltvsocp5+54soc p05 f08-1page
ใบความรู้ ชาดก ป.5+483+dltvsocp5+54soc p05 f08-1pageใบความรู้ ชาดก ป.5+483+dltvsocp5+54soc p05 f08-1page
ใบความรู้ ชาดก ป.5+483+dltvsocp5+54soc p05 f08-1page
 
ละเมิด
ละเมิดละเมิด
ละเมิด
 
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อเอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
เอกเทศสัญญา 1: เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ
 
สารรอบตัว
สารรอบตัวสารรอบตัว
สารรอบตัว
 

More from Yosiri

กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้Yosiri
 
ตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนYosiri
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันกฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันYosiri
 
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญากฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาYosiri
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญาYosiri
 
กฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวกฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวYosiri
 
กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล Yosiri
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก Yosiri
 
บุคคล 17
บุคคล 17บุคคล 17
บุคคล 17Yosiri
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้Yosiri
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญาYosiri
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมYosiri
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกกฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกYosiri
 
ครอบครัว
ครอบครัวครอบครัว
ครอบครัวYosiri
 
กฎหมายบุุคคล ปี1/56
กฎหมายบุุคคล ปี1/56กฎหมายบุุคคล ปี1/56
กฎหมายบุุคคล ปี1/56Yosiri
 
กฎหมายเครื่องหมายการค้า
กฎหมายเครื่องหมายการค้ากฎหมายเครื่องหมายการค้า
กฎหมายเครื่องหมายการค้าYosiri
 
กฎหมายสิทธิบัตร
กฎหมายสิทธิบัตรกฎหมายสิทธิบัตร
กฎหมายสิทธิบัตรYosiri
 
กฎหมายลิขสิทธิ์
กฎหมายลิขสิทธิ์กฎหมายลิขสิทธิ์
กฎหมายลิขสิทธิ์Yosiri
 

More from Yosiri (18)

กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
ตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียน
 
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวันกฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
 
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญากฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญา
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 
กฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัวกฎหมายครอบครัว
กฎหมายครอบครัว
 
กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล กฎหมายบุคคล
กฎหมายบุคคล
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก
 
บุคคล 17
บุคคล 17บุคคล 17
บุคคล 17
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
กฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญากฎหมายเอกเทศสัญญา
กฎหมายเอกเทศสัญญา
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
 
กฎหมายมรดก
กฎหมายมรดกกฎหมายมรดก
กฎหมายมรดก
 
ครอบครัว
ครอบครัวครอบครัว
ครอบครัว
 
กฎหมายบุุคคล ปี1/56
กฎหมายบุุคคล ปี1/56กฎหมายบุุคคล ปี1/56
กฎหมายบุุคคล ปี1/56
 
กฎหมายเครื่องหมายการค้า
กฎหมายเครื่องหมายการค้ากฎหมายเครื่องหมายการค้า
กฎหมายเครื่องหมายการค้า
 
กฎหมายสิทธิบัตร
กฎหมายสิทธิบัตรกฎหมายสิทธิบัตร
กฎหมายสิทธิบัตร
 
กฎหมายลิขสิทธิ์
กฎหมายลิขสิทธิ์กฎหมายลิขสิทธิ์
กฎหมายลิขสิทธิ์
 

กฎหมายทรัพย์สิน