SlideShare a Scribd company logo
งานนำเสนอข้อมูลโรคเกี่ยวกับระบบประสาท:
เรื่อง โรคกล้ามเนื้อเสียการประสานงานจากสมองน้อย:
นำเสนอ:
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์!
ครู คศ. 1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
สมาชิกกลุ่มนำเสนอ	
นาย กิตติธัช พิสชาติ เลขที่25	
นาย ตรีวิทย์ ดำรงรัตน์ เลขที่ 29!
	
นาย ณัฐชนน สรรค์พฤกษ์สิน เลขที่ 28	
นาย อภิวิชญ์ ศิริเศรษฐ์ เลขที่ 38!นาย ศิรวิทย์ ศุภศิลป์ เลขที่ 37!
Q: สมองน้อยคืออะไร!
Ans : สมองน้อย คือ สมองส่วน Cerebellum !
สำหรับสมองน้อยของมนุษย์นั้นทำหน้าที่ร่วมกับระบบประสาททั้ง
ส่วนกลาง (central nervous system) และส่วนปลาย (peripheral nervous
system) ในการควบคุมการทรงตัวและการเคลื่อนไหวของมนุษย์ โดย
อาศัยไขสันหลังในการส่งผ่านกระแสประสาท
Cerebellum
โรคกล้ามเนื้อเสียการประสานงานจากสมองน้อยและไขสันหลัง !
โรคกล้ามเนื้อเสียการประสานงานจาก
สมองน้อยและไขสันหลังนั้นถ่ายทอดทาง
พันธุกรรมซึ่งทำให้สมองน้อย (cerebellum)
ไขสันหลัง (spinal cord) และระบบประสาท
นอกส่วนกลาง (peripheral nervous system)
ซึ่งอยู่บริเวณไขสันหลังของผู้ป่วยทำงานผิด
ปรกติเนื่องจากมีการฝ่อลีบลง โรคนี้จะปรากฏ
โดยช้าและรุนแรงขึ้นเรื่อย ๆ อย่างไม่สามารถ
ยับยั้งได้ โรคนี้มีหลายชนิด ซึ่งในแต่ละชนิด
อาการแสดง อายุของผู้ป่วยที่เริ่มเป็นโรค และ
ลักษณะการถ่ายทอดทางพันธุกรรมจะแตกต่าง
กันไปขึ้นอยู่กับตำแหน่งของยีนบนโครโมโซม
ของผู้ป่วยที่ได้รับผลกระทบ :
สำหรับสมองน้อยของมนุษย์นั้นทำหน้าที่
ร่วมกับระบบประสาททั้งส่วนกลาง (central nervous
system) และส่วนปลาย (peripheral nervous system
ในการควบคุมการทรงตัวและการเคลื่อนไหวของ
มนุษย์ โดยอาศัยไขสันหลังในการส่งผ่านกระแสประสาท
โรคกล้ามเนื้อเสียการประสานงานจากสมองน้อยและไขสันหลัง !
สาเหตุสำคัญของการเกิดโรค:
โรคนี้เกิดขึ้นจากความผิดปรกติในการผลิตซ้ำของ
โพลีกลูตาไมน์ ไตรนิวคลีโอไทด์ (Trinucleotide repeat
disorders) อันเป็นความผิดปรกติทางพันธุกรรมเพราะนิว
คลีโอไทด์ผลิตตนเองซ้ำ ๆ มากกว่าปรกติและเกินความ
ต้องการของร่างกาย หากการผลิตดังกล่าวมีขึ้นเป็นเวลา
นานอาจทำให้เกิดโรคดังกล่าวได้เร็วขึ้น และจะมีการดำเนิน
โรคและอาการทางคลินิกมากขึ้น!
ลักษณะอาการสำคัญของโรค:
อาการของโรคนี้มักเริ่มปรากฏตั้งแต่ผู้ป่วยยัง
อยู่ในวัยก่อนวัยเริ่มเจริญพันธุ์ (puberty) อย่างไรก็ดี โรคนี้
บางประเภทก็ปรากฏในวัยผู้ใหญ่ (adult) เลยก็ได้!
ผู้ป่วยเป็นโรคนี้จะสูญเสียความสามารถในการ
ควบคุมการเคลื่อนไหวทางกายภาพของตน โดยเกิดภาวะ
สูญเสียการประสานกันของท่าเดิน (unsteady gait) มี
อาการพูดไม่เป็นความ (dysarthria) และอาการตากระตุก
(nystagmus) นอกจากนี้ ผู้ป่วยยังอาจมีอาการอื่น ๆ ร่วม
ด้วยนอกเหนือจากดังกล่าว เช่น อาการสั่น (tremor) ภาวะ
ซึมเศร้า (depression) ภาวะหดเกร็งของกล้ามเนื้อ
(spasticity) และโรคนอนไม่หลับ (sleep disorders)!
การค้นคว้าอื่น ๆ ยังระบุว่า อาจมีโรคดังต่อไปนี้
แทรกซ้อนขึ้นมาในระหว่างการป่วยได้ เช่น ภาวะกระดูกสัน
หลังโกงคด (kyphoscoliosis) ภาวะนิ้วเท้างุ้ม (hammer toe)
ภาวะส่วนโค้งเท้าสูงขึ้น (high arches) หรือโรคหัวใจ (heart
disease)!
อาการแสดง อายุของผู้ป่วยที่เริ่มเป็นโรค และ
ลักษณะการถ่ายทอดทางพันธุกรรมจะแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่
กับตำแหน่งของยีนบนโครโมโซมที่ได้รับผลกระทบของผู้
ป่วย อย่างไรก็ดี แม้ความสามารถในการเคลื่อนไหวทาง
กายภาพของผู้ป่วยจะเสื่อมสภาพลงตามลำดับและสูญเสียไป
ในที่สุด แต่ระบบจิตใจและความรู้สึกนึกคิดของผู้ป่วยยังคง
ปรกติ!
ลักษณะอาการสำคัญของโรค:
แนวทางการป้องกัน รักษาโรค:
ปัจจุบันยังไม่มีวิธี
รักษาผู้ป่วยเป็นโรคนี้ และไม่มี
วิธีฟื้นฟูร่างกายผู้ป่วยให้กลับ
เป็นปกติเช่นเดิมได้ แต่ยัง
สามารถบรรเทาความรุนแรงของ
อาการได้ โดยอาศัยการทำ
กายภาพบำบัดและรักษาตาม
อาการที่เกิดขึ้น!
!
การบรรเทาความรุนแรงของอาการต่าง ๆ นั้น
ได้แก่ การใช้อุปกรณ์ภายนอกช่วยเหลือ ผู้ป่วยเพื่อให้
สามารถดำรงชีวิตได้ด้วยตนเองมากที่สุดเท่าที่กระทำได้ เช่น
ไม้เท้า (cane) ไม้ยันรักแร้ (crutch) เครื่องช่วยเดิน (walker)
หรือเก้าอี้รถเข็น (wheelchair) ช่วยในการเคลื่อนไหว กับทั้ง
อุปกรณ์ช่วยเขียน ช่วยป้อนอาหาร และช่วยดูแลผู้ป่วยใน
กรณีที่สูญเสียความสามารถในการเคลื่อนไหวของมือ ตลอด
จนอุปกรณ์ช่วยติดต่อสื่อสารในกรณีที่สูญเสียความสามารถ
ของขากรรไกรล่างด้วย!
แนวทางการป้องกัน รักษาโรค:
โรคกล้ามเนื้อเสียการประสานงานจากสมองน้อยและไขสันหลัง เป็นโรคทางพันธุกรรมโรคหนึ่ง
ซึ่งปัจจุบันยังไม่มีหนทางเยียวยา ผู้ป่วยจะสูญเสียความสามารถในการเคลื่อนไหวทางกายภาพไป
โดยช้าจนกระทั่งหมดสิ้น อาการของโรคนี้มักเริ่มปรากฏตั้งแต่ผู้ป่วยยังอยู่ในวัยก่อนวัยเริ่มเจริญ
พันธุ์ (puberty) อย่างไรก็ดี โรคนี้บางประเภทก็ปรากฏในวัยผู้ใหญ่ (adult) เลยก็ได้ การบรรเทา
ความรุนแรงของอาการต่าง ๆ นั้น ได้แก่ การใช้อุปกรณ์ภายนอกช่วยเหลือผู้ป่วยเพื่อให้สามารถ
ดำรงชีวิตได้ด้วยตนเองมากที่สุดเท่าที่กระทำได้ เช่น ไม้เท้า (cane) ไม้ยันรักแร้ (crutch) เครื่อง
ช่วยเดิน (walker) หรือเก้าอี้รถเข็น(wheelchair) ช่วยในการเคลื่อนไหว กับทั้งอุปกรณ์ช่วยเขียน
ช่วยป้อนอาหาร และช่วยดูแลผู้ป่วยในกรณีที่สูญเสียความสามารถในการเคลื่อนไหวของมือ
ตลอดจนอุปกรณ์ช่วยติดต่อสื่อสารในกรณีที่สูญเสียความสามารถในการเคลื่อนไหว!
บทสรุป!
บรรณานุกรม:
•  https://th.pixtastock.com/illustration/22885982!
•  https://th.wikipedia.org/wiki/โรคกล้ามเนื้อเสียการประสานงานจากสมองน้อยและ
ไขสันหลัง#.E0.B8.AA.E0.B8.B2.E0.B9.80.E0.B8.AB.E0.B8.95.E0.B8.B8!
•  http://www.thaibiotech.info/what-is-chromosome.php!
•  https://daily.rabbit.co.th/
%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%B2%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%A0
%E0%B8%B1%E0%B8%A2!
•  http://info.muslimthaipost.com/main/index.php?page=sub&category=57&id=19629!
The image cannot be displayed. Your computer may not have enough
memory to open the image, or the image may have been corrupted.
Restart your computer, and then open the file again. If the red x still
appears, you may have to delete the image and then insert it again.

More Related Content

Similar to N sdis 143_60_10

N sdis 126_60_6
N sdis 126_60_6N sdis 126_60_6
N sdis 126_60_6
Wichai Likitponrak
 
N sdis 77_60_6
N sdis 77_60_6N sdis 77_60_6
N sdis 77_60_6
Wichai Likitponrak
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
supreechafkk
 
N sdis 77_60_4
N sdis 77_60_4N sdis 77_60_4
N sdis 77_60_4
Wichai Likitponrak
 
N sdis 125_60_1
N sdis 125_60_1N sdis 125_60_1
N sdis 125_60_1
Wichai Likitponrak
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
yangclang22
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
bowpp
 
N sdis 126_60_5
N sdis 126_60_5N sdis 126_60_5
N sdis 126_60_5
Wichai Likitponrak
 
N sdis 77_60_1
N sdis 77_60_1N sdis 77_60_1
N sdis 77_60_1
Wichai Likitponrak
 
N sdis 78_60_8
N sdis 78_60_8N sdis 78_60_8
N sdis 78_60_8
Wichai Likitponrak
 
1.รับรู้ตอบสนอง
1.รับรู้ตอบสนอง1.รับรู้ตอบสนอง
1.รับรู้ตอบสนอง
Wichai Likitponrak
 

Similar to N sdis 143_60_10 (20)

N sdis 126_60_6
N sdis 126_60_6N sdis 126_60_6
N sdis 126_60_6
 
N sdis 77_60_6
N sdis 77_60_6N sdis 77_60_6
N sdis 77_60_6
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
 
N sdis 77_60_4
N sdis 77_60_4N sdis 77_60_4
N sdis 77_60_4
 
N sdis 125_60_1
N sdis 125_60_1N sdis 125_60_1
N sdis 125_60_1
 
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
 
บท1ประสาท
บท1ประสาทบท1ประสาท
บท1ประสาท
 
บท1ประสาท
บท1ประสาทบท1ประสาท
บท1ประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
 
N sdis 126_60_5
N sdis 126_60_5N sdis 126_60_5
N sdis 126_60_5
 
N sdis 77_60_1
N sdis 77_60_1N sdis 77_60_1
N sdis 77_60_1
 
N sdis 78_60_8
N sdis 78_60_8N sdis 78_60_8
N sdis 78_60_8
 
1.รับรู้ตอบสนอง
1.รับรู้ตอบสนอง1.รับรู้ตอบสนอง
1.รับรู้ตอบสนอง
 
Des sciencebiology
Des sciencebiologyDes sciencebiology
Des sciencebiology
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 5
 

More from Wichai Likitponrak

Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
Wichai Likitponrak
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
Wichai Likitponrak
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

N sdis 143_60_10