SlideShare a Scribd company logo
1 of 131
Download to read offline
โครงการเตรียมความพร้อมในการสอบเข้าค่าย
ชีววิทยาโอลิมปิก ค่าย 1 ประจาปี 2561
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
เรื่อง พันธุศาสตร์ Mendelian Genetics,
Incomplete dominant, Multiple alleles
ครูผู้สอน
 นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่งครู คศ.1 เอกวิชาชีววิทยา
ประวัติการศึกษา :
 พ.ศ. 2549 วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกีรยตินิยมอันดับ 2) สาขาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหิดล
 พ.ศ. 2551 ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ เอกเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
 พ.ศ. 2552 ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
 พ.ศ. 2555 สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ เอกสาธารณสุขศาสตร์
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
 พ.ศ. 2558 ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการประเมินและการวิจัยทางการศึกษา
เอกวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง
Multiple
allele
Chromosome classification
กลุ่ม คู่ที่ ขนาด /รูปร่าง โครโมโซม
A 1-3 ใหญ่ /metacentric,
submetacentric
B 4-5 ใหญ่ /submetacentric
C 6-12, X กลาง/submetacentric
D 13-15 กลาง /acrocentric
E 16-18 เล็ก /metacentric,
submetacentric
F 19-20 เล็ก /metacentric
G 21-22, Y เล็ก /acrocentric
ลักษณะทางพันธุกรรมในมนุษย์
ความแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
 ความแปรผันลักษณะทางพันธุกรรมสามารถจาแนกได้ 2 ประเภท
1. ความแปรผันลักษณะทางพันธุกรรมที่ไม่ต่อเนื่อง (discontinuous variation) เป็นลักษณะ
ทางพันธุกรรมที่สามารถแยกความแตกต่างได้อย่างชัดเจนเกิดจากอิทธิพลของกรรมพันธุ์
เพียงอย่างเดียว เรียกลักษณะแบบนี้ว่า ลักษณะทางคุณภาพ (qualitative trait) เช่น มีลักยิ้ม -
ไม่มีลักยิ้ม มีติ่งหู -ไม่มีติ่งหู ห่อลิ้นได้ - ห่อลิ้นไม่ได้ เป็นต้น
2. ความผันแปรทางพันธุกรรมแบบต่อเนื่อง (continuous variation) เป็นลักษณะทาง
พันธุกรรมที่ไม่สามารถแยกความแตกต่างได้อย่างเด่นชัด เช่น ความสูง น้าหนัก โครงร่าง
สีผิว เป็นต้น ซึ่งเกิดจากอิทธิพลของกรรมพันธุ์ที่มียีนหลายตาแหน่งควบคุม และสิ่งแวดล้อม
ร่วมกัน เช่น ความสูงถ้าได้รับสารอาหารถูกต้องตามหลักโภชนาการและมีการออกกาลังกาย
ก็จะทาให้มีร่างกายสูงได้ ลักษณะที่แตกต่างกันมีการกระจายตัวแบบต่อเนื่อง สามารถเขียน
เป็นกราฟรูปโค้งปกติได้ ซึ่งเรียกลักษณะแบบนี้ว่า ลักษณะทางปริมาณ (quantitative trait)
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมโดยยีน 2 คู่ (Dihybrid cross)
 เป็นการศึกษาลักษณะของยีน 2 คู่ (ควบคุมสองลักษณะ) โดยแต่ละคู่จะกาหนดลักษณะทาง
พันธุกรรมต่างกัน โดยการศึกษาจะพิจารณาไปพร้อม ๆ กัน เช่น ถั่วลันเตาต้นหนึ่ง สังเกตว่ามี
2 ลักษณะ ลักษณะแรก คือ เมล็ดกลม (RR) และเมล็ดขรุขระ (rr) กับลักษณะที่สอง คือ เมล็ด
เหลือง (YY) และเมล็ดเขียว (yy) : ลักษณะของเซลล์สืบพันธุ์แตกต่างกันตามกฎข้อ 2
ฟีโนไทป์ มี 4 แบบ คือ
 เมล็ดกลมเรียบ เปลือกหุ้มเมล็ดสีเหลือง 9/16
 เมล็ดกลมเรียบ เปลือกหุ้มเมล็ดสีเขียว 3/16
 เมล็ดขรุขระ เปลือกหุ้มเมล็ดสีเหลือง 3/16
 เมล็ดขรุขระ เปลือกหุ้มเมล็ดสีเขียว 1/16
9 : 3 : 3 : 1
เทคนิคการคูณ (Multiplication) อัตราส่วนความ
น่าจะเป็นของแต่ละเหตุการณ์ที่สนใจ
Genotypic ratio approximately 1 : 2 : 1 : 2 : 4 : 2 : 1 : 2 : 1
YYRR:YYRr:YYrr:YyRR:YyRr:Yyrr:yyRR:yyRr:yyrr
ลักษณะทั้ง 7 ของถั่วลันเตา (Pisum sativum)
ถั่วลันเตามีลักษณะที่ดี ดังนี้
• มีการเจริญเติบโตเร็ว มีความหลากหลายทางพันธุกรรม (variation) เห็นความแตกต่างกันอย่างชัดเจน
• มีการปฏิสนธิตนเอง (perfect flower) : self fertilization
• ปลูกง่าย อายุการให้ผลผลิตสั้น ทาให้ศึกษาติดตามผลการทดลองได้ง่าย (many generation)
• ลักษณะทั้ง 7 มีการถ่ายทอดตามหลักของเมนเดล คือไม่มี linkage , multiple alleles , polygene , co
dominance ,Incomplete dominant ฯลฯ
การศึกษาการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของเมนเดล
 ถั่วลันเตาต้นสูงเป็นลักษณะเด่น ( Dominant ) ซึ่งถูกควบคุมโดย ถั่วลันเตาต้นเตี้ยแคระเป็น
ลักษณะด้อย ( Recessive ) ซึ่งถูกควบคุมโดย factor คนละตัว
 การแสดงออกของลักษณะทางพันธุกรรม คือ ลักษณะเด่นจะข่มลักษณะด้อย 100%
( Complete dominant ) และลักษณะเด่นจะปรากฏให้เห็นในแต่ละรุ่นเป็นจานวนมาก
 ต่อมาในปีพ.ศ.2454 โจแฮน เซน ได้เปลี่ยนมาใช้ gene แทน factor
Anaphase I
กฎข้อที่ 1 ของเมนเดล : การพิจารณาหนึ่งลักษณะ (monohybrid cross)
กฎการแยกตัวของยีน ( Law of segregation of gene ) กล่าวว่ายีนที่ควบคุมลักษณะต่างๆจะอยู่เป็นคู่
เสมอ เมื่อถึงระยะที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์ (meiosis) ยีนจะแยกไปอยู่ในสภาพเดี่ยวในเซลล์สืบพันธุ์ (2nn)
เมื่อเกิดการปฏิสนธิเป็นไซโกต จึงกลับมารวมกันอีกครั้ง (เข้าคู่ homologous chromosome)
Allelomorph = allele (ต่างกัน) + morph (รูปแบบ)
เรียกสั้นว่า allele : homozygous / heterozygous
Genotype vs Phenotype
เทคนิคควรจาการคานวณทางพันธุ์ศาสตร์
 จากกฎของเมนเดลจะได้ว่า ถ้าจานวนคู่ของยีนในจีไทป์มีมากขึ้นและเป็นเฮเทอโร
ไซกัสทุกตาแหน่งชนิดของเซลล์พืชพันธุ์ที่เกิดขึ้น จานวนจีโนไทป์ ชนิดของจีโน
ไทป์และชนิดของฟีโนไทป์ก็จะมากขึ้น
 กาหนดให้ n = จานวนคู่ยีนที่เป็นเฮเทอโรไซกัส
 จานวนชนิดของเซลล์สืบพันธุ์ = 2n
 จานวนชนิดของจีโนไทป์ของลูก = 3n
 จานวนชนิดของฟีโนไทป์ของลูก = 2n
 จานวนชนิดของฮอมอไซกัสของลูก = 2n
 จานวนชนิดของเฮเทอโรไซกัสของลูก = 3n - 2n
 จานวนจีโนไทป์ทั้งหมดของลูกที่เกิดจากการผสมระหว่างอสุจิกับไข่ = 4n
Phenotype 8 แบบ ได้แก่
1. เด่น เด่น เด่น : 27
2. เด่น เด่น ด้อย : 9
3. เด่น ด้อย เด่น : 9
4. เด่น ด้อย ด้อย : 3
5. ด้อย เด่น เด่น : 9
6. ด้อย เด่น ด้อย : 3
7. ด้อย ด้อย เด่น : 3
8. ด้อย ด้อย ด้อย : 1
Phenotype
1. เด่น D : D_
2. ด้อย d : dd
3. เด่น S : S_
4. ด้อย s : ss
5. เด่น M : M_
6. ด้อย m : mm
การทานายผลของการถ่ายทอดลักษณะตามกฏของเมนเดล
 การหาอัตราส่วนของจีโนไทป์และฟีโนไทป์ในรุ่นลูก สามารถคาดการณ์ได้ด้วยกฎความ
น่าจะเป็น
 1) วิธีหาอัตราส่วนของจีโนไทป์และฟีโนไทป์
 วิธีการเข้าตาราง (checkerboard method or Punnett squares)
 วิธีการต่อกิ่ง (branching system)
 2) กฎความน่าจะเป็น
checkerboard methodor Punnett squares
branching system
RrYy x RrYy
R_Y_
R_yy
rrY_
rryy
Trihybrid cross : RrYySs x RrYySs
การหาโอกาสของลักษณะ
genotype ต่างๆ
1
2
3
= 1/8AaBBCc
การหาโอกาสของลักษณะ
phenotype ต่างๆ
A=สีม่วง a=สีขาว
B=เรียบ b=ขุรขระ
C=อวบ c=ลีบ
AaBbCc x AaBbCc
1/4BB,2/4Bb
1/4aa
1/4AA,
2/4Aa
1/4bb
1/4BB,2/4Bb
1/4bb
ม่วงเรียบอวบ
ม่วงเรียบลีบ
ม่วงขุรขระอวบ
ม่วงขุรขระลีบ
1/4CC,2/4Cc
1/4cc
ม่วง
ขาว
เรียบ
ขุรขระ
อวบ
ลีบ
AaBbCc x AaBbCc
A=สีม่วง a=สีขาว
B=เรียบ b=ขุรขระ
C=อวบ c=ลีบ
1/4cc
(1/4ขุรขระ)
1/4CC,2/4Cc
(3/4อวบ)
Cc x Cc
1/4bb
(1/4ขุรขระ)
1/4BB,2/4Bb
(3/4เรียบ)
Bb x Bb
1/4aa
(1/4ขาว)
1/4AA,2/4Aa
(3/4ม่วง)
Aa x Aa
สีดอก/เมล็ด 3/4เรียบ 1/4ขุรขระ ฝัก
3/4ม่วง 27/64ม่วง
เรียบอวบ
3/4อวบ
9/64ม่วง
เรียบลีบ
1/4ลีบ
1/4ขาว 3/4อวบ
1/4ลีบ
การหาโอกาสของลักษณะ phenotype ต่างๆ
checkerboard method or Punnett squares
กฎความน่าจะเป็น
 ความน่าจะเป็น ( Probability ) หมายถึง ค่าโอกาสที่เกิดขึ้นของเหตุการณ์ใดเหตุการณ์
หนึ่งต่อเหตุการณ์ที่เป็นไปได้ทั้งหมด P(E) = n(E) / n(S) เช่น ลูกสามารถคาดคะเนได้ว่า
น่าจะมี 2 โอกาส คือ อาจจะเป็น เพศชายหรือหญิง อย่างละครึ่งหรือ อัตราส่วน เพศ
ชาย : เพศหญิง เท่ากับ 1 : 1 หรือ 50 : 50 หรือ 1 / 2 : 1 / 2
การคานวณค่าอัตราส่วนของความน่าจะเป็น
มี 2 แบบ คือ
1. แบบการบวก ( Addition ) เป็นอัตราส่วนของเหตุการณ์ที่ไม่สามารถเกิดขึ้นได้พร้อม ๆ
กัน คือ เมื่อเกิดเหตุการณ์หนึ่งแล้ว เหตุการณ์อื่น ๆ จะไม่เกิดขึ้น
เช่น โอกาสได้ลูกชายผิวเผือก = 0.2 โอกาสได้ลูกสาวผิวเผือก = 0.1 ดังนั้น โอกาสที่จะได้
ลูกผิวเผือก = 0.2+0.1 = 0.3
2. แบบการคูณ ( Multiplication ) เป็นอัตราส่วนของเหตุการณ์ 2 เหตุการณ์ที่สามารถเกิด
ได้พร้อม ๆ กัน เช่น เมื่อ AaBb ผสมกับ AaBb โอกาสได้ AA จาก Aa x Aa = ¼ โอกาสได้
Bb จาก Bb x Bb = ½ ดังนั้น โอกาสได้ลูกมีจีโนไทป์ AABb = ¼ x ½ = 1/8
ตัวอย่างโจทย์ทางพันธุศาสตร์
ข้อ 1
ข้อ 2
สิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งมีจีโนไทป์เป็น RrTT ผสมกับสิ่งมีชีวิตที่มีจีโนไทป์เป็น RRTt
(กาหนดให้ยีน R และ T อยู่บนคนละโครโมโซมกัน) จงคานวณหาความน่าจะเป็นในกรณี
ต่างๆ ต่อไปนี้
a. ความน่าจะเป็นที่ลูกที่เกิดขึ้นจะมีจีโนไทป์เป็น RRTT
b. ความน่าจะเป็นที่ลูกที่เกิดขึ้นจะมีจีโนไทป์ หรือ RrTt
สามีภรรยาคู่หนึ่งแต่งงานกันและมีลูกด้วยกันทั้งหมด 3 คน จงคานวณหาความน่าจะเป็น
ต่อไปนี้
a. ความน่าจะเป็นที่จะได้ลูกชายทั้ง 3 คน
b. ความน่าจะเป็นที่จะได้ลูกคนแรกเป็นผู้ชาย และลูกคนที่สองและสามเป็นผู้หญิง
c. ความน่าจะเป็นที่จะได้ลูกชาย 1 คน และลูกสาว 2 คน
d. ความน่าจะเป็นที่จะได้ลูกชายคนแรกเท่านั้น (ถ้ามีลูกชาย 2 คน และลูกสาว 1 คน)
จากผลการศึกษาลักษณะความสูงเพียงลักษณะเดียวของเมนเดล
การผสมกลับ (Backcross) VS การผสมเพื่อทดสอบ ( test cross)
 การผสมกลับ (Backcross) คือ การเอาลูกย้อนไปผสมกับพ่อพันธุ์แม่พันธุ์ เพื่อปรับปรุงพันธุ์
ให้ดีตามพ่อแม่มากขึ้นเรื่อย ๆ ตรงกับความต้องการซึ่งมักใช้กับการถ่ายทอดลักษณะทาง
พันธุกรรมที่มียีนหลายยีนควบคุมลักษณะเดียวกัน)
 การผสมเพื่อทดสอบ ( test cross) คือ การทดสอบว่าลักษณะเด่นที่พบเป็นพันธุ์แท้หรือ
พันทาง สามารถทาการตรวจสอบได้โดยนาไปผสมกับลักษณะด้อย (ตัวทดสอบ หรือ tester)
หากผลปรากฏว่ารุ่นลูกมีลักษณะเด่นทั้งหมด แสดงว่าเป็นเด่นพันธุ์แท้ แต่หากรุ่นลูกมี
ลักษณะเด่น : ด้อย = 1 : 1 แสดงว่าเป็นเด่นพันทาง
การผสมเพื่อทดสอบแบบ Selfing
 ถ้าเรามี phenotype เด่น ( A_ ) แล้วอยากรู้ว่ามี genotype เป็นแบบ
AA หรือ Aa สามารถทาได้ 2 วิธี คือ
1) การผสมตัวเอง (Selfing) ถ้าเป็น Aa ผสมกันเอง ลูกที่ได้จะเป็นอัตราส่วน ลักษณะเด่น :
ด้อย = 3 : 1 แต่ถ้าเป็น AA เมื่อผสมตัวเองจะได้ลักษณะเด่นทั้งหมด
2) การผสมเพื่อทดสอบ ( test cross) หรือการผสมแบบย้อนกลับ ( backcross )
 เป็นการทดสอบว่าสิ่งมีชีวิตที่เราสงสัยนั้นเป็น homozygous หรือ heterozygous
 โดยการทดสอบนั้นจะนาสิ่งมีชีวิตที่เราสงสัยนั้นไปผสมกับ homozygous recessive จากนั้น
สังเกตผลที่เกิดขึ้นในรุ่น F1 ว่าผลเป็นอย่างไร
การผสมเพื่อทดสอบ
กรณีที่ 1
P TT x tt
gamete T t
F1 Tt
phenotype ต้นสูง
สรุป genotype คือ Tt
phenotype คือ ต้นสูงทั้งหมด
คือ 100%
(genotype เป็น homozygous)
การผสมเพื่อทดสอบ กรณีที่ 2
P Tt x tt
gamete T , t t
F1 Tt , tt
phenotype ต้นสูง : ต้นเตี้ย
สรุป genotype คือ T t , t t
phenotype คือ ต้นสูง : ต้นเตี้ย ( 1 : 1 )
(genotype เป็น heterozygous)
การผสมกลับหรือแบคครอส (backcross)
เป็นการนาลูกผสมรุ่น F1 ที่ได้จากการผสมระหว่างพ่อและแม่ที่เป็นพันธุ์แท้กลับไปผสมพันธุ์กับ
พันธุ์พ่อหรือพันธุ์แม่เพื่อให้ได้ลักษณะตามที่เราต้องการ ตัวอย่างเช่น เรานาพืชลูกผสมที่ได้รับยีน
ต้านทานโรคจากสายพันธุ์พ่อไปผสมกลับกับสายพันธุ์แม่ที่ให้ผลผลิตสูง ถึงแม้ว่าลูกผสม F1 จะมี
ความต้านทานต้านทานต่อโรคได้ดี แต่กลับมีผลผลิตไม่เท่ากับสายพันธุ์แม่ การนาลูกผสมนี้ผสมกลับไป
หาสายพันธุ์แม่หลายๆ ครั้งจะทาให้ได้ลูกผสมในรุ่นหลังๆ ที่นอกจากจะมีลักษณะต้านทานต่อโรคแล้ว
ยังได้รับยีนที่ให้ผลผลิตสูงจากสายพันธุ์แม่เพิ่มขึ้นอีกด้วย
พอลิยีน(polygenes)
ตารางการถ่ายทอดลักษณะที่ควบคุมด้วยยีน 3 ตาแหน่ง
 ลักษณะทางพันธุกรรมที่ควบคุมด้วยพอลิยีน ยีนแต่ละคู่แสดงผลแบบบวกสะสม (additive effect)
ถ้ากาหนดให้ยีน 3 ตาแหน่งจะได้สัดส่วนทาง ฟีโนไทป์ ของลูกรุ่น F2 คือ 1/64 , 6/64 , 15/64
20/64 , 15/64 , 6/64 1/64 ตามลาดับ
การคานวณหาอัตราส่วนทางฟีโนไทป์
ของลักษณะที่ควบคุมด้วยยีนหลายโลคัส
 คำนวณด ้วยวิธีกำรขยำยไบโนเมียล (a+b)n
a = โอกำสที่จะมียีนเด่นในแต่ละโลคัส = ½
b = โอกำสที่จะมียีนด ้อยในแต่ละโลคัส = ½
n = ผลรวมของจำนวนยีนทุกตำแหน่งที่ควบคุม
ลักษณะ
จำกกำรทดลองลักษณะควบคุมสีของเมล็ดข ้ำวสำลี
ควบคุมด ้วยยีน 3 โลคัส (6 ยีน)
 (a+b)n = (a+b)6 ดังนั้น (a+ b)6
= a6+ 6a5b + 15a4b2 + 20a3b3 +15a2b4 +6ab5 +b6
= (½)6+ 6(½)5 (½) + 15 (½)4 (½)2 + 20 (½)3 (½)3 +15 (½)2 (½)4 + 6 (½)(½)5 + (½)6
= 1/64 + 6/64 + 15/64 + 20/64 + 15/64 + 6/64 + 1/64
การผลิตเมลานินแตกต่างกันตาม
จานวนยีนที่ผลิต ฟีโนไทป์ของ
พอลิยีนจึงเป็นการแสดงออก
ร่วมกันของยีนหลายตาแหน่ง
ตัวอย่างพอลิยีนสิวของคน
เทคนิคการหา
จานวนสิ่งมีชีวิตที่มี
ลักษณะตามที่โจทย์
กาหนดจากจานวน
ทั้งหมดที่โจทย์ให้
พอลิยีน(polygenes)
สีตาของคนเป็นยีนที่อยู่บนโครโมโซมคู่ที่ 15 และ 19 มีสีน้าตาลเข้มถึง
สีน้าตาลอ่อน อัมพัน เขียว เทา น้าเงิน
พอลิยีน(polygenes)
ไก่พันธ์ ขนสีดาซึ่งควบคุมโดยยีนเด่นบนโครโมโซมเพศ การผสมพันธ์ระหว่างไก่ตัวเมียขนสีดากับไก่ตัวผู้ขนสี
ขาว จะได้ลูกไก่ที่มีลักษณะดังข้อใด
1. ตัวเมียขนสีขาวจานวนเท่ากับตัวผู้ขนสีดา 2. ตัวเมียขนสีดาจานวนเท่ากับตัวผู้ขนสีขาว
3. ตัวเมียขนสีดาจานวนมากกว่าตัวผู้ขนสีดา 4. ลูกไก่ทุกตัวมีขนสีดา
Test yourself
ลักษณะฮีโมฟีเลียควบคุมโดยยีนด้อย (h) บนโครโมโซมเพศ ส่วนลักษณะถนัดขวาควบคุมโดยยีนเด่น (R) บน
โครโมโซมร่างกาย จากการแต่งงานระหว่างชายปกติถนัดซ้ายกับหญิงปกติถนัดขวา ที่มีบิดาถนัดซ้ายและเป็นโรคฮี
โมฟีเลีย จงหาโอกาสที่จะเกิดบุตรซึ่งเป็นโรคฮีโมฟีเลียและถนัดขวา
ก. 1/2 ข. 1/4 ค. 1/6 ง. 1/8
ลักษณะพันธุกรรมการที่เป็นส่วนขยายของพันธุศาสตร์เมนเดล
 การข่มแบบไม่สมบูรณ์ (Incomplete Dominant)
 มัลติเพิลแอลลีล ( Multiple alleles )
 การข่มร่วมกัน (CO – dominant)
 พอลิยีน (polygenes)
 ปฏิกิริยาการข่มของยีนต่างตาแหน่ง (epistasis)
*****
การข่มแบบไม่สมบูรณ์ (Incomplete Dominant)
 Incomplete dominant คือ การแสดงออกของ gene ที่เป็น gene เด่นไม่สามารถข่ม gene ด้อย
ได้อย่างสมบูรณ์ ทาให้มีการแสดงออกของ gene ทั้งสองแบบเป็นผสมกันหรือเป็นแบบกลางๆ
ระหว่างสองลักษณะ เช่น สีดอกลิ้นมังกร
 เมื่อนาชบารุ่น ลูก F1 2 ต้นมาผสมกันจะได้รุ่นลูก F2 อัตราส่วนฟีโนไทป์ คือ ดอกสีขาว :
ดอกสีชมพู : ดอกสีแดง เท่ากับ 1 : 2 : 1 (ซึ่งเท่ากับอัตราส่วนจีโนไทป์)
 จะได้ฟีโนไทป์ 3 แบบ คือ ดอกสีแดง : ดอกสีชมพู : ดอกสีขาว
 อัตราส่วนฟีโนไทป์ คือ 1 : 2 : 1
 ความน่าจะเป็น ¼ : ½ : ¼
morning glory variation
R ควบคุมสีม่วง
R’ ควบคุมสีขาว
ดังนั้น RR’ แสดงออกสีน้าเงิน
Dominant trait
Recessive trait
มัลติเพิลแอลลีล ( Multiple alleles )
 แอลลีล หมายถึง รูปแบบต่าง ๆ ของยีนซึ่งมีตาแหน่งเดียวกันบนโครโมโซม
 แต่ละชนิดของแอลลีลจะควบคุมลักษณะเฉพาะเท่านั้น
 แต่ละตาแหน่งของยีนที่ควบคุมลักษณะดังกล่าวอาจมีมากกว่า 2 แอลลีล ที่เรียกว่า มัลติเพิลแอลลีล
ตัวอย่าง
• ลักษณะหมู่เลือดของคน ระบบ ABO มียีนควบคุม 3 แอลลีล คือ
• I A กาหนดการสร้างแอนติเจน A พบในคนหมู่เลือด A
• I B กาหนดการสร้างแอนติเจน B พบในคนหมู่เลือด B
• i ไม่สร้างแอนติเจน ทั้ง A และ B พบในคนหมู่เลือด O
หมายเหตุ
• ทั้งแอลลีล I A และแอลลีล I B เป็นแอลลีลเด่นทั้งคู่ หรือเด่นร่วมกัน เรียกว่า CO – dominant
• คนที่มีทั้งแอลลีล I A และแอลลีล I B กาหนดการสร้างแอนติเจนทั้ง A ,B จึงพบในคนหมู่เลือด AB
• แอลลีล i เป็นแอลลีลด้อยไม่สร้างแอนติเจน
• คนที่มีจีโนไทป์ ii ไม่มีแอนติเจน ทั้ง A และ B จึงมีหมู่เลือด O
“โอบอมเบย์ (O-Bombay หรือ hh-antigen blood group)”
 ซึ่งถูกรายงานครั้งแรกเมื่อปี 1952 โดยเป็นกรณีนี้เกิดขึ้นที่เมืองบอมเบย์ ประเทศ
อินเดียโดย Dr. Y.M. Bhende ซึ่งในเมืองดังกล่าวจะพบหมู่เลือดพิเศษนี้ใน
อัตรา1 คนในหมื่นคน หรือเมื่อคิดจากประชากรทั้งโลกจะพบคนที่มีหมู่เลือดโอบ
อมเบย์ประมาณ 4 คนใน 1 แสนคน หมู่เลือดนี้จะมีปัญหาอย่างมากในการรับเลือด
กรณีทีได้รับเลือดจากหมู่ O ปกติ โดยจะสามารถรับเลือดจากหมู่ O ปกติได้เพียง
ครั้งเดียวเท่านั้น แต่ถ้ารับจากหมู่โอบอมเบย์ด้วยกันจะได้ไม่มีปัญหา
 เยื่อหุ้มเซลล์เม็ดเลือดแดงของหมู่เลือด O จะมีแต่แอนติเจน H เพียงอย่างเดียว ซึ่ง
ไม่สามารถเปลี่ยนเป็นแอนติเจน A หรือแอนติเจน B ได้ เนื่องจากไม่มีเอนไซม์
transferase A หรือ เอนไซม์ transferase B ส่วนของแอนติเจน H จะ
ถูกควบคุมโดย gene H และ gene h โดยที่ HH และ Hh genotype
จะกาหนดให้แสดงแอนติเจน H ที่เยื่อหุ้มเซลล์ของเม็ดเลือดแดง hh
genotype จะกาหนดให้ไม่แสดงแอนติเจน H ที่เยื่อหุ้มเซลล์ของเม็ดเลือดแดง
ขึ้นอยู่กับจานวนแอลลีลที่มีอยู่ในยีนนั้น เช่น ถ้าจานวนแอลลีลในยีนที่เราสนใจศึกษาประกอบด้วย 4
แอลลีล คือ A1 , A2 , A3 , A4 จานวนจีโนไทป์ทั้งหมด = ½ n (n+1)
เมื่อ n = จานวนแอลลีลที่มีอยู่ทั้งหมดในยีนที่สนใจ = 10 จีโนไทป์
ได้แก่จีโนไทป์ A1A1 , A1A2 , A1A3 , A1A4 ,A2A2 , A2A3 , A2A4 ,A3A3 , A3A4 และ A4A4
จานวนฟีโนไทป์ทั้งหมด = n (ถ้า A1 > A2 > A3 > A4 ) complete dominant
= n + X (ถ้า A1 > A2 = A3 > A4 ) incomplete/co dominant
การคานวณจีโนไทป์ที่เป็นไปได้ทั้งหมดในมัลติเปิลแอลลีล
มัลติเปิลแอลลีน (multiple allele) : สีผมของมนุษย์
erythroblastosis fetalis
Erythroblastosis fetalis, photomicrograph
I A = I B >i
Pedigree analysis reveals Mendelian patterns in human inheritance
นักวิจัยได้พัฒนากรรมวิธีการศึกษาพันธุศาสตร์ของมนุษย์ เพื่อทราบว่าลักษณะกรรมพันธุ์นั้นมีการ
ถ่ายทอดแบบใด และสามารถคาดคะเนได้ว่าลักษณะกรรมพันธุ์นั้นมีโอกาสเกิดขึ้นได้มากน้อยเพียงใดในคู่แต่งงาน
แต่ละคู่ ซึ่งเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการวางแผนสาหรับครอบครัวที่มียีนที่ผิดปกติอยู่ เทคนิคที่นิยมใช้กันอยู่คือ การ
วิเคราะห์สายสัมพันธ์ของกลุ่มเครือญาติ (pedigree analysis)
a dominant
trait
a recessive
trait
สาหรับโจทย์ที่มีพงศาวลีมาให้และถามว่าเป็นการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบใด มีเทคนิก
ดูง่ายๆ
1. Autosomal dominance : 1) ลักษณะมัจะปรากฏทุกรุ่น 2) อาจพบการถ่ายทอดจากพ่อไป
ลูกชาย
2. X-linked dominance : 1) ลักษณะมักจะปรากฏทุกรุ่น 2) ต้องไม่พบการถ่ายทอดจากพ่อ
ไปลูกชาย 3) หากมีพ่อเป็นโรคแล้ว ต้องถ่ายทอดลักษณะไปให้ลูกสาวเสมอ
3. Autosomal recessive : 1) ลักษณะมักจะปรากฏเว้นรุ่น 2) หากพ่อแม่ปกติและลูกเป็นโรค
แล้ว พ่อแม่ต้องเป็นพาหะอย่างแน่นอน 3) ลักษณะจะมีโอกาสแสดงมากขึ้นหากมีการแต่งงาน
ในเครือญาติ
4. X-linked recessive : 1) มักเกิดในลูกชายที่แม่เป็นพาหะ
เมื่อดูคร่าวๆแล้วเราจึงตรวจสอบจีโนไทป์ของบุคคลในตัวเลือกข้อนั้นๆอีกทีว่าเป็นไปได้หรือไม่ วิธีนี้
จะทาให้เราไม่เสียเวลาดูทุกๆจีโนไทป์ของทุกๆตัวเลือก
เพดิกรีการถ่ายทอดลักษณะเด่นบนออโทโซม
เพดิกรีการถ่ายทอดลักษณะด้อยบนออโทโซม
1. ปรากฏทุกรุ่น
2. หญิง ชาย มีโอกาสเกิดเท่ากัน
1. ไม่ปรากฏทุกรุ่น
2. หญิง ชาย มีโอกาสเกิดเท่ากัน
เพดิกรีการถ่ายทอดลักษณะเด่นบนโครโมโซม X
1. พ่อผิดปกติ ลูกสาวทุกคนผิดปกติ
2. แม่ผิดปกติ ลูกทุกเพศมีโอกาสเกิดเท่ากัน
1. พ่อผิดปกติ ลูกทุกคนปกติ
2. แม่ผิดปกติ ลูกชายทุกคนผิดปกติ
เพดิกรีการถ่ายทอดลักษณะด้อยบนโครโมโซม X
การถ่ายทอดลักษณะบน mitochondria
1. พ่อผิดปกติ ลูกทุกคนปกติ
2. แม่ผิดปกติ ลูกทุกคนผิดปกติ
“THE END”
THANK YOU FOR YOUR ATTENTION!

More Related Content

What's hot

6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์สำเร็จ นางสีคุณ
 
เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์Wichai Likitponrak
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซมPinutchaya Nakchumroon
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)Jariya Jaiyot
 
พันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มพันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มWichai Likitponrak
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)Thitaree Samphao
 
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตบทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตฟลุ๊ค ลำพูน
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaWan Ngamwongwan
 
Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์bio2014-5
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศkrupornpana55
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59Wan Ngamwongwan
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสงPinutchaya Nakchumroon
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพSirintip Arunmuang
 

What's hot (20)

6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
 
พันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มพันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่ม
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)
 
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตบทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
 
Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
การแบ่งเซลล์
การแบ่งเซลล์การแบ่งเซลล์
การแบ่งเซลล์
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 

Similar to Genetics posn

การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartokการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartokpitsanu duangkartok
 
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6Nattapong Boonpong
 
พันธุศาสตร์
พันธุศาสตร์พันธุศาสตร์
พันธุศาสตร์zidane36
 
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมสำเร็จ นางสีคุณ
 
เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์natthineechobmee
 
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพสำเร็จ นางสีคุณ
 
G biology bio2
G biology bio2G biology bio2
G biology bio2Bios Logos
 
Biology bio16
 Biology bio16 Biology bio16
Biology bio16Bios Logos
 
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรมGenetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรมJanistar'xi Popae
 
บท2 ยีนเเละโครโมโซม
บท2 ยีนเเละโครโมโซมบท2 ยีนเเละโครโมโซม
บท2 ยีนเเละโครโมโซมWichai Likitponrak
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดลอัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดลbuabun
 

Similar to Genetics posn (20)

Aaa
AaaAaa
Aaa
 
Genetics
GeneticsGenetics
Genetics
 
พันธูกรรม1
พันธูกรรม1พันธูกรรม1
พันธูกรรม1
 
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartokการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
 
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
 
พันธุศาสตร์
พันธุศาสตร์พันธุศาสตร์
พันธุศาสตร์
 
Mitosis1 [compatibility mode]
Mitosis1 [compatibility mode]Mitosis1 [compatibility mode]
Mitosis1 [compatibility mode]
 
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
 
เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
เอกสารเรื่องการสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์
 
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
16แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
G biology bio2
G biology bio2G biology bio2
G biology bio2
 
Genetics
GeneticsGenetics
Genetics
 
1 ecosystem 2
1 ecosystem 21 ecosystem 2
1 ecosystem 2
 
Biology bio16
 Biology bio16 Biology bio16
Biology bio16
 
Tutur(biology)0 net 3
Tutur(biology)0 net 3Tutur(biology)0 net 3
Tutur(biology)0 net 3
 
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรมGenetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Genetics การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
2แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 2)
2แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 2)2แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 2)
2แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 2)
 
บท2 ยีนเเละโครโมโซม
บท2 ยีนเเละโครโมโซมบท2 ยีนเเละโครโมโซม
บท2 ยีนเเละโครโมโซม
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดลอัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
อัตราการเกิดปฏิกิริยา๘ มหิดล
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Genetics posn

  • 1. โครงการเตรียมความพร้อมในการสอบเข้าค่าย ชีววิทยาโอลิมปิก ค่าย 1 ประจาปี 2561 นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธุศาสตร์ Mendelian Genetics, Incomplete dominant, Multiple alleles
  • 2. ครูผู้สอน  นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่งครู คศ.1 เอกวิชาชีววิทยา ประวัติการศึกษา :  พ.ศ. 2549 วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกีรยตินิยมอันดับ 2) สาขาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล  พ.ศ. 2551 ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ เอกเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช  พ.ศ. 2552 ประกาศนียบัตรบัณฑิตวิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต  พ.ศ. 2555 สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ เอกสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช  พ.ศ. 2558 ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการประเมินและการวิจัยทางการศึกษา เอกวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง
  • 3.
  • 5.
  • 6.
  • 7. Chromosome classification กลุ่ม คู่ที่ ขนาด /รูปร่าง โครโมโซม A 1-3 ใหญ่ /metacentric, submetacentric B 4-5 ใหญ่ /submetacentric C 6-12, X กลาง/submetacentric D 13-15 กลาง /acrocentric E 16-18 เล็ก /metacentric, submetacentric F 19-20 เล็ก /metacentric G 21-22, Y เล็ก /acrocentric
  • 8.
  • 9.
  • 10.
  • 11.
  • 12.
  • 13.
  • 14.
  • 15.
  • 16.
  • 17.
  • 18.
  • 20.
  • 21.
  • 22. ความแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)  ความแปรผันลักษณะทางพันธุกรรมสามารถจาแนกได้ 2 ประเภท 1. ความแปรผันลักษณะทางพันธุกรรมที่ไม่ต่อเนื่อง (discontinuous variation) เป็นลักษณะ ทางพันธุกรรมที่สามารถแยกความแตกต่างได้อย่างชัดเจนเกิดจากอิทธิพลของกรรมพันธุ์ เพียงอย่างเดียว เรียกลักษณะแบบนี้ว่า ลักษณะทางคุณภาพ (qualitative trait) เช่น มีลักยิ้ม - ไม่มีลักยิ้ม มีติ่งหู -ไม่มีติ่งหู ห่อลิ้นได้ - ห่อลิ้นไม่ได้ เป็นต้น 2. ความผันแปรทางพันธุกรรมแบบต่อเนื่อง (continuous variation) เป็นลักษณะทาง พันธุกรรมที่ไม่สามารถแยกความแตกต่างได้อย่างเด่นชัด เช่น ความสูง น้าหนัก โครงร่าง สีผิว เป็นต้น ซึ่งเกิดจากอิทธิพลของกรรมพันธุ์ที่มียีนหลายตาแหน่งควบคุม และสิ่งแวดล้อม ร่วมกัน เช่น ความสูงถ้าได้รับสารอาหารถูกต้องตามหลักโภชนาการและมีการออกกาลังกาย ก็จะทาให้มีร่างกายสูงได้ ลักษณะที่แตกต่างกันมีการกระจายตัวแบบต่อเนื่อง สามารถเขียน เป็นกราฟรูปโค้งปกติได้ ซึ่งเรียกลักษณะแบบนี้ว่า ลักษณะทางปริมาณ (quantitative trait)
  • 23.
  • 24.
  • 25.
  • 26.
  • 27.
  • 28.
  • 29. การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมโดยยีน 2 คู่ (Dihybrid cross)  เป็นการศึกษาลักษณะของยีน 2 คู่ (ควบคุมสองลักษณะ) โดยแต่ละคู่จะกาหนดลักษณะทาง พันธุกรรมต่างกัน โดยการศึกษาจะพิจารณาไปพร้อม ๆ กัน เช่น ถั่วลันเตาต้นหนึ่ง สังเกตว่ามี 2 ลักษณะ ลักษณะแรก คือ เมล็ดกลม (RR) และเมล็ดขรุขระ (rr) กับลักษณะที่สอง คือ เมล็ด เหลือง (YY) และเมล็ดเขียว (yy) : ลักษณะของเซลล์สืบพันธุ์แตกต่างกันตามกฎข้อ 2 ฟีโนไทป์ มี 4 แบบ คือ  เมล็ดกลมเรียบ เปลือกหุ้มเมล็ดสีเหลือง 9/16  เมล็ดกลมเรียบ เปลือกหุ้มเมล็ดสีเขียว 3/16  เมล็ดขรุขระ เปลือกหุ้มเมล็ดสีเหลือง 3/16  เมล็ดขรุขระ เปลือกหุ้มเมล็ดสีเขียว 1/16 9 : 3 : 3 : 1 เทคนิคการคูณ (Multiplication) อัตราส่วนความ น่าจะเป็นของแต่ละเหตุการณ์ที่สนใจ
  • 30. Genotypic ratio approximately 1 : 2 : 1 : 2 : 4 : 2 : 1 : 2 : 1 YYRR:YYRr:YYrr:YyRR:YyRr:Yyrr:yyRR:yyRr:yyrr
  • 31. ลักษณะทั้ง 7 ของถั่วลันเตา (Pisum sativum) ถั่วลันเตามีลักษณะที่ดี ดังนี้ • มีการเจริญเติบโตเร็ว มีความหลากหลายทางพันธุกรรม (variation) เห็นความแตกต่างกันอย่างชัดเจน • มีการปฏิสนธิตนเอง (perfect flower) : self fertilization • ปลูกง่าย อายุการให้ผลผลิตสั้น ทาให้ศึกษาติดตามผลการทดลองได้ง่าย (many generation) • ลักษณะทั้ง 7 มีการถ่ายทอดตามหลักของเมนเดล คือไม่มี linkage , multiple alleles , polygene , co dominance ,Incomplete dominant ฯลฯ
  • 32.
  • 33.
  • 34. การศึกษาการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของเมนเดล  ถั่วลันเตาต้นสูงเป็นลักษณะเด่น ( Dominant ) ซึ่งถูกควบคุมโดย ถั่วลันเตาต้นเตี้ยแคระเป็น ลักษณะด้อย ( Recessive ) ซึ่งถูกควบคุมโดย factor คนละตัว  การแสดงออกของลักษณะทางพันธุกรรม คือ ลักษณะเด่นจะข่มลักษณะด้อย 100% ( Complete dominant ) และลักษณะเด่นจะปรากฏให้เห็นในแต่ละรุ่นเป็นจานวนมาก  ต่อมาในปีพ.ศ.2454 โจแฮน เซน ได้เปลี่ยนมาใช้ gene แทน factor
  • 36.
  • 37. กฎข้อที่ 1 ของเมนเดล : การพิจารณาหนึ่งลักษณะ (monohybrid cross) กฎการแยกตัวของยีน ( Law of segregation of gene ) กล่าวว่ายีนที่ควบคุมลักษณะต่างๆจะอยู่เป็นคู่ เสมอ เมื่อถึงระยะที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์ (meiosis) ยีนจะแยกไปอยู่ในสภาพเดี่ยวในเซลล์สืบพันธุ์ (2nn) เมื่อเกิดการปฏิสนธิเป็นไซโกต จึงกลับมารวมกันอีกครั้ง (เข้าคู่ homologous chromosome) Allelomorph = allele (ต่างกัน) + morph (รูปแบบ) เรียกสั้นว่า allele : homozygous / heterozygous Genotype vs Phenotype
  • 38.
  • 39.
  • 40.
  • 41.
  • 42.
  • 43.
  • 44.
  • 45.
  • 46. เทคนิคควรจาการคานวณทางพันธุ์ศาสตร์  จากกฎของเมนเดลจะได้ว่า ถ้าจานวนคู่ของยีนในจีไทป์มีมากขึ้นและเป็นเฮเทอโร ไซกัสทุกตาแหน่งชนิดของเซลล์พืชพันธุ์ที่เกิดขึ้น จานวนจีโนไทป์ ชนิดของจีโน ไทป์และชนิดของฟีโนไทป์ก็จะมากขึ้น  กาหนดให้ n = จานวนคู่ยีนที่เป็นเฮเทอโรไซกัส  จานวนชนิดของเซลล์สืบพันธุ์ = 2n  จานวนชนิดของจีโนไทป์ของลูก = 3n  จานวนชนิดของฟีโนไทป์ของลูก = 2n  จานวนชนิดของฮอมอไซกัสของลูก = 2n  จานวนชนิดของเฮเทอโรไซกัสของลูก = 3n - 2n  จานวนจีโนไทป์ทั้งหมดของลูกที่เกิดจากการผสมระหว่างอสุจิกับไข่ = 4n
  • 47.
  • 48.
  • 49. Phenotype 8 แบบ ได้แก่ 1. เด่น เด่น เด่น : 27 2. เด่น เด่น ด้อย : 9 3. เด่น ด้อย เด่น : 9 4. เด่น ด้อย ด้อย : 3 5. ด้อย เด่น เด่น : 9 6. ด้อย เด่น ด้อย : 3 7. ด้อย ด้อย เด่น : 3 8. ด้อย ด้อย ด้อย : 1 Phenotype 1. เด่น D : D_ 2. ด้อย d : dd 3. เด่น S : S_ 4. ด้อย s : ss 5. เด่น M : M_ 6. ด้อย m : mm
  • 50. การทานายผลของการถ่ายทอดลักษณะตามกฏของเมนเดล  การหาอัตราส่วนของจีโนไทป์และฟีโนไทป์ในรุ่นลูก สามารถคาดการณ์ได้ด้วยกฎความ น่าจะเป็น  1) วิธีหาอัตราส่วนของจีโนไทป์และฟีโนไทป์  วิธีการเข้าตาราง (checkerboard method or Punnett squares)  วิธีการต่อกิ่ง (branching system)  2) กฎความน่าจะเป็น
  • 51. checkerboard methodor Punnett squares branching system
  • 53. Trihybrid cross : RrYySs x RrYySs
  • 54.
  • 56. การหาโอกาสของลักษณะ phenotype ต่างๆ A=สีม่วง a=สีขาว B=เรียบ b=ขุรขระ C=อวบ c=ลีบ AaBbCc x AaBbCc 1/4BB,2/4Bb 1/4aa 1/4AA, 2/4Aa 1/4bb 1/4BB,2/4Bb 1/4bb ม่วงเรียบอวบ ม่วงเรียบลีบ ม่วงขุรขระอวบ ม่วงขุรขระลีบ 1/4CC,2/4Cc 1/4cc ม่วง ขาว เรียบ ขุรขระ อวบ ลีบ
  • 57. AaBbCc x AaBbCc A=สีม่วง a=สีขาว B=เรียบ b=ขุรขระ C=อวบ c=ลีบ 1/4cc (1/4ขุรขระ) 1/4CC,2/4Cc (3/4อวบ) Cc x Cc 1/4bb (1/4ขุรขระ) 1/4BB,2/4Bb (3/4เรียบ) Bb x Bb 1/4aa (1/4ขาว) 1/4AA,2/4Aa (3/4ม่วง) Aa x Aa สีดอก/เมล็ด 3/4เรียบ 1/4ขุรขระ ฝัก 3/4ม่วง 27/64ม่วง เรียบอวบ 3/4อวบ 9/64ม่วง เรียบลีบ 1/4ลีบ 1/4ขาว 3/4อวบ 1/4ลีบ การหาโอกาสของลักษณะ phenotype ต่างๆ checkerboard method or Punnett squares
  • 58. กฎความน่าจะเป็น  ความน่าจะเป็น ( Probability ) หมายถึง ค่าโอกาสที่เกิดขึ้นของเหตุการณ์ใดเหตุการณ์ หนึ่งต่อเหตุการณ์ที่เป็นไปได้ทั้งหมด P(E) = n(E) / n(S) เช่น ลูกสามารถคาดคะเนได้ว่า น่าจะมี 2 โอกาส คือ อาจจะเป็น เพศชายหรือหญิง อย่างละครึ่งหรือ อัตราส่วน เพศ ชาย : เพศหญิง เท่ากับ 1 : 1 หรือ 50 : 50 หรือ 1 / 2 : 1 / 2 การคานวณค่าอัตราส่วนของความน่าจะเป็น มี 2 แบบ คือ 1. แบบการบวก ( Addition ) เป็นอัตราส่วนของเหตุการณ์ที่ไม่สามารถเกิดขึ้นได้พร้อม ๆ กัน คือ เมื่อเกิดเหตุการณ์หนึ่งแล้ว เหตุการณ์อื่น ๆ จะไม่เกิดขึ้น เช่น โอกาสได้ลูกชายผิวเผือก = 0.2 โอกาสได้ลูกสาวผิวเผือก = 0.1 ดังนั้น โอกาสที่จะได้ ลูกผิวเผือก = 0.2+0.1 = 0.3 2. แบบการคูณ ( Multiplication ) เป็นอัตราส่วนของเหตุการณ์ 2 เหตุการณ์ที่สามารถเกิด ได้พร้อม ๆ กัน เช่น เมื่อ AaBb ผสมกับ AaBb โอกาสได้ AA จาก Aa x Aa = ¼ โอกาสได้ Bb จาก Bb x Bb = ½ ดังนั้น โอกาสได้ลูกมีจีโนไทป์ AABb = ¼ x ½ = 1/8
  • 59. ตัวอย่างโจทย์ทางพันธุศาสตร์ ข้อ 1 ข้อ 2 สิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งมีจีโนไทป์เป็น RrTT ผสมกับสิ่งมีชีวิตที่มีจีโนไทป์เป็น RRTt (กาหนดให้ยีน R และ T อยู่บนคนละโครโมโซมกัน) จงคานวณหาความน่าจะเป็นในกรณี ต่างๆ ต่อไปนี้ a. ความน่าจะเป็นที่ลูกที่เกิดขึ้นจะมีจีโนไทป์เป็น RRTT b. ความน่าจะเป็นที่ลูกที่เกิดขึ้นจะมีจีโนไทป์ หรือ RrTt สามีภรรยาคู่หนึ่งแต่งงานกันและมีลูกด้วยกันทั้งหมด 3 คน จงคานวณหาความน่าจะเป็น ต่อไปนี้ a. ความน่าจะเป็นที่จะได้ลูกชายทั้ง 3 คน b. ความน่าจะเป็นที่จะได้ลูกคนแรกเป็นผู้ชาย และลูกคนที่สองและสามเป็นผู้หญิง c. ความน่าจะเป็นที่จะได้ลูกชาย 1 คน และลูกสาว 2 คน d. ความน่าจะเป็นที่จะได้ลูกชายคนแรกเท่านั้น (ถ้ามีลูกชาย 2 คน และลูกสาว 1 คน)
  • 60. จากผลการศึกษาลักษณะความสูงเพียงลักษณะเดียวของเมนเดล การผสมกลับ (Backcross) VS การผสมเพื่อทดสอบ ( test cross)  การผสมกลับ (Backcross) คือ การเอาลูกย้อนไปผสมกับพ่อพันธุ์แม่พันธุ์ เพื่อปรับปรุงพันธุ์ ให้ดีตามพ่อแม่มากขึ้นเรื่อย ๆ ตรงกับความต้องการซึ่งมักใช้กับการถ่ายทอดลักษณะทาง พันธุกรรมที่มียีนหลายยีนควบคุมลักษณะเดียวกัน)  การผสมเพื่อทดสอบ ( test cross) คือ การทดสอบว่าลักษณะเด่นที่พบเป็นพันธุ์แท้หรือ พันทาง สามารถทาการตรวจสอบได้โดยนาไปผสมกับลักษณะด้อย (ตัวทดสอบ หรือ tester) หากผลปรากฏว่ารุ่นลูกมีลักษณะเด่นทั้งหมด แสดงว่าเป็นเด่นพันธุ์แท้ แต่หากรุ่นลูกมี ลักษณะเด่น : ด้อย = 1 : 1 แสดงว่าเป็นเด่นพันทาง
  • 61.
  • 63.  ถ้าเรามี phenotype เด่น ( A_ ) แล้วอยากรู้ว่ามี genotype เป็นแบบ AA หรือ Aa สามารถทาได้ 2 วิธี คือ 1) การผสมตัวเอง (Selfing) ถ้าเป็น Aa ผสมกันเอง ลูกที่ได้จะเป็นอัตราส่วน ลักษณะเด่น : ด้อย = 3 : 1 แต่ถ้าเป็น AA เมื่อผสมตัวเองจะได้ลักษณะเด่นทั้งหมด 2) การผสมเพื่อทดสอบ ( test cross) หรือการผสมแบบย้อนกลับ ( backcross )  เป็นการทดสอบว่าสิ่งมีชีวิตที่เราสงสัยนั้นเป็น homozygous หรือ heterozygous  โดยการทดสอบนั้นจะนาสิ่งมีชีวิตที่เราสงสัยนั้นไปผสมกับ homozygous recessive จากนั้น สังเกตผลที่เกิดขึ้นในรุ่น F1 ว่าผลเป็นอย่างไร การผสมเพื่อทดสอบ กรณีที่ 1 P TT x tt gamete T t F1 Tt phenotype ต้นสูง สรุป genotype คือ Tt phenotype คือ ต้นสูงทั้งหมด คือ 100% (genotype เป็น homozygous)
  • 64. การผสมเพื่อทดสอบ กรณีที่ 2 P Tt x tt gamete T , t t F1 Tt , tt phenotype ต้นสูง : ต้นเตี้ย สรุป genotype คือ T t , t t phenotype คือ ต้นสูง : ต้นเตี้ย ( 1 : 1 ) (genotype เป็น heterozygous)
  • 65. การผสมกลับหรือแบคครอส (backcross) เป็นการนาลูกผสมรุ่น F1 ที่ได้จากการผสมระหว่างพ่อและแม่ที่เป็นพันธุ์แท้กลับไปผสมพันธุ์กับ พันธุ์พ่อหรือพันธุ์แม่เพื่อให้ได้ลักษณะตามที่เราต้องการ ตัวอย่างเช่น เรานาพืชลูกผสมที่ได้รับยีน ต้านทานโรคจากสายพันธุ์พ่อไปผสมกลับกับสายพันธุ์แม่ที่ให้ผลผลิตสูง ถึงแม้ว่าลูกผสม F1 จะมี ความต้านทานต้านทานต่อโรคได้ดี แต่กลับมีผลผลิตไม่เท่ากับสายพันธุ์แม่ การนาลูกผสมนี้ผสมกลับไป หาสายพันธุ์แม่หลายๆ ครั้งจะทาให้ได้ลูกผสมในรุ่นหลังๆ ที่นอกจากจะมีลักษณะต้านทานต่อโรคแล้ว ยังได้รับยีนที่ให้ผลผลิตสูงจากสายพันธุ์แม่เพิ่มขึ้นอีกด้วย
  • 66.
  • 67.
  • 68.
  • 69.
  • 71.
  • 72. ตารางการถ่ายทอดลักษณะที่ควบคุมด้วยยีน 3 ตาแหน่ง  ลักษณะทางพันธุกรรมที่ควบคุมด้วยพอลิยีน ยีนแต่ละคู่แสดงผลแบบบวกสะสม (additive effect) ถ้ากาหนดให้ยีน 3 ตาแหน่งจะได้สัดส่วนทาง ฟีโนไทป์ ของลูกรุ่น F2 คือ 1/64 , 6/64 , 15/64 20/64 , 15/64 , 6/64 1/64 ตามลาดับ การคานวณหาอัตราส่วนทางฟีโนไทป์ ของลักษณะที่ควบคุมด้วยยีนหลายโลคัส  คำนวณด ้วยวิธีกำรขยำยไบโนเมียล (a+b)n a = โอกำสที่จะมียีนเด่นในแต่ละโลคัส = ½ b = โอกำสที่จะมียีนด ้อยในแต่ละโลคัส = ½ n = ผลรวมของจำนวนยีนทุกตำแหน่งที่ควบคุม ลักษณะ จำกกำรทดลองลักษณะควบคุมสีของเมล็ดข ้ำวสำลี ควบคุมด ้วยยีน 3 โลคัส (6 ยีน)
  • 73.  (a+b)n = (a+b)6 ดังนั้น (a+ b)6 = a6+ 6a5b + 15a4b2 + 20a3b3 +15a2b4 +6ab5 +b6 = (½)6+ 6(½)5 (½) + 15 (½)4 (½)2 + 20 (½)3 (½)3 +15 (½)2 (½)4 + 6 (½)(½)5 + (½)6 = 1/64 + 6/64 + 15/64 + 20/64 + 15/64 + 6/64 + 1/64 การผลิตเมลานินแตกต่างกันตาม จานวนยีนที่ผลิต ฟีโนไทป์ของ พอลิยีนจึงเป็นการแสดงออก ร่วมกันของยีนหลายตาแหน่ง ตัวอย่างพอลิยีนสิวของคน
  • 74.
  • 77. สีตาของคนเป็นยีนที่อยู่บนโครโมโซมคู่ที่ 15 และ 19 มีสีน้าตาลเข้มถึง สีน้าตาลอ่อน อัมพัน เขียว เทา น้าเงิน พอลิยีน(polygenes)
  • 78. ไก่พันธ์ ขนสีดาซึ่งควบคุมโดยยีนเด่นบนโครโมโซมเพศ การผสมพันธ์ระหว่างไก่ตัวเมียขนสีดากับไก่ตัวผู้ขนสี ขาว จะได้ลูกไก่ที่มีลักษณะดังข้อใด 1. ตัวเมียขนสีขาวจานวนเท่ากับตัวผู้ขนสีดา 2. ตัวเมียขนสีดาจานวนเท่ากับตัวผู้ขนสีขาว 3. ตัวเมียขนสีดาจานวนมากกว่าตัวผู้ขนสีดา 4. ลูกไก่ทุกตัวมีขนสีดา Test yourself ลักษณะฮีโมฟีเลียควบคุมโดยยีนด้อย (h) บนโครโมโซมเพศ ส่วนลักษณะถนัดขวาควบคุมโดยยีนเด่น (R) บน โครโมโซมร่างกาย จากการแต่งงานระหว่างชายปกติถนัดซ้ายกับหญิงปกติถนัดขวา ที่มีบิดาถนัดซ้ายและเป็นโรคฮี โมฟีเลีย จงหาโอกาสที่จะเกิดบุตรซึ่งเป็นโรคฮีโมฟีเลียและถนัดขวา ก. 1/2 ข. 1/4 ค. 1/6 ง. 1/8
  • 79. ลักษณะพันธุกรรมการที่เป็นส่วนขยายของพันธุศาสตร์เมนเดล  การข่มแบบไม่สมบูรณ์ (Incomplete Dominant)  มัลติเพิลแอลลีล ( Multiple alleles )  การข่มร่วมกัน (CO – dominant)  พอลิยีน (polygenes)  ปฏิกิริยาการข่มของยีนต่างตาแหน่ง (epistasis) *****
  • 80.
  • 81. การข่มแบบไม่สมบูรณ์ (Incomplete Dominant)  Incomplete dominant คือ การแสดงออกของ gene ที่เป็น gene เด่นไม่สามารถข่ม gene ด้อย ได้อย่างสมบูรณ์ ทาให้มีการแสดงออกของ gene ทั้งสองแบบเป็นผสมกันหรือเป็นแบบกลางๆ ระหว่างสองลักษณะ เช่น สีดอกลิ้นมังกร  เมื่อนาชบารุ่น ลูก F1 2 ต้นมาผสมกันจะได้รุ่นลูก F2 อัตราส่วนฟีโนไทป์ คือ ดอกสีขาว : ดอกสีชมพู : ดอกสีแดง เท่ากับ 1 : 2 : 1 (ซึ่งเท่ากับอัตราส่วนจีโนไทป์)
  • 82.  จะได้ฟีโนไทป์ 3 แบบ คือ ดอกสีแดง : ดอกสีชมพู : ดอกสีขาว  อัตราส่วนฟีโนไทป์ คือ 1 : 2 : 1  ความน่าจะเป็น ¼ : ½ : ¼
  • 83.
  • 84. morning glory variation R ควบคุมสีม่วง R’ ควบคุมสีขาว ดังนั้น RR’ แสดงออกสีน้าเงิน
  • 86.
  • 87. มัลติเพิลแอลลีล ( Multiple alleles )  แอลลีล หมายถึง รูปแบบต่าง ๆ ของยีนซึ่งมีตาแหน่งเดียวกันบนโครโมโซม  แต่ละชนิดของแอลลีลจะควบคุมลักษณะเฉพาะเท่านั้น  แต่ละตาแหน่งของยีนที่ควบคุมลักษณะดังกล่าวอาจมีมากกว่า 2 แอลลีล ที่เรียกว่า มัลติเพิลแอลลีล ตัวอย่าง • ลักษณะหมู่เลือดของคน ระบบ ABO มียีนควบคุม 3 แอลลีล คือ • I A กาหนดการสร้างแอนติเจน A พบในคนหมู่เลือด A • I B กาหนดการสร้างแอนติเจน B พบในคนหมู่เลือด B • i ไม่สร้างแอนติเจน ทั้ง A และ B พบในคนหมู่เลือด O หมายเหตุ • ทั้งแอลลีล I A และแอลลีล I B เป็นแอลลีลเด่นทั้งคู่ หรือเด่นร่วมกัน เรียกว่า CO – dominant • คนที่มีทั้งแอลลีล I A และแอลลีล I B กาหนดการสร้างแอนติเจนทั้ง A ,B จึงพบในคนหมู่เลือด AB • แอลลีล i เป็นแอลลีลด้อยไม่สร้างแอนติเจน • คนที่มีจีโนไทป์ ii ไม่มีแอนติเจน ทั้ง A และ B จึงมีหมู่เลือด O
  • 88.
  • 89.
  • 90.
  • 91.
  • 92.
  • 93. “โอบอมเบย์ (O-Bombay หรือ hh-antigen blood group)”  ซึ่งถูกรายงานครั้งแรกเมื่อปี 1952 โดยเป็นกรณีนี้เกิดขึ้นที่เมืองบอมเบย์ ประเทศ อินเดียโดย Dr. Y.M. Bhende ซึ่งในเมืองดังกล่าวจะพบหมู่เลือดพิเศษนี้ใน อัตรา1 คนในหมื่นคน หรือเมื่อคิดจากประชากรทั้งโลกจะพบคนที่มีหมู่เลือดโอบ อมเบย์ประมาณ 4 คนใน 1 แสนคน หมู่เลือดนี้จะมีปัญหาอย่างมากในการรับเลือด กรณีทีได้รับเลือดจากหมู่ O ปกติ โดยจะสามารถรับเลือดจากหมู่ O ปกติได้เพียง ครั้งเดียวเท่านั้น แต่ถ้ารับจากหมู่โอบอมเบย์ด้วยกันจะได้ไม่มีปัญหา  เยื่อหุ้มเซลล์เม็ดเลือดแดงของหมู่เลือด O จะมีแต่แอนติเจน H เพียงอย่างเดียว ซึ่ง ไม่สามารถเปลี่ยนเป็นแอนติเจน A หรือแอนติเจน B ได้ เนื่องจากไม่มีเอนไซม์ transferase A หรือ เอนไซม์ transferase B ส่วนของแอนติเจน H จะ ถูกควบคุมโดย gene H และ gene h โดยที่ HH และ Hh genotype จะกาหนดให้แสดงแอนติเจน H ที่เยื่อหุ้มเซลล์ของเม็ดเลือดแดง hh genotype จะกาหนดให้ไม่แสดงแอนติเจน H ที่เยื่อหุ้มเซลล์ของเม็ดเลือดแดง
  • 94.
  • 95. ขึ้นอยู่กับจานวนแอลลีลที่มีอยู่ในยีนนั้น เช่น ถ้าจานวนแอลลีลในยีนที่เราสนใจศึกษาประกอบด้วย 4 แอลลีล คือ A1 , A2 , A3 , A4 จานวนจีโนไทป์ทั้งหมด = ½ n (n+1) เมื่อ n = จานวนแอลลีลที่มีอยู่ทั้งหมดในยีนที่สนใจ = 10 จีโนไทป์ ได้แก่จีโนไทป์ A1A1 , A1A2 , A1A3 , A1A4 ,A2A2 , A2A3 , A2A4 ,A3A3 , A3A4 และ A4A4 จานวนฟีโนไทป์ทั้งหมด = n (ถ้า A1 > A2 > A3 > A4 ) complete dominant = n + X (ถ้า A1 > A2 = A3 > A4 ) incomplete/co dominant การคานวณจีโนไทป์ที่เป็นไปได้ทั้งหมดในมัลติเปิลแอลลีล
  • 96.
  • 97.
  • 98.
  • 99.
  • 100. มัลติเปิลแอลลีน (multiple allele) : สีผมของมนุษย์
  • 101.
  • 102.
  • 103.
  • 105.
  • 107.
  • 108.
  • 109. I A = I B >i
  • 110. Pedigree analysis reveals Mendelian patterns in human inheritance นักวิจัยได้พัฒนากรรมวิธีการศึกษาพันธุศาสตร์ของมนุษย์ เพื่อทราบว่าลักษณะกรรมพันธุ์นั้นมีการ ถ่ายทอดแบบใด และสามารถคาดคะเนได้ว่าลักษณะกรรมพันธุ์นั้นมีโอกาสเกิดขึ้นได้มากน้อยเพียงใดในคู่แต่งงาน แต่ละคู่ ซึ่งเป็นประโยชน์อย่างยิ่งในการวางแผนสาหรับครอบครัวที่มียีนที่ผิดปกติอยู่ เทคนิคที่นิยมใช้กันอยู่คือ การ วิเคราะห์สายสัมพันธ์ของกลุ่มเครือญาติ (pedigree analysis) a dominant trait a recessive trait
  • 111.
  • 112. สาหรับโจทย์ที่มีพงศาวลีมาให้และถามว่าเป็นการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบใด มีเทคนิก ดูง่ายๆ 1. Autosomal dominance : 1) ลักษณะมัจะปรากฏทุกรุ่น 2) อาจพบการถ่ายทอดจากพ่อไป ลูกชาย 2. X-linked dominance : 1) ลักษณะมักจะปรากฏทุกรุ่น 2) ต้องไม่พบการถ่ายทอดจากพ่อ ไปลูกชาย 3) หากมีพ่อเป็นโรคแล้ว ต้องถ่ายทอดลักษณะไปให้ลูกสาวเสมอ 3. Autosomal recessive : 1) ลักษณะมักจะปรากฏเว้นรุ่น 2) หากพ่อแม่ปกติและลูกเป็นโรค แล้ว พ่อแม่ต้องเป็นพาหะอย่างแน่นอน 3) ลักษณะจะมีโอกาสแสดงมากขึ้นหากมีการแต่งงาน ในเครือญาติ 4. X-linked recessive : 1) มักเกิดในลูกชายที่แม่เป็นพาหะ เมื่อดูคร่าวๆแล้วเราจึงตรวจสอบจีโนไทป์ของบุคคลในตัวเลือกข้อนั้นๆอีกทีว่าเป็นไปได้หรือไม่ วิธีนี้ จะทาให้เราไม่เสียเวลาดูทุกๆจีโนไทป์ของทุกๆตัวเลือก
  • 113. เพดิกรีการถ่ายทอดลักษณะเด่นบนออโทโซม เพดิกรีการถ่ายทอดลักษณะด้อยบนออโทโซม 1. ปรากฏทุกรุ่น 2. หญิง ชาย มีโอกาสเกิดเท่ากัน 1. ไม่ปรากฏทุกรุ่น 2. หญิง ชาย มีโอกาสเกิดเท่ากัน
  • 114. เพดิกรีการถ่ายทอดลักษณะเด่นบนโครโมโซม X 1. พ่อผิดปกติ ลูกสาวทุกคนผิดปกติ 2. แม่ผิดปกติ ลูกทุกเพศมีโอกาสเกิดเท่ากัน 1. พ่อผิดปกติ ลูกทุกคนปกติ 2. แม่ผิดปกติ ลูกชายทุกคนผิดปกติ เพดิกรีการถ่ายทอดลักษณะด้อยบนโครโมโซม X
  • 115. การถ่ายทอดลักษณะบน mitochondria 1. พ่อผิดปกติ ลูกทุกคนปกติ 2. แม่ผิดปกติ ลูกทุกคนผิดปกติ
  • 116.
  • 117.
  • 118.
  • 119.
  • 120.
  • 121.
  • 122.
  • 123.
  • 124.
  • 125.
  • 126.
  • 127.
  • 128.
  • 129.
  • 130.
  • 131. “THE END” THANK YOU FOR YOUR ATTENTION!