SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
CDงานนาเสนอข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับโรคทางระบบประสาท
เรื่อง โรคอัลไซเมอร์
งานนาเสนอข้อมูลนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาชีววิทยา5(ว30245)
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560
นาเสนอ
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
สมาชิกกลุ่มนาเสนอ
นายกชณัฐ ระวังสุข เลขที่ 22
นายกิตติกานต์โลว์ เลขที่ 24
นายภูคิน รัตนเมธาชาติ เลขที่ 31
นายอมรเศรษฐ์ สอนนิยม เลขที่ 39
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่6 ห้อง143
แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์
กลุ่มที่ 1
โรคที่เกี่ยวข้องกับระบบประสาท
โรคอัลไซเมอร์
สาเหตุของโรคอัลไซเมอร์
ผู้ป่วยประมาณ 7% มีสาเหตุมาจากพันธุกรรม และสามารถถ่ายทอดสู่ลูกหลานได้
ตาแหน่งความผิดปกติบนโครโมโซมที่พบชัดเจนแล้วว่าทาให้เกิดโรคอัลไซเมอร์อยู่บน
โครโมโซมคู่ที่ 21, 14, 1, และ 19 ผู้ที่มีความผิดปกติของพันธุกรรมเหล่านี้จะป่วยเป็นโรคอัล
ไซเมอร์ที่อายุน้อยกว่าคนที่ไม่ได้มีความผิดปกติทางพันธุกรรม นอกจากนี้พบว่าในผู้ป่วยโรค
กลุ่มอาการดาวน์ (Down’s syndrome) ซึ่งมีความผิดปกติคือมีสารพันธุกรรมของโครโมโซม
แท่งที่ 21 เกินมา หากมีชีวิตอยู่เกิน 40 ปี จะป่วยเป็นโรคอัลไซเมอร์ในที่สุด ผู้ป่วยส่วนใหญ่ที่
เหลือไม่ทราบสาเหตุที่ชัดเจน แต่พบปัจจัยเสี่ยงต่อการเป็นโรคอัลไซเมอร์ ดังนี้ คือ อายุที่มาก
ขึ้น มีประวัติคนในครอบครัวเป็นโรคนี้ เคยประสบอุบัติเหตุที่สมองหรือสมองได้รับ
บาดเจ็บ เป็นโรคอ้วน เป็นโรคเบาหวาน (เพิ่มความเสี่ยงขึ้นประมาณ 3 เท่า) เป็นโรคความดัน
โลหิตสูง และเป็นโรคไขมันในเลือดสูงแต่ระดับการศึกษาและระดับสติ ปัญญาไม่มีผลต่อการ
เพิ่มความเสี่ยงในการเกิดโรค นอกจากนี้ มีการศึกษาพบว่าสารเคมีในธรรมชาติบางตัว เช่น
อะลูมิเนียม ปรอท รวมทั้งไวรัสบางชนิด อาจเป็นสาเหตุของโรคนี้ แต่หลักฐานก็ยังไม่ชัดเจน
ประวัติความเป็นมา
โรคอัลไซเมอร์ (Alzheimer’s disease) เป็นหนึ่งในโรคสมองเสื่อมที่พบได้
บ่อยที่สุด โรคนี้ถูกบรรยายไว้ครั้งแรกโดยจิตแพทย์ชาวเยอรมันชื่อAlois Alzheimer ในปี
พ.ศ. 2499 ผู้ป่วยโรคนี้จะมีอาการสาคัญ คือความจาเสื่อม หลงลืม มีพฤติกรรมและนิสัย
เปลี่ยนไป อาการจะดาเนินไปอย่างช้าๆ แต่ค่อยๆรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ จนในที่สุดจะ
ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ และเสียชีวิตในที่สุด ไม่มีวิธีป้องกันหรือวิธีสาหรับรักษาให้หาย
ได้โรคอัลไซเมอร์ จะพบในผู้สูงอายุ ยิ่งอายุมากขึ้นก็จะพบอัตราการเป็นโรคมากขึ้นโดย
ในช่วงอายุ 65-69 ปี พบอุบัติการณ์การเกิดผู้ป่วยรายใหม่ประมาณ 3 คนต่อพันคนต่อปี
แต่หากเป็นช่วงอายุ 85-89ปี จะพบสูงถึง 40 คนต่อพันคนต่อปี พบได้ในทุกเชื้อชาติ เพศ
หญิงพบมากกว่าเพศชายเล็กน้อย อาจเนื่องจากเพศหญิงมีอายุยืนยาวกว่า ในประเทศไทย
มีผู้ป่วยโรคนี้ประมาณ 2-4% ของผู้ที่มีอายุมากกว่า 60 ปี และจะพบเพิ่มขึ้น 2 เท่าทุก 5 ปี
หลังอายุ 60 ปี
VDO ประกอบการนาเสนอ
ลักษณะอาการสาคัญของโรค
อาการของโรคนี้สามารถแบ่งได้ เป็น 4 ระยะ คือ
1.ระยะก่อนสมองเสื่อม 2. สมองเสื่อมระยะแรก
3. สมองเสื่อมระยะปานกล และ4.เสื่อมระยะสุดท้าย
1.ระยะก่อนสมองเสื่อม ในระยะนี้ผู้ป่วยจะมีปัญหาเรื่องการจดจาสิ่งที่พึ่งเรียนรู้มาไม่นาน แต่ว่ายังไม่มีอาการ
ที่ชัดเจน ผู้ป่วยสามารถดาเนินชีวิตประจาวันได้เป็นปกติ และยังสามารถตัดสินใจทาในสิ่งต่างๆได้ ยกเว้นเรื่อง
ที่สลับซับซ้อน
2.สมองเสื่อมระยะแรก ในระยะนี้ผู้ป่วยจะสูญเสียความทรงจาระยะสั้น หรือความจาที่เพิ่งเรียนรู้มา ลักษณะ
อาการ เช่นลืมของ ลืมเวลานัด ทานยารักษาโรคซ้าๆ ถามซ้า พูดซ้า ในระยะนี้การใช้ชีวิตของผู้ป่วยเริ่มไม่เป็น
ปกติ แต่ยังสามารถสื่อสารบอกความคิดพื้นฐานของตนได้ ทากิจวัตรประจาวันต่างๆได้ แต่ขาดความ
คล่องแคล่วเหมือนปกติ
3.สมองเสื่อมระยะปานกลาง ในระยะนี้ผู้ป่วยจะสูญเสียความทรงจาระยะสั้นไปเลย ส่วนความจา
ระยะยาว และความรู้ทั่วไป จะค่อยๆเสื่อมลง ในระยะนี้ถึงแม้ว่าผู้ป่วยจะอาศัยอยู่ในบ้านของตัวเองแต่
จะมีความรู้สึกว่าอยู่ต่างสถานที่ตลอดเวลา เรื่องของภาษาและการพูดจะมีปัญหาชัดเจน ทักษะเรื่อง
ของการอ่านและการเขียน จะค่อยๆเสื่อมลง ผู้ป่วยรู้สึกสับสน วิตกกังวล หงุดหงิด โมโหง่าย และ
อารมณ์แปรปรวน
4.สมองเสื่อมระยะสุดท้าย ในระยะนี้ผู้ป่วยจะสูญเสียความทรงจาทั้งหมด ทั้ง ระยะสั้น ระยะยาว และ
ความรู้ทั่วไป ผู้ป่วยต้องได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิด ผู้ป่วยจะไม่สามารถทากิจกรรมใดๆได้เลย แม้กระ
ทั้งการอาบน้า การกินข้าว การแต่งตัว การเดิน หรือการนั่ง และไม่สามารถควบคุมการขับถ่ายได้
แนวทางในการป้ องกันรักษาโรค
การป้ องกันโรคอัลไซเมอร์
1. ในผู้หญิงวัยหมดประจาเดือน ต้องให้ฮอร์โมนเอสโตรเจน หรือให้ฮอร์โมนชนิดผสม
เอสโตรเจน-โปรเจสเตอโรน ซึ่งฮอร์โมนชนิดนี้มีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคอัลไซเมอร์ได้
ดังนั้นต้องระวังการบริโภค ในปริมาณที่เหมาะสม
2. ให้รับประทานอาหาร ที่มีสิตามินบี 12 และมีกรดโฟลิกสูง จาพวก ผักและผลไม้สด ธัญพืช
ต่างๆ น้ามันมะกอก ปลา 3. ลดการบริโภค อาหารประเภท ไขมันสูง เค็มจัด หวานจัด และ
อาหารจานด่วนต่างๆ เพื่อลดความเสี่ยงของโรคไขมันในเส้นเลือดสูง โรคความดันโลหิตสูง
และโรคเบาหวาน ที่เป็นสาเหตุของการเกิดโรคอัลไซเมอร์
4. ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ
5. ทากิจกรรมที่ฝึกสมองและความคิด เช่นอ่านหนังสือ เล่นหมากรุก เป็นต้น
6. การรับประทานสมุนไพร เช่น หอมหัวใหญ่, มะละกอ, ชมจันทร์, งาดา
การรักษาโรคอัลไซเมอร์
ปัจจุบันยังไม่มี ยาหรือวิธีการรักษาโรคอัลไซเมอร์ให้หายขาดได้แต่การ
รักษาสามารถทาได้ด้วยการให้ยาเพื่อช่วยชะลออาการของโรค โดย ยาที่ให้ มีอยู่ 4
ชนิด คือ Donezpezil , Rivastigmin, Galantamine, และ Memantine และการให้ผู้ป่วย
ทากิจกรรมที่ช่วยกระตุ้นการทางานของสมอง เช่น ศิลปะบาบัดดนตรีบาบัด การบาบัด
โดยอาศัยสัตว์เลี้ยง
บรรณานุกรม
www.beezab.com
www.Wikipedia.com
www.Siamhealth.net

More Related Content

What's hot

N sdis 125_60_6
N sdis 125_60_6N sdis 125_60_6
N sdis 125_60_6
Wichai Likitponrak
 
060120192424ภายใน ณ วันที่ 31 ก.ค. 61
060120192424ภายใน ณ วันที่ 31 ก.ค. 61060120192424ภายใน ณ วันที่ 31 ก.ค. 61
060120192424ภายใน ณ วันที่ 31 ก.ค. 61
candy109
 

What's hot (12)

N sdis 125_60_6
N sdis 125_60_6N sdis 125_60_6
N sdis 125_60_6
 
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันสะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
 
Sakanan nuclear power_plants
Sakanan nuclear power_plantsSakanan nuclear power_plants
Sakanan nuclear power_plants
 
การศึกษาที่ญี่ปุ่น
การศึกษาที่ญี่ปุ่นการศึกษาที่ญี่ปุ่น
การศึกษาที่ญี่ปุ่น
 
060120192424ภายใน ณ วันที่ 31 ก.ค. 61
060120192424ภายใน ณ วันที่ 31 ก.ค. 61060120192424ภายใน ณ วันที่ 31 ก.ค. 61
060120192424ภายใน ณ วันที่ 31 ก.ค. 61
 
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันสะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
 
Sakanan safety radioactivity
Sakanan safety radioactivitySakanan safety radioactivity
Sakanan safety radioactivity
 
117844 article text-304322-1-10-20180404
117844 article text-304322-1-10-20180404117844 article text-304322-1-10-20180404
117844 article text-304322-1-10-20180404
 
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7 มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7  มิวเทชันชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7  มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7 มิวเทชัน
 
วงจรการเกิดรอบเดือน_กลุ่ม9/825
วงจรการเกิดรอบเดือน_กลุ่ม9/825วงจรการเกิดรอบเดือน_กลุ่ม9/825
วงจรการเกิดรอบเดือน_กลุ่ม9/825
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
 

Similar to N sdis 143_60_1

N sdis 143_60_5
N sdis 143_60_5N sdis 143_60_5
N sdis 143_60_5
Wichai Likitponrak
 
N sdis 77_60_5
N sdis 77_60_5N sdis 77_60_5
N sdis 77_60_5
Wichai Likitponrak
 
N sdis 77_60_6
N sdis 77_60_6N sdis 77_60_6
N sdis 77_60_6
Wichai Likitponrak
 
N sdis 143_60_10
N sdis 143_60_10N sdis 143_60_10
N sdis 143_60_10
Wichai Likitponrak
 
N sdis 77_60_4
N sdis 77_60_4N sdis 77_60_4
N sdis 77_60_4
Wichai Likitponrak
 
N sdis 125_60_1
N sdis 125_60_1N sdis 125_60_1
N sdis 125_60_1
Wichai Likitponrak
 
N sdis 143_60_8
N sdis 143_60_8N sdis 143_60_8
N sdis 143_60_8
Wichai Likitponrak
 
N sdis 143_60_3
N sdis 143_60_3N sdis 143_60_3
N sdis 143_60_3
Wichai Likitponrak
 
N sdis 143_60_4
N sdis 143_60_4N sdis 143_60_4
N sdis 143_60_4
Wichai Likitponrak
 
N sdis 126_60_5
N sdis 126_60_5N sdis 126_60_5
N sdis 126_60_5
Wichai Likitponrak
 
N sdis 144_60_10
N sdis 144_60_10N sdis 144_60_10
N sdis 144_60_10
Wichai Likitponrak
 
N sdis 126_60_6
N sdis 126_60_6N sdis 126_60_6
N sdis 126_60_6
Wichai Likitponrak
 

Similar to N sdis 143_60_1 (20)

N sdis 143_60_5
N sdis 143_60_5N sdis 143_60_5
N sdis 143_60_5
 
N sdis 77_60_5
N sdis 77_60_5N sdis 77_60_5
N sdis 77_60_5
 
N sdis 77_60_6
N sdis 77_60_6N sdis 77_60_6
N sdis 77_60_6
 
N sdis 143_60_10
N sdis 143_60_10N sdis 143_60_10
N sdis 143_60_10
 
N sdis 77_60_4
N sdis 77_60_4N sdis 77_60_4
N sdis 77_60_4
 
N sdis 125_60_1
N sdis 125_60_1N sdis 125_60_1
N sdis 125_60_1
 
N sdis 143_60_8
N sdis 143_60_8N sdis 143_60_8
N sdis 143_60_8
 
N sdis 143_60_3
N sdis 143_60_3N sdis 143_60_3
N sdis 143_60_3
 
N sdis 143_60_4
N sdis 143_60_4N sdis 143_60_4
N sdis 143_60_4
 
101245
101245101245
101245
 
101245
101245101245
101245
 
Com555
Com555Com555
Com555
 
N sdis 126_60_5
N sdis 126_60_5N sdis 126_60_5
N sdis 126_60_5
 
N sdis 144_60_10
N sdis 144_60_10N sdis 144_60_10
N sdis 144_60_10
 
N sdis 126_60_6
N sdis 126_60_6N sdis 126_60_6
N sdis 126_60_6
 
Animaltherapy
AnimaltherapyAnimaltherapy
Animaltherapy
 
แพทยศาสตร์
แพทยศาสตร์แพทยศาสตร์
แพทยศาสตร์
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)
 
656 pre9
656 pre9656 pre9
656 pre9
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 

More from Wichai Likitponrak

Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
Wichai Likitponrak
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
Wichai Likitponrak
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

N sdis 143_60_1

  • 2. นาเสนอ นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
  • 3. สมาชิกกลุ่มนาเสนอ นายกชณัฐ ระวังสุข เลขที่ 22 นายกิตติกานต์โลว์ เลขที่ 24 นายภูคิน รัตนเมธาชาติ เลขที่ 31 นายอมรเศรษฐ์ สอนนิยม เลขที่ 39 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่6 ห้อง143 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์
  • 5. สาเหตุของโรคอัลไซเมอร์ ผู้ป่วยประมาณ 7% มีสาเหตุมาจากพันธุกรรม และสามารถถ่ายทอดสู่ลูกหลานได้ ตาแหน่งความผิดปกติบนโครโมโซมที่พบชัดเจนแล้วว่าทาให้เกิดโรคอัลไซเมอร์อยู่บน โครโมโซมคู่ที่ 21, 14, 1, และ 19 ผู้ที่มีความผิดปกติของพันธุกรรมเหล่านี้จะป่วยเป็นโรคอัล ไซเมอร์ที่อายุน้อยกว่าคนที่ไม่ได้มีความผิดปกติทางพันธุกรรม นอกจากนี้พบว่าในผู้ป่วยโรค กลุ่มอาการดาวน์ (Down’s syndrome) ซึ่งมีความผิดปกติคือมีสารพันธุกรรมของโครโมโซม แท่งที่ 21 เกินมา หากมีชีวิตอยู่เกิน 40 ปี จะป่วยเป็นโรคอัลไซเมอร์ในที่สุด ผู้ป่วยส่วนใหญ่ที่ เหลือไม่ทราบสาเหตุที่ชัดเจน แต่พบปัจจัยเสี่ยงต่อการเป็นโรคอัลไซเมอร์ ดังนี้ คือ อายุที่มาก ขึ้น มีประวัติคนในครอบครัวเป็นโรคนี้ เคยประสบอุบัติเหตุที่สมองหรือสมองได้รับ บาดเจ็บ เป็นโรคอ้วน เป็นโรคเบาหวาน (เพิ่มความเสี่ยงขึ้นประมาณ 3 เท่า) เป็นโรคความดัน โลหิตสูง และเป็นโรคไขมันในเลือดสูงแต่ระดับการศึกษาและระดับสติ ปัญญาไม่มีผลต่อการ เพิ่มความเสี่ยงในการเกิดโรค นอกจากนี้ มีการศึกษาพบว่าสารเคมีในธรรมชาติบางตัว เช่น อะลูมิเนียม ปรอท รวมทั้งไวรัสบางชนิด อาจเป็นสาเหตุของโรคนี้ แต่หลักฐานก็ยังไม่ชัดเจน
  • 6. ประวัติความเป็นมา โรคอัลไซเมอร์ (Alzheimer’s disease) เป็นหนึ่งในโรคสมองเสื่อมที่พบได้ บ่อยที่สุด โรคนี้ถูกบรรยายไว้ครั้งแรกโดยจิตแพทย์ชาวเยอรมันชื่อAlois Alzheimer ในปี พ.ศ. 2499 ผู้ป่วยโรคนี้จะมีอาการสาคัญ คือความจาเสื่อม หลงลืม มีพฤติกรรมและนิสัย เปลี่ยนไป อาการจะดาเนินไปอย่างช้าๆ แต่ค่อยๆรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ จนในที่สุดจะ ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ และเสียชีวิตในที่สุด ไม่มีวิธีป้องกันหรือวิธีสาหรับรักษาให้หาย ได้โรคอัลไซเมอร์ จะพบในผู้สูงอายุ ยิ่งอายุมากขึ้นก็จะพบอัตราการเป็นโรคมากขึ้นโดย ในช่วงอายุ 65-69 ปี พบอุบัติการณ์การเกิดผู้ป่วยรายใหม่ประมาณ 3 คนต่อพันคนต่อปี แต่หากเป็นช่วงอายุ 85-89ปี จะพบสูงถึง 40 คนต่อพันคนต่อปี พบได้ในทุกเชื้อชาติ เพศ หญิงพบมากกว่าเพศชายเล็กน้อย อาจเนื่องจากเพศหญิงมีอายุยืนยาวกว่า ในประเทศไทย มีผู้ป่วยโรคนี้ประมาณ 2-4% ของผู้ที่มีอายุมากกว่า 60 ปี และจะพบเพิ่มขึ้น 2 เท่าทุก 5 ปี หลังอายุ 60 ปี
  • 8. ลักษณะอาการสาคัญของโรค อาการของโรคนี้สามารถแบ่งได้ เป็น 4 ระยะ คือ 1.ระยะก่อนสมองเสื่อม 2. สมองเสื่อมระยะแรก 3. สมองเสื่อมระยะปานกล และ4.เสื่อมระยะสุดท้าย 1.ระยะก่อนสมองเสื่อม ในระยะนี้ผู้ป่วยจะมีปัญหาเรื่องการจดจาสิ่งที่พึ่งเรียนรู้มาไม่นาน แต่ว่ายังไม่มีอาการ ที่ชัดเจน ผู้ป่วยสามารถดาเนินชีวิตประจาวันได้เป็นปกติ และยังสามารถตัดสินใจทาในสิ่งต่างๆได้ ยกเว้นเรื่อง ที่สลับซับซ้อน 2.สมองเสื่อมระยะแรก ในระยะนี้ผู้ป่วยจะสูญเสียความทรงจาระยะสั้น หรือความจาที่เพิ่งเรียนรู้มา ลักษณะ อาการ เช่นลืมของ ลืมเวลานัด ทานยารักษาโรคซ้าๆ ถามซ้า พูดซ้า ในระยะนี้การใช้ชีวิตของผู้ป่วยเริ่มไม่เป็น ปกติ แต่ยังสามารถสื่อสารบอกความคิดพื้นฐานของตนได้ ทากิจวัตรประจาวันต่างๆได้ แต่ขาดความ คล่องแคล่วเหมือนปกติ
  • 9. 3.สมองเสื่อมระยะปานกลาง ในระยะนี้ผู้ป่วยจะสูญเสียความทรงจาระยะสั้นไปเลย ส่วนความจา ระยะยาว และความรู้ทั่วไป จะค่อยๆเสื่อมลง ในระยะนี้ถึงแม้ว่าผู้ป่วยจะอาศัยอยู่ในบ้านของตัวเองแต่ จะมีความรู้สึกว่าอยู่ต่างสถานที่ตลอดเวลา เรื่องของภาษาและการพูดจะมีปัญหาชัดเจน ทักษะเรื่อง ของการอ่านและการเขียน จะค่อยๆเสื่อมลง ผู้ป่วยรู้สึกสับสน วิตกกังวล หงุดหงิด โมโหง่าย และ อารมณ์แปรปรวน 4.สมองเสื่อมระยะสุดท้าย ในระยะนี้ผู้ป่วยจะสูญเสียความทรงจาทั้งหมด ทั้ง ระยะสั้น ระยะยาว และ ความรู้ทั่วไป ผู้ป่วยต้องได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิด ผู้ป่วยจะไม่สามารถทากิจกรรมใดๆได้เลย แม้กระ ทั้งการอาบน้า การกินข้าว การแต่งตัว การเดิน หรือการนั่ง และไม่สามารถควบคุมการขับถ่ายได้
  • 10. แนวทางในการป้ องกันรักษาโรค การป้ องกันโรคอัลไซเมอร์ 1. ในผู้หญิงวัยหมดประจาเดือน ต้องให้ฮอร์โมนเอสโตรเจน หรือให้ฮอร์โมนชนิดผสม เอสโตรเจน-โปรเจสเตอโรน ซึ่งฮอร์โมนชนิดนี้มีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคอัลไซเมอร์ได้ ดังนั้นต้องระวังการบริโภค ในปริมาณที่เหมาะสม 2. ให้รับประทานอาหาร ที่มีสิตามินบี 12 และมีกรดโฟลิกสูง จาพวก ผักและผลไม้สด ธัญพืช ต่างๆ น้ามันมะกอก ปลา 3. ลดการบริโภค อาหารประเภท ไขมันสูง เค็มจัด หวานจัด และ อาหารจานด่วนต่างๆ เพื่อลดความเสี่ยงของโรคไขมันในเส้นเลือดสูง โรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน ที่เป็นสาเหตุของการเกิดโรคอัลไซเมอร์ 4. ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ 5. ทากิจกรรมที่ฝึกสมองและความคิด เช่นอ่านหนังสือ เล่นหมากรุก เป็นต้น 6. การรับประทานสมุนไพร เช่น หอมหัวใหญ่, มะละกอ, ชมจันทร์, งาดา
  • 11. การรักษาโรคอัลไซเมอร์ ปัจจุบันยังไม่มี ยาหรือวิธีการรักษาโรคอัลไซเมอร์ให้หายขาดได้แต่การ รักษาสามารถทาได้ด้วยการให้ยาเพื่อช่วยชะลออาการของโรค โดย ยาที่ให้ มีอยู่ 4 ชนิด คือ Donezpezil , Rivastigmin, Galantamine, และ Memantine และการให้ผู้ป่วย ทากิจกรรมที่ช่วยกระตุ้นการทางานของสมอง เช่น ศิลปะบาบัดดนตรีบาบัด การบาบัด โดยอาศัยสัตว์เลี้ยง