SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น ม.1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการ
ศึกษา 2552
แผนย่อยหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง พฤติกรรมตอบสนองต่อสิ่งเร้า
ของพืช เวลา 1 คาบ ส 7-2
*****************************************************
*************************
1. จุดประสงค์การเรียนรู้ (เฉพาะหน่วยการเรียนรู้)
1. นักเรียนสามารถอธิบายการตอบสนองของพืชต่อสิ่งเร้า
ต่างๆได้
2. คุณลักษณะที่ต้องการพัฒนา
1. ซื่อสัตย์สุจริต
2. มีวินัย
3. ใฝ่เรียนรู้
4. มีจิตสาธารณะ
3. แนวคิด
ขณะที่พืชเจริญเติบโตย่อมได้รับสิ่งเร้าต่างกัน จึงทำาให้ส่วน
ต่างๆ ของพืชมีลักษณะการเจริญเติบโตที่แตกต่างกันไป การตอบ
สนองต่อสิ่งเร้า เป็นสมบัติที่สำาคัญอย่างหนึ่งของสิ่งมีชีวิตที่มีผลต่อ
การดำารงชีวิต ทำาให้ได้รับอาหารหรือหลีกเลี่ยงจากสิ่งที่เป็น
อันตรายได้
เมื่อพืชถูกกระตุ้นด้วยสิ่งเร้าต่างๆเช่น แสงสว่าง อุณหภูมิ นำ้า
การสัมผัส แรงโน้มถ่วงของโลก เป็นต้น ทำาให้ส่วนต่างๆ ของพืชมี
การตอบสนองสิ่งเร้าเหล่านี้ในลักษณะที่แตกต่างกัน
4. สาระการเรียนรู้
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชสังเกตจากการที่พืชมีการ
เคลื่อนไหว ซึ่งแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ
1. การตอบสนองต่อสิ่งเร้าเนื่องจากการเจริญเติบโต
2. การตอบสนองต่อสิ่งเร้าเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงปริมาณ
นำ้าภายในเซลล์
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าเนื่องจากการเจริญเติบโต แบ่งออก
ได้เป็น 2 ชนิด
1. การตอบสนองของพืชที่มีความสัมพันธ์กับทิศทางของสิ่ง
เร้า โดยส่วนของพืชจะโค้งเข้าหาสิ่งเร้า หรือหนีจากสิ่ง
เร้าที่มากระตุ้น ได้แก่
- แสงเป็นสิ่งเร้า จะทำาให้ปลายยอดของพืชเจริญเอนเข้าหา
แสง ส่วนปลายรากของพืชจะเจริญในทิศทางหนีแสง
- แรงโน้มถ่วงของโลกเป็นสิ่งเร้า จะทำาให้ปลายรากเจริญ
ในทิศทางเข้าหาแรงโน้มถ่วงของโลก ส่วนปลายยอด
เจริญในทิศทางหนีแรงโน้มถ่วงของโลก
- นำ้าหรือความชื้นเป็นสิ่งเร้า เช่น การที่รากของพืชเจริญ
ในทิศทางเข้าหานำ้าหรือความชื้น
- การสัมผัสเป็นสิ่งเร้า เช่น การเจริญของมือเกาะของตำาลึง
องุ่น หรือพืชตระกูลแตง โดยเมื่อสัมผัสกับหลักหรือต้นไม้
อื่น จะเจริญพันกับหลักหรือต้นไม้ที่สัมผัส
2. การตอบสนองของพืชที่ไม่สัมพันธุ์กับทิศทางของสิ่งเร้า
การตอบสนองแบบนี้เกี่ยวกับการหุบและการบานของ
ดอกไม้ ซึ่งเกิดจากการเจริญของกลุ่มเซลล์ด้านในและ
ด้านนอกของกลีบดอกไม่เท่ากัน
- เมื่อมีแสงเป็นสิ่งเร้า เช่น ดอกบัวจะบานในเวลากลางวัน
และหุบในเวลากลางคืน ดอกกระบองเพชรจะบานในเวลา
กลางคืนและหุบในเวลากลางวัน
- เมื่อมีอุณหภูมิเป็นสิ่งเร้า เช่น ดอกบัวสวรรค์และดอกทิว
ลิปจะบานเมื่ออุณหภูมิสูงและจะหุบเมื่ออุณหภูมิตำ่าลง
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงปริมาณนำ้า
ภายในเซลล์
เมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุ้นให้พืชเกิดการเปลี่ยนแปลงปริมาณนำ้า
ภายในเซลล์ จะมีผลทำาให้
แรงดันเต่งภายในเซลล์เกิดการเปลี่ยนแปลงไปด้วย แบ่งออกเป็น
3 ประเภท ดังนี้
1. การหุบใบของพืชบางชนิดตอนพลบคำ่าเมื่อมีแสงเป็นสิ่ง
เร้า
2. การหุบใบของพืชบางชนิดเมื่อมีการสัมผัสหรือการกระ
เทือนเป็นสิ่งเร้า
3. การปิด-เปิดของปากใบ เมื่อมีแสงเป็นสิ่งเร้า
5. กิจกรรมการเรียนการสอน
ขั้นนำา (5 นาที)
1. ครูถามนักเรียนด้วยประเด็นดังต่อไปนี้
- ถ้านักเรียนเดินเหยียบตะปู สิ่งแรกที่นักเรียนจะทำาคือ
อะไร (ยกเท้าขึ้น)
- เวลานักเรียนเห็นแสงจ้ามากๆ นักเรียนจะทำาอย่างไร เกิด
อะไรขึ้นกับร่างกายของนักเรียน (หยีตามอง)
- นักเรียนทราบหรือไม่ว่าสิ่งเหล่านี้คืออะไร (การตอบสนอง
ต่อสิ่งเร้า)
2. ครูถามนักเรียนว่า “นักเรียนคิดว่า พืชจะมีการตอบสนอง
”ต่อสิ่งเร้าหรือไม่อย่างไร
3. ครูนำาเข้าสู่บทเรียน โดยกล่าวว่า ในคาบเรียนนี้เราจะมา
ศึกษาว่าพืชมีการตอบสนอง
ต่อสิ่งเร้าหรือไม่ อย่างไร
ขั้นสอน (35 นาที)
1. ครูให้นักเรียนดูภาพดอกทานตะวัน แล้วถามนักเรียนว่า
นักเรียนคิดว่าดอกทานตะวัน
มีการตอบสนองต่อสิ่งเร้าหรือไม่ อย่างไร (มีการตอบสนอง โดย
การหันเข้าหาดวงอาทิตย์)
2. ครูถามนักเรียนว่านักเรียนรู้จักต้นไมยราบหรือไม่ มีการ
ตอบสนองต่อสิ่งเร้าอย่างไร
(รู้จัก เมื่อจับโดนใบแล้วใบหุบ)
3. ครูกล่าวว่าจากตัวอย่างที่ครูยกให้ นักเรียนคิดว่าดอก
ทานตะวันตอบสนองต่ออะไร
และต้นไมยราบตอบสนองต่ออะไร (แสงอาทิตย์ และการสัมผัส
หรือถูกกระเทือน ตามลำาดับ)
4. ครูอธิบายเรื่อง “ ”การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช ว่ามีการ
ตอบสนองในลักษณะใด
บ้าง
5. ครูแจกใบงานเรื่อง “ ”การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช ให้
นักเรียน
ขั้นสรุป (5 นาที)
1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเรื่อง การตอบสนองต่อสิ่งเร้า
ของพืช
6. สื่อและอุปกรณ์การเรียนรู้
- หนังสือเสริมพัฒนาผู้เรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ ว๒๑๑๐๑
- ใบงานเรื่อง การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
- รูปภาพดอกทานตะวัน
7. การวัดและประเมินผล
- สังเกตพฤติกรรมนักเรียนจากการทำากิจกรรมในชั้นเรียน
เช่น การร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน การซักถามและตอบคำาถามของ
นักเรียน
8. บันทึกหลังการสอน (วิจัยชั้นเรียน)
1. ปัญหาหรือสิ่งที่ต้องการพัฒนา
..........................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
....................................................... ..........................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
.......................................... .......................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
............................. ....................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
................
2. แนวทาง / วิธีการสอน / รูปแบบการสอน /
เทคนิคที่ใช้พัฒนาหรือแก้ปัญหา
..........................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
....................................................... ..........................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
.......................................... .......................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
......................
3. ผลที่เกิดขึ้น
..........................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
....................................................... ..........................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
.......................................... .......................................
..................................................................................
.................................... .............................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
..................................................................................
................
ลงชื่อ...................................................ครูผู้สอน
ลงชื่อ...................................................อาจารย์นิเท
ศก์สถานศึกษา
ลงชื่อ...................................................วิชาการ
ลงชื่อ...................................................ครูผู้สอน
ลงชื่อ...................................................อาจารย์นิเท
ศก์สถานศึกษา
ลงชื่อ...................................................วิชาการ

More Related Content

What's hot

ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากkanyamadcharoen
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)สำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีwebsite22556
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ Thitaree Samphao
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืชWann Rattiya
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5Wuttipong Tubkrathok
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2Sukanya Nak-on
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1dnavaroj
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพyangclang22
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกTa Lattapol
 

What's hot (20)

7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืชแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืช
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 13 เรื่องการคายน้ำของพืช
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 

Similar to แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช

แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1Wann Rattiya
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศWann Rattiya
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของต้นไม้ และการลำเลียง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของต้นไม้ และการลำเลียงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของต้นไม้ และการลำเลียง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของต้นไม้ และการลำเลียงWann Rattiya
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 9 เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 9 เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 9 เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 9 เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศWann Rattiya
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 ส่วนประกอบของเซลล์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 ส่วนประกอบของเซลล์แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 ส่วนประกอบของเซลล์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 ส่วนประกอบของเซลล์Wann Rattiya
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 กล้องจุลทรรศน์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 กล้องจุลทรรศน์แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 กล้องจุลทรรศน์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 กล้องจุลทรรศน์Wann Rattiya
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์Wann Rattiya
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงWann Rattiya
 
มาตรฐานปฐมวัย 11 มาตรฐาน 51 ตังบ่งชี้..
มาตรฐานปฐมวัย  11   มาตรฐาน  51  ตังบ่งชี้..มาตรฐานปฐมวัย  11   มาตรฐาน  51  ตังบ่งชี้..
มาตรฐานปฐมวัย 11 มาตรฐาน 51 ตังบ่งชี้..Montree Jareeyanuwat
 
โครงการลูกเสือ 52
โครงการลูกเสือ 52โครงการลูกเสือ 52
โครงการลูกเสือ 52Dmath Danai
 
เร่ืองส่ิงมีชีวิตและส่ิงไม่มีชีวิต
เร่ืองส่ิงมีชีวิตและส่ิงไม่มีชีวิตเร่ืองส่ิงมีชีวิตและส่ิงไม่มีชีวิต
เร่ืองส่ิงมีชีวิตและส่ิงไม่มีชีวิตkooda112233
 
ความรู้สู่ชุมชน
ความรู้สู่ชุมชนความรู้สู่ชุมชน
ความรู้สู่ชุมชนAnchalee Tanphet
 
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง เพศศึกษา
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง เพศศึกษาวิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง เพศศึกษา
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง เพศศึกษาtassanee chaicharoen
 
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ เพศศึกษา
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ เพศศึกษาวิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ เพศศึกษา
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ เพศศึกษาtassanee chaicharoen
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 

Similar to แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช (20)

แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของต้นไม้ และการลำเลียง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของต้นไม้ และการลำเลียงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของต้นไม้ และการลำเลียง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 ส่วนประกอบของต้นไม้ และการลำเลียง
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 9 เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 9 เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 9 เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 9 เรื่องการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 ส่วนประกอบของเซลล์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 ส่วนประกอบของเซลล์แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 ส่วนประกอบของเซลล์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 ส่วนประกอบของเซลล์
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 กล้องจุลทรรศน์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 กล้องจุลทรรศน์แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 กล้องจุลทรรศน์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 กล้องจุลทรรศน์
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
 
สุขภาพ
สุขภาพสุขภาพ
สุขภาพ
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
 
มาตรฐานปฐมวัย 11 มาตรฐาน 51 ตังบ่งชี้..
มาตรฐานปฐมวัย  11   มาตรฐาน  51  ตังบ่งชี้..มาตรฐานปฐมวัย  11   มาตรฐาน  51  ตังบ่งชี้..
มาตรฐานปฐมวัย 11 มาตรฐาน 51 ตังบ่งชี้..
 
โครงการลูกเสือ 52
โครงการลูกเสือ 52โครงการลูกเสือ 52
โครงการลูกเสือ 52
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
เร่ืองส่ิงมีชีวิตและส่ิงไม่มีชีวิต
เร่ืองส่ิงมีชีวิตและส่ิงไม่มีชีวิตเร่ืองส่ิงมีชีวิตและส่ิงไม่มีชีวิต
เร่ืองส่ิงมีชีวิตและส่ิงไม่มีชีวิต
 
ความรู้สู่ชุมชน
ความรู้สู่ชุมชนความรู้สู่ชุมชน
ความรู้สู่ชุมชน
 
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง เพศศึกษา
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง เพศศึกษาวิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง เพศศึกษา
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง เพศศึกษา
 
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ เพศศึกษา
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ เพศศึกษาวิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ เพศศึกษา
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้ เพศศึกษา
 
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
 

More from Wann Rattiya

The impact of environment
The impact of environmentThe impact of environment
The impact of environmentWann Rattiya
 
กริยา 3 ช่อง
กริยา 3 ช่องกริยา 3 ช่อง
กริยา 3 ช่องWann Rattiya
 
พฤติกรรมและการเจรจาต่อรอง
พฤติกรรมและการเจรจาต่อรองพฤติกรรมและการเจรจาต่อรอง
พฤติกรรมและการเจรจาต่อรองWann Rattiya
 
Strategic Planning : Disney
Strategic Planning : DisneyStrategic Planning : Disney
Strategic Planning : DisneyWann Rattiya
 
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืชใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืชWann Rattiya
 
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสารใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสารWann Rattiya
 
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้Wann Rattiya
 
ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่องขนราก
ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่องขนรากใบกิจกรรมที่ 3 เรื่องขนราก
ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่องขนรากWann Rattiya
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์Wann Rattiya
 
แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่องแว่นขยาย และกล้องจุลทรรศน์
แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่องแว่นขยาย และกล้องจุลทรรศน์แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่องแว่นขยาย และกล้องจุลทรรศน์
แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่องแว่นขยาย และกล้องจุลทรรศน์Wann Rattiya
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่องกล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่องกล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่องกล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่องกล้องจุลทรรศน์Wann Rattiya
 
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องเซลล์ไข่ไก่
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องเซลล์ไข่ไก่ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องเซลล์ไข่ไก่
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องเซลล์ไข่ไก่Wann Rattiya
 

More from Wann Rattiya (12)

The impact of environment
The impact of environmentThe impact of environment
The impact of environment
 
กริยา 3 ช่อง
กริยา 3 ช่องกริยา 3 ช่อง
กริยา 3 ช่อง
 
พฤติกรรมและการเจรจาต่อรอง
พฤติกรรมและการเจรจาต่อรองพฤติกรรมและการเจรจาต่อรอง
พฤติกรรมและการเจรจาต่อรอง
 
Strategic Planning : Disney
Strategic Planning : DisneyStrategic Planning : Disney
Strategic Planning : Disney
 
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืชใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
ใบกิจกรรมที่ 5 เรื่องอาหารที่พบในพืช
 
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสารใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการแพร่ของสาร
 
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้
 
ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่องขนราก
ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่องขนรากใบกิจกรรมที่ 3 เรื่องขนราก
ใบกิจกรรมที่ 3 เรื่องขนราก
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
 
แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่องแว่นขยาย และกล้องจุลทรรศน์
แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่องแว่นขยาย และกล้องจุลทรรศน์แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่องแว่นขยาย และกล้องจุลทรรศน์
แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่องแว่นขยาย และกล้องจุลทรรศน์
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่องกล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่องกล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่องกล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องเซลล์ไข่ไก่
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องเซลล์ไข่ไก่ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องเซลล์ไข่ไก่
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่องเซลล์ไข่ไก่
 

แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช

  • 1. แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 14 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้น ม.1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการ ศึกษา 2552 แผนย่อยหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง พฤติกรรมตอบสนองต่อสิ่งเร้า ของพืช เวลา 1 คาบ ส 7-2 ***************************************************** ************************* 1. จุดประสงค์การเรียนรู้ (เฉพาะหน่วยการเรียนรู้) 1. นักเรียนสามารถอธิบายการตอบสนองของพืชต่อสิ่งเร้า ต่างๆได้ 2. คุณลักษณะที่ต้องการพัฒนา 1. ซื่อสัตย์สุจริต 2. มีวินัย 3. ใฝ่เรียนรู้ 4. มีจิตสาธารณะ 3. แนวคิด ขณะที่พืชเจริญเติบโตย่อมได้รับสิ่งเร้าต่างกัน จึงทำาให้ส่วน ต่างๆ ของพืชมีลักษณะการเจริญเติบโตที่แตกต่างกันไป การตอบ สนองต่อสิ่งเร้า เป็นสมบัติที่สำาคัญอย่างหนึ่งของสิ่งมีชีวิตที่มีผลต่อ การดำารงชีวิต ทำาให้ได้รับอาหารหรือหลีกเลี่ยงจากสิ่งที่เป็น อันตรายได้ เมื่อพืชถูกกระตุ้นด้วยสิ่งเร้าต่างๆเช่น แสงสว่าง อุณหภูมิ นำ้า การสัมผัส แรงโน้มถ่วงของโลก เป็นต้น ทำาให้ส่วนต่างๆ ของพืชมี การตอบสนองสิ่งเร้าเหล่านี้ในลักษณะที่แตกต่างกัน 4. สาระการเรียนรู้ การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชสังเกตจากการที่พืชมีการ เคลื่อนไหว ซึ่งแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ 1. การตอบสนองต่อสิ่งเร้าเนื่องจากการเจริญเติบโต 2. การตอบสนองต่อสิ่งเร้าเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงปริมาณ นำ้าภายในเซลล์
  • 2. การตอบสนองต่อสิ่งเร้าเนื่องจากการเจริญเติบโต แบ่งออก ได้เป็น 2 ชนิด 1. การตอบสนองของพืชที่มีความสัมพันธ์กับทิศทางของสิ่ง เร้า โดยส่วนของพืชจะโค้งเข้าหาสิ่งเร้า หรือหนีจากสิ่ง เร้าที่มากระตุ้น ได้แก่ - แสงเป็นสิ่งเร้า จะทำาให้ปลายยอดของพืชเจริญเอนเข้าหา แสง ส่วนปลายรากของพืชจะเจริญในทิศทางหนีแสง - แรงโน้มถ่วงของโลกเป็นสิ่งเร้า จะทำาให้ปลายรากเจริญ ในทิศทางเข้าหาแรงโน้มถ่วงของโลก ส่วนปลายยอด เจริญในทิศทางหนีแรงโน้มถ่วงของโลก - นำ้าหรือความชื้นเป็นสิ่งเร้า เช่น การที่รากของพืชเจริญ ในทิศทางเข้าหานำ้าหรือความชื้น - การสัมผัสเป็นสิ่งเร้า เช่น การเจริญของมือเกาะของตำาลึง องุ่น หรือพืชตระกูลแตง โดยเมื่อสัมผัสกับหลักหรือต้นไม้ อื่น จะเจริญพันกับหลักหรือต้นไม้ที่สัมผัส 2. การตอบสนองของพืชที่ไม่สัมพันธุ์กับทิศทางของสิ่งเร้า การตอบสนองแบบนี้เกี่ยวกับการหุบและการบานของ ดอกไม้ ซึ่งเกิดจากการเจริญของกลุ่มเซลล์ด้านในและ ด้านนอกของกลีบดอกไม่เท่ากัน - เมื่อมีแสงเป็นสิ่งเร้า เช่น ดอกบัวจะบานในเวลากลางวัน และหุบในเวลากลางคืน ดอกกระบองเพชรจะบานในเวลา กลางคืนและหุบในเวลากลางวัน - เมื่อมีอุณหภูมิเป็นสิ่งเร้า เช่น ดอกบัวสวรรค์และดอกทิว ลิปจะบานเมื่ออุณหภูมิสูงและจะหุบเมื่ออุณหภูมิตำ่าลง การตอบสนองต่อสิ่งเร้าเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงปริมาณนำ้า ภายในเซลล์ เมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุ้นให้พืชเกิดการเปลี่ยนแปลงปริมาณนำ้า ภายในเซลล์ จะมีผลทำาให้ แรงดันเต่งภายในเซลล์เกิดการเปลี่ยนแปลงไปด้วย แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้ 1. การหุบใบของพืชบางชนิดตอนพลบคำ่าเมื่อมีแสงเป็นสิ่ง เร้า 2. การหุบใบของพืชบางชนิดเมื่อมีการสัมผัสหรือการกระ เทือนเป็นสิ่งเร้า 3. การปิด-เปิดของปากใบ เมื่อมีแสงเป็นสิ่งเร้า 5. กิจกรรมการเรียนการสอน ขั้นนำา (5 นาที) 1. ครูถามนักเรียนด้วยประเด็นดังต่อไปนี้
  • 3. - ถ้านักเรียนเดินเหยียบตะปู สิ่งแรกที่นักเรียนจะทำาคือ อะไร (ยกเท้าขึ้น) - เวลานักเรียนเห็นแสงจ้ามากๆ นักเรียนจะทำาอย่างไร เกิด อะไรขึ้นกับร่างกายของนักเรียน (หยีตามอง) - นักเรียนทราบหรือไม่ว่าสิ่งเหล่านี้คืออะไร (การตอบสนอง ต่อสิ่งเร้า) 2. ครูถามนักเรียนว่า “นักเรียนคิดว่า พืชจะมีการตอบสนอง ”ต่อสิ่งเร้าหรือไม่อย่างไร 3. ครูนำาเข้าสู่บทเรียน โดยกล่าวว่า ในคาบเรียนนี้เราจะมา ศึกษาว่าพืชมีการตอบสนอง ต่อสิ่งเร้าหรือไม่ อย่างไร ขั้นสอน (35 นาที) 1. ครูให้นักเรียนดูภาพดอกทานตะวัน แล้วถามนักเรียนว่า นักเรียนคิดว่าดอกทานตะวัน มีการตอบสนองต่อสิ่งเร้าหรือไม่ อย่างไร (มีการตอบสนอง โดย การหันเข้าหาดวงอาทิตย์) 2. ครูถามนักเรียนว่านักเรียนรู้จักต้นไมยราบหรือไม่ มีการ ตอบสนองต่อสิ่งเร้าอย่างไร (รู้จัก เมื่อจับโดนใบแล้วใบหุบ) 3. ครูกล่าวว่าจากตัวอย่างที่ครูยกให้ นักเรียนคิดว่าดอก ทานตะวันตอบสนองต่ออะไร และต้นไมยราบตอบสนองต่ออะไร (แสงอาทิตย์ และการสัมผัส หรือถูกกระเทือน ตามลำาดับ) 4. ครูอธิบายเรื่อง “ ”การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช ว่ามีการ ตอบสนองในลักษณะใด บ้าง 5. ครูแจกใบงานเรื่อง “ ”การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช ให้ นักเรียน ขั้นสรุป (5 นาที) 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปเรื่อง การตอบสนองต่อสิ่งเร้า ของพืช 6. สื่อและอุปกรณ์การเรียนรู้ - หนังสือเสริมพัฒนาผู้เรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ว๒๑๑๐๑ - ใบงานเรื่อง การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช - รูปภาพดอกทานตะวัน
  • 4. 7. การวัดและประเมินผล - สังเกตพฤติกรรมนักเรียนจากการทำากิจกรรมในชั้นเรียน เช่น การร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน การซักถามและตอบคำาถามของ นักเรียน 8. บันทึกหลังการสอน (วิจัยชั้นเรียน) 1. ปัญหาหรือสิ่งที่ต้องการพัฒนา .......................................................................... .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ....................................................... .......................... .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .......................................... ....................................... .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ............................. .................................................... .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ................
  • 5. 2. แนวทาง / วิธีการสอน / รูปแบบการสอน / เทคนิคที่ใช้พัฒนาหรือแก้ปัญหา .......................................................................... .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ....................................................... .......................... .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .......................................... ....................................... .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ...................... 3. ผลที่เกิดขึ้น .......................................................................... .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ....................................................... .......................... .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .......................................... ....................................... .................................................................................. .................................... ............................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. .................................................................................. ................