SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
1

แบบเสนอโครงร่ างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2556
ชื่อโครงงาน สบู่สมุนไพร

ชื่อผู้ทาโครงงาน
1 ณัฐสิทธิ์ สมบูรณ์ เลขที่14ชั้น ม.6 ห้อง 14
2 ธนพล สุวรรณ เลขมรา 18ชั้น ม.6 ห้อง 14
3 นาย จิรภัทร วงศ์แสง เลขที่ 33 ชั้น ม.6ห้อง14

ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขือนทอง มูลวรรณ์
่

ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556

โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2

ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม 2
1 ณัฐสิทธิ์ สมบูรณ์ เลขที่14ชั้น ม.6 ห้อง 14
2 ธนพล สุวรรณ เลขมรา 18ชั้น ม.6 ห้อง 14
3 นาย จิรภัทร วงศ์แสง เลขที่ 33 ชั้น ม.6ห้อง14
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) สบู่สมุนไพร
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) herbal Soap
ประเภทโครงงาน ประเภทการทดลอง
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1 ณัฐสิทธิ์ สมบูรณ์ เลขที่14ชั้น ม.6 ห้อง 14
2 ธนพล สุวรรณ เลขมรา 18ชั้น ม.6 ห้อง 14
3 นาย จิรภัทร วงศ์แสง เลขที่ 33 ชั้น ม.6ห้อง14
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม ระยะเวลาดาเนินงาน 30 วัน
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ปัจจุบันนี้มีผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวกับสมุนไพรมากขึ้นทาให้เห็นได้ว่าในปัจจุบันผู้คนเริ่มสนใจในสรรพคุณของ
สมุนไพร มากขึ้น ทั้งนี้กลุ่มของพวกเราจึงอยากทาผลิตภัณฑ์ที่ทามาจากสมุนไพรขึ้นมา สิ่งที่กลุ่มของข้าพเจ้าทา
ก็คือ สบู่สมุนไพร กลุ่มของข้าพเจ้าได้เล็งเห็นว่าสมุนไพรของไทยมีประโยชน์ต่อผิวของคนเราเป็นอย่างมาก ทาให้
ผิวเนียนและขาวขึ้น กลุ่มของข้าพเจ้าจึงได้จัดทา สบู่สมุนไพร ขึ้นมา
3

วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.
เพื่อส่งเสริมการจัดจาหน่ายสบู่
2.
เพื่อให้ มีสบู่ที่ผลิตจากสมุนไพรธรรมชาติ
3.
เพื่อที่จะให้สบู่สมุนไพรเป็นที่รู้จักของคนทั่วไป
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
- การใช้ระยะเวลาในการทา
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
สบู่คือ ของใช้ที่จาเป็นในชีวิตประจาวัน ทุกวันเราอาบน้าต้องใช้สบู่เพื่อการขจัดสิ่งสกปรกออกจาก
ร่างกาย ปัจจุบันสบู่มีมากมายหลายชนิดให้เราเลือกใช้ ตามความเหมาะสมและความชอบของแต่ละบุคคล บาง
ชนิดก็ผสมสมุนไพร บางชนิดก็ผสมสารเคมี เช่น Triclocarban เพื่อฆ่าเชื้อแบคทีเรีย ซึ่งผู้ใช้บางรายอาจเกิด
อาการแพ้สารเคมี หากใช้บ่อยเกินไป สบู่เกิดจากการทาปฏิกิริยาเคมีของส่วนผสมพื้นฐาน คือน้าด่าง (โซเดียมไฮ
ดรอกไซด์) กับน้ามัน ซึ่งจะเป็นน้ามันพืชหรือน้ามันสัตว์ก็ได้ ปฏิกิริยาเคมีเช่นนี้เรียกว่า Saponification ซึ่งจะ
ได้ของแข็งลื่นมีฟอง เป็นส่วนผสมของสบู่ 5 ส่วนและกลีเซอรีน 1 ส่วน ในโรงงานอุตสาหกรรมได้สกัดเอากลีเซอ
รีนออกไป เราจึงได้ใช้เนื้อสบู่ล้วนๆ หรือมีส่วนผสมของกลีเซอรีนเพียงเล็กน้อย ส่วนการผลิตสบู่ธรรมชาติ เป็น
กระบวนการผลิตแบบเย็น ซึ่งสารสกัดกลีเซอรีนยังคงมีอยู่ในเนื้อสบู่ ทาให้ผิวมีความชุ่มชื้นเมื่อใช้สบู่ชนิดนี้
1. ไขมันหรือน้ามัน ไขมันหรือน้ามัน ทั้งจากสัตว์และจากพืชหลากหลายชนิด สามารถนามาเป็น
ส่วนผสมในการผลิตสบู่ได้ กรดไขมันนี้จะรวมตัวกับสารอื่น อยู่ในรูปของกลีเซอไรด์ เมื่อนาด่างเข้ามาผสมและทา
ปฏิกิริยากับกรดไขมันจะหลุดออกจากกลีเซอไรด์ มารวมตัวกันเป็นสบู่ สารที่เกาะอยู่กับกรดไขมันก็จะออกมาเป็น
กลีเซอรีน น้ามันแต่ละชนิดก็จะให้สบู่ที่มีคุณสมบัติแตกต่างกันออกไป กรดไขมันแต่ละชนิดเมื่อรวมตัวกับด่างแล้ว
จะให้สบู่ที่มีคุณสมบัติแตกต่างกัน เช่น กรดลอริก (lauric acid) มีมากในน้ามันมะพร้าว เป็นกรดไขมันที่ทา
ปฏิกิริยากับด่างแล้วให้สารที่มีฟองมาก เป็นต้น ดังนั้นจึงควรศึกษาคุณสมบัติของสบู่ที่ได้จากไขมันต่างชนิดกัน
ดังนี้ ตาราง คุณสมบัติ – อายุการใช้งานของน้ามันแต่ละชนิด ชื่อน้ามัน คุณสมบัติ อายุการใช้งาน น้ามันมะกอก
สบู่ที่ได้จะเป็นก้อนแข็ง มีฟองครีมนุ่มนวล มีคุณค่าในการบารุงผิวมาก มากกว่าสามเดือน น้ามันงา สบู่ที่ได้จะนิ่ม
มีค่าการชาระล้างปากกลาง แต่มีวิตามินอีสูงมาก แต่อาจมีกลิ่นที่บางคนไม่ชอบ มากกว่าสามเดือน น้ามัน
มะพร้าว สบู่ที่ได้จะมีก้อนแข็ง มีฟองครีมนุ่มนวลจานวนมาก แต่ไม่ควรใช้เกิน 30% เพราะมีค่าการชาระล้างสูง
อาจทาให้ผิวแห้ง มากกว่าสามเดือน น้ามันราข้าว สบู่ที่ได้จะนิ่ม ค่าการชาระล้างปานกลาง แต่มีวิตามินอีมาก
เหมาะสาหรับบารุงผิว มากกว่าสามเดือน น้ามันถั่วเหลือง สบู่ที่ได้จะนิ่ม ค่าการชาระล้างปานกลาง แต่มีวิตามิน
อีมาก มีคุณสมบัติช่วยให้ผิวยืดหยุ่นได้ดี เป็นน้ามันอายุสั้น ทาสบู่แล้วควรใช้ให้หมดภายในสามเดือน น้ามันเมล็ด
ทานตะวัน สบู่ที่ได้จะนิ่ม ค่าการชาระล้างปานกลาง มีวิตามินอีมาก เป็นน้ามันอายุสั้น ทาสบู่แล้วควรใช้ให้หมด
ภายในสามเดือน น้ามันปาล์ม สบู่ที่ได้จะเป็นก้อนแข็ง มีฟองปานกลาง ค่าการชาระล้างสูง ควรใช้ไม่เกิน 30%
เพราะอาจทาให้ผิวแห้ง มากกว่าหกเดือน ไขมันวัว สบู่ที่ได้จะเป็นก้อนแข็ง มีฟองปานกลาง ค่าการชาระล้างสูง
เหมาะสาหรับผสมทาสบู่สาหรับซักล้าง มากกว่าหกเดือน ไขมันหมู สบู่ที่ได้จะมีสีขาวและนิ่ม มีฟองน้อย ค่าการ
ชาระล้างปานกลาง มีคุณสมบัติในการบารุงผิว มากกว่าสามเดือน
4

2. ด่าง ชนิดของด่างที่ใช้ มี 2 ชนิด - โซเดียมไฮดรอกไซด์ หรือโซดาไฟ (Sodium hydroxide) ใช้
สาหรับทาสบู่ก้อน - โปแตสเซียม ไฮดรอกไซด์ (Potassium hydroxide) ใช้สาหรับทาสบู่เหลว จากตาราง
แสดงปริมาณด่างที่ใช้ต่อไขมัน 100 กรัม ภายหลังทาปฏิกิริยาจะมีไขมันเหลือประมาณร้อยละ 5 - 8 อย่างไรก็ดี
อาจมีความผิดพลาดเนื่องจากการใช้มาตราชั่ง ตวง วัด และปัจจัยการผลิตอื่น ๆ หรือวิธีการผลิตอื่น ที่ทาให้
ปริมาณด่างเหลือมากกว่าที่คานวณไว้ จึงจาเป็นต้องควบคุมคุณภาพ โดยการวัด pH ทุกครั้งที่ผลิตและหลังจาก
สบู่แข็งตัวแล้ว ตาราง ปริมาณด่างที่ทาปฏิกิริยากับไขมัน จานวน 100 กรัม สบู่ที่ได้มีไขมันประมาณ 5 – 8 % ที่
ชื่อน้ามัน โซดาไฟ (กรัม) โปตัสเซียม ไฮดรอกไซด์ (กรัม) 1 ปาล์ม 13.06 18.32 2 มะพร้าว 16.92 23.74 3
ละหุ่ง 11.83 16.59 4 มะกอก 12.46 17.48 5 งา 12.66 17.76 6 ถั่วเหลือง 12.46 17.48 7 ราข้าว 12.33
17.30 8 เมล็ดทานตะวัน 12.56 17.62 9 ขี้ผึ้ง 6.17 10 ไขมันวัว 12.92 18.12 11 ไขมันหมู 12.76 17.90 12
ไขมันแพะ 12.72 17.85
3. น้า น้าที่ใช้ทาสบู่ได้ต้องเป็นน้าอ่อน ถ้าเป็นนากระด้างจะทาให้สบู่ไม่เกิดฟอง น้าที่เหมาะในการทาสบู่
มากที่สุดคือน้าฝน ปริมาณน้าที่ใช้ในการทาปฏิกิริยาเป็นปัจจัยสาคัญ เพราะหากใช้น้ามากต้องทิ้งไว้หลายวัน สบู่
จึงจะแข็งตัว น้าน้อยเกินไปอาจทาให้ปฏิกิริยาไม่สมบูรณ์ หากใช้ไขมันแต่ละชนิดรวมกันแล้ว 100 กรัม ควรให้
น้าประมาณ 35-38 เปอร์เซ็นต์ หรือเพิ่มตามสัดส่วน
4. ส่วนผสมเพิ่มเติมในสบู่ - บอแร็กซ์ ...สารบอแร็กซ์นี้ไม่จาเป็นต้องใช้ก็ได้ ...แต่สารนี้ช่วยให้สบู่มีสีสัน
สวยงามและทาให้เกิดฟองมาก... มีจาหน่ายตามร้านขายยาหรือร้านขายของชา มีชื่อเรียกว่า ผงกรอบ หรือผงนิ่ม
ส่วนใหญ่บรรจุในถุงพลาสติก - น้าหอม.น้าหอมก็ไม่มีความจาเป็นต้องใช้เช่นกัน แต่ถ้าใช้จะทาให้สบู่มีกลิ่นดีขึ้น
ถ้าไขมันที่ทาสบู่นั้นเหม็นอับใช้น้ามะนาวหรือน้ามะกรูดผสมจะช่วยให้กลิ่นหอมยิ่งขึ้นและไม่เน่า - สารกันหืน การ
ผลิตสบู่ไว้ใช้เอง ซึ่งใช้หมดในระยะเวลาสั้น จาเป็นต้องใส่สารกันหืนเมื่อต้องการเก็บไว้เป็นเวลานาน - สมุนไพร
ใช้เพิ่มเติมเพื่อประโยชน์ต่อผิวหนังตามคุณสมบัติของสมุนไพรนั้นๆ
5

วิธีดาเนินงาน
1. หม้อสแตนเลส 2 ใบ (ไว้สาหรับตุ๋นน้ามัน)
2. เทอร์โมมิเตอร์ 2 อัน (อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส)
3. ไม้พาย 1 อัน
4. ทัพพี 1 อัน (สาหรับตักสบู่)
5. ถ้วยตวงแก้ว 1 ใบ (สาหรับผสมสารละลายโซดาไฟ)
6. ถาดใส่น้า 1 ใบ (สาหรับหล่อที่ใส่สารละลายโซดาไฟให้อุณหภูมิลดลง)
7. เหยือก 1 ใบ (สาหรับใส่สารสะลายโซดาไฟที่อุ่นลงแล้ว)
8. แท่งแก้ว (สาหรับกวนโซดาไฟ)
9. เตาไฟฟ้า หรือเตาแก๊ส
10. เครื่องชั่งขนาด 1-2 กิโลกรัม
11. ถุงมือ,แว่นตา,เสื้อคลุม,ที่ปิดจมูก
12. แม่พิมพ์สบู่ ใช้กล่องไม้ หรือ กระดาษแข็งรอด้วยกระดาษไข หรือพลาสติด
13. อื่น ๆ ผ้าเช็ดมือ , กระดาษทิชชู ,กระดาษหนังสือพิมพ์ใช้แล้ว, กระดาษวัดค่า pH
การตั้งสูตรสบู่
1. คัดเลือกไขมัน ที่ใช้ตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ ส่วนใหญ่จะนิยมใช้ไขมันตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป ตั้งสัดส่วน
ปริมาณไขมันแต่ละชนิด
2. คัดเลือกชนิดด่าง ตามวัตถุประสงค์ เช่น ต้องการทาสบู่ก้อนใช้โซดาไฟ ทาสบู่เหลวใช้ โปรตัสเซียมไฮดรอก
ไซด์
3. คานวณปริมาณด่าง ที่ใช้สูตร โดยน้าหนักไขมันแต่ละชนิดมาคานวณปริมาณด่างโซเดียม ไฮดรอกไซด์ที่ใช้
แล้วเอามารวมกันเป็นปริมาณรวมดังตัวอย่าง ตัวอย่างวิธีคานวณ น้ามันมะพร้าว 120 กรัม ใช้โซดาไฟ 20.304
(16.92*120/100) กรัม น้ามันปาล์ม 80 กรัม ใช้โซดาไฟ 10.448 (13.06*80/100) กรัม น้ามันมะกอก 300
กรัม ใช้โซดาไฟ 37.38 (12.46*300/100) กรัม รวมไขมัน 500 กรัม รวมโซดาไฟ 68.132 กรัม
4. คานวณปริมาณน้าที่ใช้ จากหลักข้อกาหนดปริมาณไขมัน 100 กรัม ควรใช้น้า 35 - 38 กรัม ฉะนั้น จาก
ตัวอย่างสูตร จึงควรใช้น้า 175 - 190 ซีซี.
วิธีการและเทคนิคการผลิตสบู่
1. เตรียมแม่พิมพ์สบู่
2. เตรียมเครื่องมือทั้งหมด
3. ผู้ผลิตใส่เสื้อกันเปื้อน สวมถุงมือ ผ้าปิดปากและจมูก และแว่นตา
4. ชั่งด่างอย่างระมัดระวัง
5. ชั่งน้าที่ใช้ ค่อย ๆ เติมด่างลงในน้าอย่างช้า ๆ ระวังไม่ให้กระเด็น คนจนละลายหมด วัดอุณหภูมิ ประมาณ 4050 องศาเซลเซียส
6

6. ชั่งไขมันทั้งหมดผสมรวมรวมกัน วางบนเครื่องอังไอน้าหรือตุ๋น วัดอุณหภูมิประมาณ 40 - 45 องศาเซลเซียส
ยกลง
7. เช็คอุณหภูมิน้าด่างในข้อ 5 อีกครั้ง
8. เมื่ออุณหภูมิน้าด่างและไขมันใกล้เคียงกัน ค่อยเทน้าด่างลงในไขมัน คนเบา ๆ เมื่อเทน้าด่างหมด ให้คนแรง ๆ
ควรคน 15 นาที พัก 5 นาที จนกระทั่งเนื้อของเหลวเป็นสีขุ่นจนหมด เทลงแบบพิมพ์
9. ทิ้งไว้ 1 สัปดาห์ แกะออกจากพิมพ์ ตัดเป็นก้อน
10. ตรวจสอบ pH บริเวณผิวสบู่ และเนื้อในสบู่บริเวณต่ากว่าผิวประมาณ 2 มิลลิเมตร ถ้ามีค่า pH อยู่ระหว่าง
8 - 10 สามารถนาไปใช้ได้ หากมีค่าเกิน 10 เฉพาะที่บริเวณผิว ให้ตัดเฉพาะผิวนอกทิ้ง หากเนื้อในและผิวมีค่า
pH เกิน 10 ทั้งสองบริเวณ แสดงว่าสบู่นั้นมีปริมาณด่างเกินกาหนด ไม่ควรนาไปใช้ เพราะอาจเกิดอันตรายทาให้
ผิวเหี่ยว ซีด หรือคัน เมื่อสัมผัส
11. ห่อกระดาษ หรือบรรจุภาชนะแจกจ่ายในชุมชน
ข้อควรระวังในการผลิตสบู่
1. เพื่อความปลอดภัยของผู้ผลิต ควรสวมถุงมือยาง รองเท้า กางเกงขายาว เสื้อแขนยาว ใส่ผ้าปิดปาก ปิดจมูก
และแว่นตา ขณะที่ทาการผลิตสบู่
2. อุปกรณ์ทุกชนิดที่ใช้ ห้ามใช้วัสดุ อะลูมิเนียม ดีบุก สังกะสี หรือโลหะอื่น ๆ นอกจากที่แนะนา เพราะโลหะ
เหล่านี้ จะทาปฏิกิริยากับโซดาไฟ เป็นอันตรายแก่ผู้ผลิตหรือผู้ใช้
3. เลือกใช้เครื่องชั่งที่เหมาะสม เช่น ชั่งของระหว่าง 1 - 3 กก. ให้ใช้เครื่องชั่งที่รับน้าหนักได้สูงสุด 3 กก. กรณีที่
ชั่งวัตถุต่ากว่า 1 กก. ให้ใช้เครื่องชั่งที่รับน้าหนักได้สูงสุด 1 กก. การผลิตสบู่ก้อน ให้ชั่งส่วนผสมทั้งหมดอย่าง
ระมัดระวัง และตรวจสอบความแม่นยาของเครื่องชั่งสม่าเสมอ
4. การใช้เทอร์โมมิเตอร์อันเดียววัดทั้งอุณหภูมิของน้าด่าง และไขมันนั้น ต้องล้างน้าและเช็ดให้สะอาดทุกครั้งที่จะ
เปลี่ยนชนิดการวัด
5. สถานที่ผลิตควรมีอ่างน้า หรือถังใส่น้าสะอาดประมาณ 10 ลิตร เพื่อใช้กรณีฉุกเฉิน เช่น น้าด่างกระเด็นถูก
ผิวหนัง
6. ห้ามเด็กเล็ก อายุต่ากว่า 12 ปี และสัตว์เลี้ยง เข้าใกล้บริเวณที่ผลิต รวมถึงการให้ความรู้ และทาความเข้าใจ
ถึงอันตรายของสารเคมี แก่สมาชิกที่ร่วมผลิต และบุตรหลาน
7. ซื้อโซเดียมไฮดรอกไซด์ เฉพาะที่ใช้ หรือเหลือเก็บเล็กน้อยเท่านั้น เก็บไว้ให้ห่างไกลจากเด็กและสัตว์เลี้ยง หาก
สามารถใส่กุญแจจะเพิ่มความปลอดภัยอีกชั้นหนึ่ง ภาชนะที่ใส่ต้องปิดให้สนิท โซเดียมไฮดรอกไซด์ ที่เหลือเก็บ
ต้องมีฉลากและวิธีการแก้ไข หรือวิธีการปฐมพยาบาลที่ภาชนะบรรจุทุกครั้ง การตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐาน
สบู่ ตรวจสอบค่า pH โดยตัดชิ้นสบู่เล็กน้อย เป็นแผ่นบาง ๆ ประมาณ 5 กรัม นามาละลายย้า 10 มล. จุ่ม
กระดาษวัด pH วัดประมาณ 30 วินาที จนสีกระดาษคงที่ นากระดาษ pH มาเทียบกับสีมาตรฐาน ที่กล่อง ถ้าสี
เหมือนกับช่องใด ซึ่งมีค่า pH กากับไว้ ทาให้ทราบค่า pH ของสบู่ได้ เช่น ดูจากลักษณะ ภายนอก เช่น การเกิด
ฟอง การล้างน้าออก การทดสอบฟอง ความนุ่มหลังจากการใช้
7

วิธีการแก้ไขเมื่อถูกน้าด่าง
1. เมื่อน้าด่างกระเด็นสัมผัสผิวหนัง หรือนัยน์ตา - หากกระเด็นถูกผิวหนังหรือร่างกาย ให้ราดบริเวณผิวที่สัมผัส
ด้วยน้าส้มสายชู หรือน้ามะนาวผสมน้าสะอาดอย่างละเท่ากัน เพื่อทาให้โซเดียมไฮดรอกไซด์เปลี่ยนสภาพจากด่าง
เป็นกลาง ลดความระคายเคือง แล้วห้างด้วยน้าเย็นหลายๆ ครั้ง จนไม่รู้สึกคัน แสบร้อน หากยังมีอาการให้ล้าง
น้าต่อไปเรื่อยๆ แล้วนาส่งโรงพยาบาล - หากกระเด็นเข้าตา ให้ล้างน้าสะอาดหลายครั้ง ตลอดเวลาที่นาส่ง
โรงพยาบาล
2. หากเกิดอุบัติเหตุกลืนกินโซเดียมไฮดรอกไซด์ ให้รีบดื่มนม แล้วรีบนาส่งโรงพยาบาลโดด่วน การทดสอบว่าสบู่
จะดีหรือไม่ สบู่ที่ดีควรจะแข็ง สีขาว สะอาด กลิ่นดีและไม่มีรส สามารถขุดเนื้อสบู่ออกเป็นแผ่นโค้ง ๆ ได้ ไม่มัน
หรือลื่นจนเกินไป เมื่อใช้ลิ้นแตะดูไม่หยาบหรือสาก
วิธีการแก้ไขและการปรับปรุงสบู่ให้ดีขึ้น
1. เมื่อสบู่เป็นด่างเกินกาหนด ให้นาสบู่มาขูดเป็นฝอย ละลายใหม่ ด้วยน้า ครึ่งเท่าที่เคยใช้เดิม นาไปตั้งบนลังถึง
ไม่ต้องคน เมื่อละลายหมด เติมกรดซิตริก คนเบาๆ วัดค่า pH จนได้ค่าตามต้องการ สบู่ที่ได้จะมีลักษณะเนื้อไม่
แน่น ควรนามาทาสบู่น้าดีกว่า
2. ถ้าส่วนผสมไม่ข้น แสดงว่า ด่างน้อยไป แก้โดยเพิ่มด่างเข้าไปอีก เล็กน้อย แล้วกวนต่อไป
3. ส่วนผสมเป็นก้อนและแยกชั้น แสดงว่า ใช้ด่างมาก ให้เติมน้ามันหรือกรดไขมัน ลงไปทีละน้อย แล้วตีต่อไป
4. สบู่ที่ได้เปราะ ตัดไม่สวย ให้เติมกรดไขมันหรือน้ามันอีกตาม 5-10 เปอร์เซ็นต์
5. ถ้าสบูที่ผ่านขั้นตอนตามเวลาที่ทาทุกช่วงแล้ว แต่ยังมีส่วนผสมบางส่วนไม่แข็งตัวหรือแยกกันอยู่ หรือไม่ดี
่
เพราะสาเหตุใดก็ตาม อาจแก้ไขให้ดีขึ้นดังนี้ - ตัดสบู่ออกเป็นชิ้นเล็ก ๆ ใส่ลงในหม้อที่มีน้ามันบรรจุอยู่ 2.8 ลิตร
พร้อมทั้งเทส่วนที่เป็นของเหลวที่เหลืออยู่ในแบบพิมพ์.....ลงไปด้วย - นาไปต้มนานประมาณ10นาที อาจเติมน้า
มะนาวหรือน้ามันอื่น ๆ ที่มีกลิ่นหอมลงไปในส่วนผสมประมาณ 2 ช้อนชา.....( ถ้ายังไม่ได้เติม ) ต่อจากนั้นจึงเท
ส่วนผสมลงในแบบพิมพ์ใหม่อีกครั้งหนึ่ง ปล่อยไว้ 2 วัน แล้วดาเนินการตามที่.....กล่าวมา การทาสบู่จากน้าด่า ง
ที่ได้จากขี้เถ้า เริ่มด้วยการทาน้าด่างขึ้นเองจากขี้เถ้า สรุปแล้ว สบู่ก้อนและสบู่เหลวผสมสมุนไพร เป็นผลิตภัณฑ์
จากน้ามันพืชและน้ามันสัตว์ ซึ่งหาได้ง่ายในท้องถิ่น ประเทศไทยสามารถผลิตเองได้ และหาซื้อได้ง่าย อีกทั้งยังมี
สมุนไพรอีกมากมาย ในประเทศ วิธีการผลิตสบู่ก้อนและสบู่เหลวสมุนไพรก็ไม่ยุ่งยาก ซับซ้อน เกษตรกร
ประชาชน สามารถผลิตได้ โดยไม่ต้องใช้เครื่องมือ เครื่องจักรที่มีราคาแพง เพียงแต่ต้องฝึกฝนให้มากแล้วจะได้
สบู่ที่มีคุณภาพ และสามารถส่งออกมาได้ในราคาสูงเป็นการเพิ่มรายได้ ช่วยเศรษฐกิจและยกระดับคุณภาพชีวิต
ได้อกทางหนึ่งด้วย
ี
8

ตัวอย่างสูตรสบู่ก้อน สูตรที่ 1
สบู่สูตรนี้เป็นสบู่แข็ง มีสีขาว และให้ฟองมาก สบู่สูตรนี้ยังเหมาะเป็นสบู่พื้นฐานที่จะนาไปใส่ส่วนผสมต่างๆ เพื่อ
ทาเป็นสบู่เอนกประสงค์อื่นๆ สาหรับใช้บ้านเรือน
ส่วนผสม 1. น้ามันมะพร้าว 200 กรัม 2. น้ามันปาล์ม 200 กรัม 3. โซเดียมไฮดรอกไซด์ 60 กรัม 4. น้า 150
กรัม
วิธีทา
1. เตรียมแม่แบบทาสบู่ตามขนาดและรูปร่างตามที่ต้องการ
2. ค่อย ๆ เทโซเดียมไฮดรอกไซด์ลงในน้า ผสมให้เข้ากันตั้งทิ้งไว้ให้อุณหภูมิเหลือ 40 องศาเซลเซียส
3. ผสมน้ามันมะพร้าว น้ามันปาล์ม ใส่ภาชนะตั้งบนลังถึง หรือใช้วิธีการตุ๋น คนให้เข้ากันจนได้อุณหภูมิ 40 องศา
เซลเซียส แล้วยกลงจากไฟ
4. เทสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (ข้อ 2) ลงในน้ามัน(ข้อ 3) คนให้เข้ากัน
5. คนไปเรื่อยๆ จนสบู่จับตัวเหนียวข้น สังเกตเนื้อข้นเหมือนนมข้น แล้วจึงเทลงพิมพ์ที่เตรียมไว้
6. ตั้งพิมพ์ไว้ประมาณ 4 - 8 ชั่วโมง จนสบู่จับตัวเป็นก้อนแข็ง ลองใช้นิ้วมือกดดู แล้วจึงเอาออกจากแบบเช็คค่า
pH ส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 9.5 - 10 เก็บต่อไปอีกนาน 6 - 8 สัปดาห์ เช็คค่า pH ซ้าอีกครั้ง ซึ่งควรจะอยู่ระหว่าง
8 - 9 จึงนาไปใช้
สูตรที่ 2 สบู่สูตรนี้เป็นสบู่สีขาวขุ่น แข็ง และให้ฟองมาก สามารถนาไปใช้เป็นสบู่ถูกตัว สบู่ใช้ในบ้านเรือน สบู่ซัก
ผ้า สบู่ล้างจาน
ส่วนผสม 2. น้ามันมะพร้าว 120 กรัม 3. น้ามันปาล์ม 80 กรัม 4. น้ามันมะกอก 200 กรัม 5. โซเดียมไฮดรอก
ไซด์ 56 กรัม 6. น้า 140 กรัม
วิธีทา
1. เตรียมแม่แบบทาสบู่ตามขนาดและรูปร่างตามที่ต้องการ
2. ค่อย ๆ เทโซเดียมไฮดรอกไซด์ลงในน้า ผสมให้เข้ากันตั้งทิ้งไว้ให้อุณหภูมิเหลือ 40 องศาเซลเซียส
3. ผสมน้ามันทั้งหมดเข้าด้วยกัน ใส่ภาชนะตั้งบนลังถึง หรือใช้วิธีการตุ๋น คนให้เข้ากันจนได้อุณหภูมิ 40 องศา
เซลเซียส แล้วยกลงจากไฟ
4. เทสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (ข้อ 2) ลงในน้ามัน(ข้อ 3) คนให้เข้ากัน
5. คนไปเรื่อยๆ จนสบู่จับตัวเหนียวข้น สังเกตเนื้อข้นเหมือนนมข้น แล้วจึงเทลงพิมพ์ที่เตรียมไว้
9

6. ตั้งพิมพ์ไว้ประมาณ 4 - 8 ชั่วโมง จนสบู่จับตัวเป็นก้อนแข็ง ลองใช้นิ้วมือกดดู แล้วจึงเอาออกจากแบบเช็คค่า
pH ส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 9.5 - 10 เก็บต่อไปอีกนาน 6 - 8 สัปดาห์ เช็คค่า pH ซ้าอีกครั้ง ซึ่งควรจะอยู่ระหว่าง
8 - 9 จึงนาไปใช้
สูตรที่ 3 สบู่สูตรนี้มีน้ามันมะพร้าวเปอร์เซ็นต์สูง จึงมีฟองมาก น้ามันละหุ่งและน้ามันราข้าว ทาให้เพิ่มความชุ่ม
ชื้นผิว สามารถนาไปปรับปรุงเป็นสบู่บารุงผิว เพิ่มความชุ่มชื้น โดยการเติมสมุนไพรเพิ่มความชุ่มชื้นลงไปได้อีก
ส่วนผสม 1. น้ามันมะพร้าว 120 กรัม 2. น้ามันปาล์ม 60 กรัม 3. น้ามันมะกอก 80 กรัม 4. น้ามันละหุ่ง 100
กรัม 5. น้ามันราข้าว 40 กรัม 6. โซเดียมไฮดรอกไซด์ 55 กรัม 7. น้า 140 กรัม
วิธีทา
1. เตรียมแม่แบบทาสบู่ตามขนาดและรูปร่างตามที่ต้องการ
2. ค่อย ๆ เทโซเดียมไฮดรอกไซด์ลงในน้า ผสมให้เข้ากันตั้งทิ้งไว้ให้อุณหภูมิเหลือ 40 องศาเซลเซียส
3. ผสมน้ามันทั้งหมดเข้าด้วยกัน ใส่ภาชนะตั้งบนลังถึง หรือใช้วิธีการตุ๋น คนให้เข้ากันจนได้อุณหภูมิ 40 องศา
เซลเซียส แล้วยกลงจากไฟ
4. เทสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (ข้อ 2) ลงในน้ามัน(ข้อ 3) คนให้เข้ากัน
5. คนไปเรื่อยๆ จนสบู่จับตัวเหนียวข้น สังเกตเนื้อข้นเหมือนนมข้น แล้วจึงเทลงพิมพ์ที่เตรียมไว้
6. ตั้งพิมพ์ไว้ประมาณ 4 - 8 ชั่วโมง จนสบู่จับตัวเป็นก้อนแข็ง ลองใช้นิ้วมือกดดู แล้วจึงเอาออกจากแบบเช็คค่า
pH ส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 9.5 - 10 เก็บต่อไปอีกนาน 6 - 8 สัปดาห์ เช็คค่า pH ซ้าอีกครั้ง ซึ่งควรจะอยู่ระหว่าง
8 - 9 จึงนาไปใช้
สูตรที่ 4 สบู่สูตรนี้เป็นสบู่สีขาวให้ฟองนุ่ม และฟองทนนาน เนื้อสบู่นุ่ม สบู่สูตรนี้ใช้น้านมแพแทนที่น้า
ส่วนผสม 1. น้ามันมะพร้าว 120 กรัม 2. น้ามันปาล์ม 40 กรัม 3. น้ามันมะกอก 240 กรัม 4. โซเดียมไฮดรอก
ไซด์ 56 กรัม 5. น้านมแพะ 160 กรัม
;bธีทา
1. เตรียมแม่แบบทาสบู่ตามขนาดและรูปร่างตามที่ต้องการ
2. ผสมน้ามันทั้งหมดเข้าด้วยกัน ใส่ภาชนะตั้งบนลังถึง หรือใช้วิธีการตุ๋น คนให้เข้ากันจนได้อุณหภูมิ 40 องศา
เซลเซียส แล้วยกลงจากไฟ
3. ค่อย ๆ เทโซเดียมไฮดรอกไซด์ลงในน้านมแพะ ผสมให้เข้ากันตั้งทิ้งไว้ให้อุณหภูมิเหลือ 40 องศาเซลเซียส
4. เทสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (ข้อ 2) ลงในน้ามัน(ข้อ 3) คนให้เข้ากัน
5. คนไปเรื่อยๆ จนสบู่จับตัวเหนียวข้น สังเกตเนื้อข้นเหมือนนมข้น แล้วจึงเทลงพิมพ์ที่เตรียมไว้
10

6. ตั้งพิมพ์ไว้ประมาณ 4 - 8 ชั่วโมง จนสบู่จับตัวเป็นก้อนแข็ง ลองใช้นิ้วมือกดดู แล้วจึงเอาออกจากแบบเช็คค่า
pH ส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 9.5 - 10 เก็บต่อไปอีกนาน 6 - 8 สัปดาห์ เช็คค่า pH ซ้าอีกครั้ง ซึ่งควรจะอยู่ระหว่าง
8 - 9 จึงนาไปใช้
ตัวอย่างสูตรสบู่สมุนไพร สบู่ขมิ้น
ส่วนผสม 1. น้ามันมะพร้าว 140 กรัม 2. น้ามันปาล์ม 60 กรัม 3. โซเดียมไฮดรอกไซด์ 32 กรัม 4. สารสกัดขมิ้น
10 กรัม 5. น้า 70 กรัม
วิธีทา
1. เตรียมแม่แบบทาสบู่ตามขนาดและรูปร่างตามที่ต้องการ
2. ค่อย ๆ เทโซเดียมไฮดรอกไซด์ลงในน้า ผสมให้เข้ากันตั้งทิ้งไว้ให้อุณหภูมิเหลือ 40 ๐c
3. เตรียมสารสกัดขมิ้น
4. ผสมน้ามันมะพร้าวกับน้ามันปาล์ม แล้วผสมในน้ามันมะกอก
5. เทสารละลายด่าง(ข้อ 2) ลงในน้ามัน(ข้อ 4) คนสักครู่ จึงเติมสารสกัดขมิ้นลงไป สี, กลิ่นคนให้เข้ากัน
6. เมื่อเริ่มเกิดเป็นสบู่ สังเกตเนื้อข้นเหมือนนมข้น เทลงพิมพ์
7. ตั้งพิมพ์ไว้ประมาณ 4 - 8 ชั่วโมง จนสบู่จับตัวเป็นก้อนแข็ง ลองใช้นิ้วมือกดดู แล้วจึงเอาออกจากแบบเช็คค่า
pH ส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 9.5 - 10 เก็บต่อไปอีกนาน 6 - 8 สัปดาห์ เช็คค่า pH ซ้าอีกครั้ง ซึ่งควรจะอยู่ระหว่าง
8 - 9 จึงนาไปใช้
สูตรสบู่สารสกัดมังคุด
ส่วนผสม 1. น้ามันมะพร้าว 50 กรัม 2. น้ามันปาล์ม 25 กรัม 3. น้ามันทานตะวัน 20 กรัม 4. น้ามันมะกอก 5
กรัม 5. โซเดียมไฮดรอกไซด์ 17 กรัม 6. สารสกัดมังคุด 5 กรัม 7. น้า 40 กรัม
วิธีทา
1. เตรียมแม่พิมพ์แบบสบู่ตามขนาดและรูปร่างที่ต้องการ
2. ค่อย ๆ เทโซเดียมไฮดรอกไซด์ลงในน้า ผสมให้เข้ากัน ตั้งทิ้งไว้ให้ อุณหภูมิเหลือ 40 - 45 องศาเซลเซียส
3. เตรียมสารสกัดมังคุด
4. สมน้ามันมะพร้าวกับน้ามันปาล์ม น้ามันทานตะวันและน้ามันมะกอก รวมกันนาไปอุ่นให้อุณหภูมิ 40 - 50
องศาเซลเซียส
5. เทสารละลายด่างลงใน (ข้อ 4) คนให้เข้ากัน เติมกลิ่นตามต้องการ
6. เมื่อเริ่มเกิดเป็นสบู่ สังเกตจากเนื้อจะข้นเหมือนนมข้น เทลงพิมพ์
11

7. ตังทิ้งไว้ประมาณ 4 - 8 ชั่วโมง จนสบู่จับตัวเป็นก้อนแข็ง ลองใช้นิ้วมือกดดู แล้วจึงเอาออกจากพิมพ์ เช็คค่า
้
pH ส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 9.5 - 10 เก็บต่อไปอีกนาน 6 - 8 สัปดาห์ เช็คค่า pH ซ้าอีกครั้ง ซึ่งควรจะอยู่ระหว่าง
8 - 9 จึงนาไปใช้
สบู่ชาเขียว
ส่วนผสม
1. น้ามันมะพร้าว 100 กรัม
2. น้ามันปาล์ม 100 กรัม
3. น้ามันมะกอก 200 กรัม
4. โซเดียมไฮดรอกไซด์ 48 กรัม
5. น้า 100 กรัม
6. สารสกัดชาเขียว 50 กรัม (ชาเขียวใส่น้าต้ม)
7. น้ามันหอมระเหยหรือน้าหอม 1 ซีซี.
วิธีทา
1. เตรียมแบบหรือแม่พิมพ์
2. ชั่งน้า 100 กรัม เทใส่ภาชนะแก้ว
3. ใส่โซเดียมไฮดรอกไซด์ 58 กรัม ใช้แท่งแก้วคนจนด่างละลายหมด อุณหภูมิสูงมาก ทิ้งไว้ให้เย็น ณ
อุณหภูมิห้อง จะได้สารสกัดใส ไม่มีสี
4. ชั่งน้ามันมะพร้าว น้ามันปาล์ม และน้ามันมะกอกผสมในภาชนะสแตนเลส อุ่นน้ามัน 40 องศาเซลเซียส แล้ว
ยกลง ทิ้งให้เย็น
5. เท 2 ลงใน 3 กวนให้เข้ากัน ใส่สารสกัดชาเขียว จนส่วนผสมเริ่มข้น คล้ายครีมสลัด ใส่น้าหอมหรือน้ามันหอม
ระเหย กวนต่อ และเทลงแบบพิมพ์
6. สบู่จะจับเป็นก้อนแข็ง ทิ้งไว้ 3 สัปดาห์ สบู่จะจับตัวสีข้น ตรวจสารวัดความเป็นกรดเป็นด่าง pH ประมาณ 8
- 9 จึงนาไปใช้ได้
สมุนไพรที่นามาเป็นส่วนผสมของสบู่ สมุนไพรที่นามาเป็นส่วนผสมของสบู่มีคุณประโยชน์ต่อผิวดังต่อไปนี้
12

1. ให้ความชุ่มชื้นแก่ผิวหนัง ได้แก่ ว่านหางจระเข้ ส่วนที่ใช้ วุ้นจากใบ การนามาใช้ ตัดเอาช่วงโคนใบ ล้างน้าจน
ยางเหลืองหมด แช่ทิ้งไว้ 15 นาที ปอกเปลือกออกแล้วล้างวุ้นให้สะอาด นาไปใส่เครื่องปั่น กรองด้วยผ้าขาวบาง
นาน้าที่ได้มาใช้ กล้วย ส่วนที่ใช้ ผลสุกนาไปตากแห้ง การนามาใช้ นาผลกล้วยสุกหั่นเป็นชิ้นบางๆ นาไปตากแดด
ให้แห้ง แล้วนาไปใส่เครื่องบดหรือใช้ครกตาบด ให้เป็นผงละเอียด มะละกอ ส่วนที่ใช้ ผล การนามาใช้ นาผลสุก
ปอกเปลือกและปั่นให้ละเอียด จนเป็นน้าแล้วกรองด้วยผ้าขาวบาง 2 ครั้ง ส้ม ส่วนที่ใช้ น้าคั้นจากผล การ
นามาใช้ คั้นน้าจากผล แล้วกรองให้สะอาด ราข้าว ส่วนที่ใช้ ราแห้ง การนามาใช้ นาราแห้งมาบดเป็นผงละเอียด
2. มีกรดบารุงผิว ได้แก่ ส้มป่อย ส่วนที่นามาใช้ ใบ การนามาใช้ นาใบส้มป่อยล้างให้สะอาดหั่นหยาบๆ แล้ว
นาไปต้มในน้า มะขาม ส่วนที่ใช้ ฝักสุก การนามาใช้ นามาขามฝักสุกมากระเทาะเปลือกออก นาไปต้มกับน้า
มะนาว มะเฟือง มะดัน มะไฟ สับปะรด ส้มแขก ส่วนที่ใช้ ผลสด การนามาใช้ คั้นเอาน้าจากผลสดไม้ต้องนาไป
ต้ม เอาไปใช้ได้เลย ใบบัวบก ส่วนที่ใช้ ใบสด การนามาใช้ ใช้วิธีสกัดด้วยแอลกอฮอล์ ขมิ้นชัน ส่วนที่ใช้ หัว การ
นามาใช้ ใช้วิธีสกัดด้วยแอลกอฮอล์หรือนามาบดเป็นผงแห้ง
3. รักษาผิวหนังผื่นคัน ฝรั่ง ส่วนที่ใช้ ใบที่ไม่อ่อนหรือแก่จนเกินไป การนามาใช้ นาใบมาตากให้แห้ง แล้วบดเป็น
ผงหรือนาใบตากแห้งแล้วมาต้ม กรองเอาแต่น้า ทับทิม, มังคุด ส่วนที่ใช้ เปลือก การนามาใช้ นาเปลือกไปตาก
แห้งแล้วนามาบดเป็นผง หรือนาเปลือกไปตากแล้วมาต้มกรองเอาแต่น้า สะระแหน่ ส่วนที่ใช้ ใบ การนามาใช้ นา
ใบตากแห้งแล้วบดเป็นผง หรือสกัดด้วยแอลกอฮอล์ กานพลู ส่วนที่ใช้ ดอก การนามาใช้ นาดอกไปตากแห้ง แล้ว
นาไปสกัดด้วยแอลกอฮอล์ ฟ้าทลายโจร เสลดพังพอน ส่วนที่ใช้ ใบ การนามาใช้ นาใบแห้งมาสกัดด้วย
แอลกอฮอล์ เหงือกปลาหมอ สามะงา ส่วนที่ใช้ ใบแห้ง การนามาใช้ นาใบแห้งมาต้มกับน้ากรอง ใบหนาด ส่วนที่
ใช้ ใบ การนามาใช้ นาใบแห้งมาสกัดด้วยแอลกอฮอล์ ว่านหางช้าง ส่วนที่ใช้ เหง้า การนามาใช้ ล้างให้สะอาด
นามาต้มกับน้าแล้วกรองด้วยผ้าขาวบาง
4. ขัดผิว ขิง ขมิ้น ส่วนที่ใช้ หัว เหง้า การนามาใช้ นาเหง้าไปผึ่งให้แห้งแล้วนามาบดเป็นผง
สมุนไพรที่นามาเป็นส่วนผสมของสบู่ สมุนไพรที่นามาเป็นส่วนผสมของสบู่มีคุณประโยชน์ต่อผิวดังต่อไปนี้
งบประมาณ
- 500 บาท
13

ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
1

ขั้นตอน

สัปดาห์ที่
1

คิดหัวข้อโครงงาน

2

ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล

3

จัดทาโครงร่างงาน

4

ปฏิบัติการสร้างโครงงาน

5

ปรับปรุงทดสอบ

6

4

5

6

7

8

1
0

9

1
3

1
4

1
5

   
   
     
 

ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
-สร้างความพึงพอใจให้กับคนที่เข้ามาดู
-ให้ความรู้ในเรื่องต่างๆเกี่ยวกับดอกไม้
-ได้แสดงความรู้สึกต่างๆที่เรามีต่อธรรมชาติให้คนที่เข้ามาดูได้รับรู้
-สร้างจิตใต้สานึกให้กับคนที่เข้ามาดูรักธรรมชาติ
-ให้คนที่เข้ามาดูเห็นธรรมชาติเป็นสิ่งสาคัญ

วิชาที่เกียวข้อง
1.การงานอาชีพและเทคโนโลยี

12

16

17

ณัฐสิทธิ์,ธนพล

นาเสนอโครงงาน

สถานที่ดาเนินการ
บ้านของจิรภัทร

1
1



ประเมินผลงาน

8

3

การทาเอกสารรายงาน

7

2

ผู้รับผิดชอบ

 



,จิรภัทร
ณัฐสิทธิ์,ธนพล
,จิรภัทร
ณัฐสิทธิ์,ธนพล
,จิรภัทร
ณัฐสิทธิ์,ธนพล
,จิรภัทร
ณัฐสิทธิ์,ธนพล
,จิรภัทร
ณัฐสิทธิ์,ธนพล
,จิรภัทร
ณัฐสิทธิ์,ธนพล
,จิรภัทร
ณัฐสิทธิ์,ธนพล
,จิรภัทร
14

2.วิทยาศาสตร์

แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
https://sites.google.com/site/sbacsamui/khorng-ngan/kar-tha-sbu-smunphir

More Related Content

What's hot

2562 final project 26,31
2562 final project 26,312562 final project 26,31
2562 final project 26,31Sarocha Somboon
 
Projectm6 2-2556[โรบ -]
Projectm6 2-2556[โรบ -]Projectm6 2-2556[โรบ -]
Projectm6 2-2556[โรบ -]Assa Bouquet
 
2562 final-project-2731 (1)
2562 final-project-2731 (1)2562 final-project-2731 (1)
2562 final-project-2731 (1)Sarocha Somboon
 
2562 final-project-2731 (1)
2562 final-project-2731 (1)2562 final-project-2731 (1)
2562 final-project-2731 (1)Sarocha Somboon
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Kiattipong Sriwichai
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์2
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์2แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์2
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์2Kiattipong Sriwichai
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงChok Ke
 
2557 โครงงานเพ -มเต_ม
2557 โครงงานเพ -มเต_ม2557 โครงงานเพ -มเต_ม
2557 โครงงานเพ -มเต_มJaturaphun
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Apaiwong Nalinee
 
โครงร่างผ้ามัดย้อม
โครงร่างผ้ามัดย้อมโครงร่างผ้ามัดย้อม
โครงร่างผ้ามัดย้อมsupansa phuprasong
 
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพร
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพรโครงงานเรื่องสบู่สุนไพร
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพรPornthip Nabnain
 
2562 final-project 37-609_pornchita
2562 final-project 37-609_pornchita2562 final-project 37-609_pornchita
2562 final-project 37-609_pornchitaPornchita Taejanung
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพศิริวรรณ นามสวัสดิ์
 
แบบเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 08
แบบเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 08แบบเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 08
แบบเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 08pantida44027
 

What's hot (20)

2562 final project 26,31
2562 final project 26,312562 final project 26,31
2562 final project 26,31
 
Bathbomb
BathbombBathbomb
Bathbomb
 
Projectm6 2-2556[โรบ -]
Projectm6 2-2556[โรบ -]Projectm6 2-2556[โรบ -]
Projectm6 2-2556[โรบ -]
 
2562 final-project-2731 (1)
2562 final-project-2731 (1)2562 final-project-2731 (1)
2562 final-project-2731 (1)
 
2562 final-project-2731 (1)
2562 final-project-2731 (1)2562 final-project-2731 (1)
2562 final-project-2731 (1)
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์2
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์2แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์2
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์2
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผง
 
2557 โครงงานเพ -มเต_ม
2557 โครงงานเพ -มเต_ม2557 โครงงานเพ -มเต_ม
2557 โครงงานเพ -มเต_ม
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างผ้ามัดย้อม
โครงร่างผ้ามัดย้อมโครงร่างผ้ามัดย้อม
โครงร่างผ้ามัดย้อม
 
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพร
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพรโครงงานเรื่องสบู่สุนไพร
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพร
 
Bathbomb
BathbombBathbomb
Bathbomb
 
2562 final-project 37-609_pornchita
2562 final-project 37-609_pornchita2562 final-project 37-609_pornchita
2562 final-project 37-609_pornchita
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
 
รายงานเชิงวิชาการสีย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
รายงานเชิงวิชาการสีย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดรายงานเชิงวิชาการสีย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
รายงานเชิงวิชาการสีย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
 
แบบเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 08
แบบเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 08แบบเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 08
แบบเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 08
 
คอม1
คอม1คอม1
คอม1
 

Similar to งานไนท์

งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม0636830815
 
2557 โครงงาน คอม
2557 โครงงาน คอม2557 โครงงาน คอม
2557 โครงงาน คอมJaturaphun
 
ตัวอย่างโครงร่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงร่างโครงงานตัวอย่างโครงร่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงร่างโครงงานPloy Purr
 
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Korakrit Jindadang
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์panita aom
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Kiattipong Sriwichai
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมDduang07
 
2562 final-project-yanisa-615-33
2562 final-project-yanisa-615-332562 final-project-yanisa-615-33
2562 final-project-yanisa-615-33th3_ze3d_g
 

Similar to งานไนท์ (20)

โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
2559 project -1
2559 project -12559 project -1
2559 project -1
 
2559 project -1
2559 project -12559 project -1
2559 project -1
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
กล้วย
กล้วยกล้วย
กล้วย
 
2557 โครงงาน คอม
2557 โครงงาน คอม2557 โครงงาน คอม
2557 โครงงาน คอม
 
Mook
MookMook
Mook
 
ตัวอย่างโครงร่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงร่างโครงงานตัวอย่างโครงร่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงร่างโครงงาน
 
Mook
MookMook
Mook
 
Mook
MookMook
Mook
 
Mook
MookMook
Mook
 
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Projectm6 2-2556
Projectm6 2-2556Projectm6 2-2556
Projectm6 2-2556
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
เกศรินทร์
เกศรินทร์เกศรินทร์
เกศรินทร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
2562 final-project-yanisa-615-33
2562 final-project-yanisa-615-332562 final-project-yanisa-615-33
2562 final-project-yanisa-615-33
 

More from Pornthip Nabnain

งานคอมยิม
งานคอมยิมงานคอมยิม
งานคอมยิมPornthip Nabnain
 
โครงงานเรื่องสเปรย์สมุนไพร
โครงงานเรื่องสเปรย์สมุนไพรโครงงานเรื่องสเปรย์สมุนไพร
โครงงานเรื่องสเปรย์สมุนไพรPornthip Nabnain
 
โครงงานเรื่องเทียนหอมตะไคร้ไล่ยุง
โครงงานเรื่องเทียนหอมตะไคร้ไล่ยุงโครงงานเรื่องเทียนหอมตะไคร้ไล่ยุง
โครงงานเรื่องเทียนหอมตะไคร้ไล่ยุงPornthip Nabnain
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPornthip Nabnain
 
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพร
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพรโครงงานเรื่องสบู่สุนไพร
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพรPornthip Nabnain
 
โครงงานเรื่องสเปรย์สมุนไพร
โครงงานเรื่องสเปรย์สมุนไพรโครงงานเรื่องสเปรย์สมุนไพร
โครงงานเรื่องสเปรย์สมุนไพรPornthip Nabnain
 
งานโก๋แก้
งานโก๋แก้งานโก๋แก้
งานโก๋แก้Pornthip Nabnain
 
เฉลย O net 52 วิทยาศาสตร์
เฉลย O net 52 วิทยาศาสตร์เฉลย O net 52 วิทยาศาสตร์
เฉลย O net 52 วิทยาศาสตร์Pornthip Nabnain
 
เฉลย Onet 51 วิทยาศาสตร์
เฉลย Onet 51 วิทยาศาสตร์เฉลย Onet 51 วิทยาศาสตร์
เฉลย Onet 51 วิทยาศาสตร์Pornthip Nabnain
 
เฉลย Onet 50 วิทยาศาสตร์
เฉลย Onet 50 วิทยาศาสตร์เฉลย Onet 50 วิทยาศาสตร์
เฉลย Onet 50 วิทยาศาสตร์Pornthip Nabnain
 
เฉลย O net 49 วิทยาศาสตร์
เฉลย O net 49 วิทยาศาสตร์เฉลย O net 49 วิทยาศาสตร์
เฉลย O net 49 วิทยาศาสตร์Pornthip Nabnain
 
ข้อสอบ O net 52 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 52 วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O net 52 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 52 วิทยาศาสตร์Pornthip Nabnain
 
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์Pornthip Nabnain
 
ข้อสอบ O net 50 วิทยาศาสตร์ ม 6
ข้อสอบ O net 50 วิทยาศาสตร์ ม 6ข้อสอบ O net 50 วิทยาศาสตร์ ม 6
ข้อสอบ O net 50 วิทยาศาสตร์ ม 6Pornthip Nabnain
 

More from Pornthip Nabnain (20)

งานคอมยิม
งานคอมยิมงานคอมยิม
งานคอมยิม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
โครงงานเรื่องสเปรย์สมุนไพร
โครงงานเรื่องสเปรย์สมุนไพรโครงงานเรื่องสเปรย์สมุนไพร
โครงงานเรื่องสเปรย์สมุนไพร
 
โครงงานเรื่องเทียนหอมตะไคร้ไล่ยุง
โครงงานเรื่องเทียนหอมตะไคร้ไล่ยุงโครงงานเรื่องเทียนหอมตะไคร้ไล่ยุง
โครงงานเรื่องเทียนหอมตะไคร้ไล่ยุง
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพร
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพรโครงงานเรื่องสบู่สุนไพร
โครงงานเรื่องสบู่สุนไพร
 
โครงงานเรื่องสเปรย์สมุนไพร
โครงงานเรื่องสเปรย์สมุนไพรโครงงานเรื่องสเปรย์สมุนไพร
โครงงานเรื่องสเปรย์สมุนไพร
 
งานคอมพ
งานคอมพ งานคอมพ
งานคอมพ
 
งานคอมพ
งานคอมพ งานคอมพ
งานคอมพ
 
งานโก๋แก้
งานโก๋แก้งานโก๋แก้
งานโก๋แก้
 
เกม
เกมเกม
เกม
 
งานโก๋
งานโก๋งานโก๋
งานโก๋
 
เกม
เกมเกม
เกม
 
เฉลย O net 52 วิทยาศาสตร์
เฉลย O net 52 วิทยาศาสตร์เฉลย O net 52 วิทยาศาสตร์
เฉลย O net 52 วิทยาศาสตร์
 
เฉลย Onet 51 วิทยาศาสตร์
เฉลย Onet 51 วิทยาศาสตร์เฉลย Onet 51 วิทยาศาสตร์
เฉลย Onet 51 วิทยาศาสตร์
 
เฉลย Onet 50 วิทยาศาสตร์
เฉลย Onet 50 วิทยาศาสตร์เฉลย Onet 50 วิทยาศาสตร์
เฉลย Onet 50 วิทยาศาสตร์
 
เฉลย O net 49 วิทยาศาสตร์
เฉลย O net 49 วิทยาศาสตร์เฉลย O net 49 วิทยาศาสตร์
เฉลย O net 49 วิทยาศาสตร์
 
ข้อสอบ O net 52 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 52 วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O net 52 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 52 วิทยาศาสตร์
 
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
ข้อสอบ O net 51 วิทยาศาสตร์
 
ข้อสอบ O net 50 วิทยาศาสตร์ ม 6
ข้อสอบ O net 50 วิทยาศาสตร์ ม 6ข้อสอบ O net 50 วิทยาศาสตร์ ม 6
ข้อสอบ O net 50 วิทยาศาสตร์ ม 6
 

งานไนท์

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่ างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2556 ชื่อโครงงาน สบู่สมุนไพร ชื่อผู้ทาโครงงาน 1 ณัฐสิทธิ์ สมบูรณ์ เลขที่14ชั้น ม.6 ห้อง 14 2 ธนพล สุวรรณ เลขมรา 18ชั้น ม.6 ห้อง 14 3 นาย จิรภัทร วงศ์แสง เลขที่ 33 ชั้น ม.6ห้อง14 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขือนทอง มูลวรรณ์ ่ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 2 1 ณัฐสิทธิ์ สมบูรณ์ เลขที่14ชั้น ม.6 ห้อง 14 2 ธนพล สุวรรณ เลขมรา 18ชั้น ม.6 ห้อง 14 3 นาย จิรภัทร วงศ์แสง เลขที่ 33 ชั้น ม.6ห้อง14 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) สบู่สมุนไพร ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) herbal Soap ประเภทโครงงาน ประเภทการทดลอง ชื่อผู้ทาโครงงาน 1 ณัฐสิทธิ์ สมบูรณ์ เลขที่14ชั้น ม.6 ห้อง 14 2 ธนพล สุวรรณ เลขมรา 18ชั้น ม.6 ห้อง 14 3 นาย จิรภัทร วงศ์แสง เลขที่ 33 ชั้น ม.6ห้อง14 ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม ระยะเวลาดาเนินงาน 30 วัน ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ปัจจุบันนี้มีผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวกับสมุนไพรมากขึ้นทาให้เห็นได้ว่าในปัจจุบันผู้คนเริ่มสนใจในสรรพคุณของ สมุนไพร มากขึ้น ทั้งนี้กลุ่มของพวกเราจึงอยากทาผลิตภัณฑ์ที่ทามาจากสมุนไพรขึ้นมา สิ่งที่กลุ่มของข้าพเจ้าทา ก็คือ สบู่สมุนไพร กลุ่มของข้าพเจ้าได้เล็งเห็นว่าสมุนไพรของไทยมีประโยชน์ต่อผิวของคนเราเป็นอย่างมาก ทาให้ ผิวเนียนและขาวขึ้น กลุ่มของข้าพเจ้าจึงได้จัดทา สบู่สมุนไพร ขึ้นมา
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อส่งเสริมการจัดจาหน่ายสบู่ 2. เพื่อให้ มีสบู่ที่ผลิตจากสมุนไพรธรรมชาติ 3. เพื่อที่จะให้สบู่สมุนไพรเป็นที่รู้จักของคนทั่วไป ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) - การใช้ระยะเวลาในการทา หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) สบู่คือ ของใช้ที่จาเป็นในชีวิตประจาวัน ทุกวันเราอาบน้าต้องใช้สบู่เพื่อการขจัดสิ่งสกปรกออกจาก ร่างกาย ปัจจุบันสบู่มีมากมายหลายชนิดให้เราเลือกใช้ ตามความเหมาะสมและความชอบของแต่ละบุคคล บาง ชนิดก็ผสมสมุนไพร บางชนิดก็ผสมสารเคมี เช่น Triclocarban เพื่อฆ่าเชื้อแบคทีเรีย ซึ่งผู้ใช้บางรายอาจเกิด อาการแพ้สารเคมี หากใช้บ่อยเกินไป สบู่เกิดจากการทาปฏิกิริยาเคมีของส่วนผสมพื้นฐาน คือน้าด่าง (โซเดียมไฮ ดรอกไซด์) กับน้ามัน ซึ่งจะเป็นน้ามันพืชหรือน้ามันสัตว์ก็ได้ ปฏิกิริยาเคมีเช่นนี้เรียกว่า Saponification ซึ่งจะ ได้ของแข็งลื่นมีฟอง เป็นส่วนผสมของสบู่ 5 ส่วนและกลีเซอรีน 1 ส่วน ในโรงงานอุตสาหกรรมได้สกัดเอากลีเซอ รีนออกไป เราจึงได้ใช้เนื้อสบู่ล้วนๆ หรือมีส่วนผสมของกลีเซอรีนเพียงเล็กน้อย ส่วนการผลิตสบู่ธรรมชาติ เป็น กระบวนการผลิตแบบเย็น ซึ่งสารสกัดกลีเซอรีนยังคงมีอยู่ในเนื้อสบู่ ทาให้ผิวมีความชุ่มชื้นเมื่อใช้สบู่ชนิดนี้ 1. ไขมันหรือน้ามัน ไขมันหรือน้ามัน ทั้งจากสัตว์และจากพืชหลากหลายชนิด สามารถนามาเป็น ส่วนผสมในการผลิตสบู่ได้ กรดไขมันนี้จะรวมตัวกับสารอื่น อยู่ในรูปของกลีเซอไรด์ เมื่อนาด่างเข้ามาผสมและทา ปฏิกิริยากับกรดไขมันจะหลุดออกจากกลีเซอไรด์ มารวมตัวกันเป็นสบู่ สารที่เกาะอยู่กับกรดไขมันก็จะออกมาเป็น กลีเซอรีน น้ามันแต่ละชนิดก็จะให้สบู่ที่มีคุณสมบัติแตกต่างกันออกไป กรดไขมันแต่ละชนิดเมื่อรวมตัวกับด่างแล้ว จะให้สบู่ที่มีคุณสมบัติแตกต่างกัน เช่น กรดลอริก (lauric acid) มีมากในน้ามันมะพร้าว เป็นกรดไขมันที่ทา ปฏิกิริยากับด่างแล้วให้สารที่มีฟองมาก เป็นต้น ดังนั้นจึงควรศึกษาคุณสมบัติของสบู่ที่ได้จากไขมันต่างชนิดกัน ดังนี้ ตาราง คุณสมบัติ – อายุการใช้งานของน้ามันแต่ละชนิด ชื่อน้ามัน คุณสมบัติ อายุการใช้งาน น้ามันมะกอก สบู่ที่ได้จะเป็นก้อนแข็ง มีฟองครีมนุ่มนวล มีคุณค่าในการบารุงผิวมาก มากกว่าสามเดือน น้ามันงา สบู่ที่ได้จะนิ่ม มีค่าการชาระล้างปากกลาง แต่มีวิตามินอีสูงมาก แต่อาจมีกลิ่นที่บางคนไม่ชอบ มากกว่าสามเดือน น้ามัน มะพร้าว สบู่ที่ได้จะมีก้อนแข็ง มีฟองครีมนุ่มนวลจานวนมาก แต่ไม่ควรใช้เกิน 30% เพราะมีค่าการชาระล้างสูง อาจทาให้ผิวแห้ง มากกว่าสามเดือน น้ามันราข้าว สบู่ที่ได้จะนิ่ม ค่าการชาระล้างปานกลาง แต่มีวิตามินอีมาก เหมาะสาหรับบารุงผิว มากกว่าสามเดือน น้ามันถั่วเหลือง สบู่ที่ได้จะนิ่ม ค่าการชาระล้างปานกลาง แต่มีวิตามิน อีมาก มีคุณสมบัติช่วยให้ผิวยืดหยุ่นได้ดี เป็นน้ามันอายุสั้น ทาสบู่แล้วควรใช้ให้หมดภายในสามเดือน น้ามันเมล็ด ทานตะวัน สบู่ที่ได้จะนิ่ม ค่าการชาระล้างปานกลาง มีวิตามินอีมาก เป็นน้ามันอายุสั้น ทาสบู่แล้วควรใช้ให้หมด ภายในสามเดือน น้ามันปาล์ม สบู่ที่ได้จะเป็นก้อนแข็ง มีฟองปานกลาง ค่าการชาระล้างสูง ควรใช้ไม่เกิน 30% เพราะอาจทาให้ผิวแห้ง มากกว่าหกเดือน ไขมันวัว สบู่ที่ได้จะเป็นก้อนแข็ง มีฟองปานกลาง ค่าการชาระล้างสูง เหมาะสาหรับผสมทาสบู่สาหรับซักล้าง มากกว่าหกเดือน ไขมันหมู สบู่ที่ได้จะมีสีขาวและนิ่ม มีฟองน้อย ค่าการ ชาระล้างปานกลาง มีคุณสมบัติในการบารุงผิว มากกว่าสามเดือน
  • 4. 4 2. ด่าง ชนิดของด่างที่ใช้ มี 2 ชนิด - โซเดียมไฮดรอกไซด์ หรือโซดาไฟ (Sodium hydroxide) ใช้ สาหรับทาสบู่ก้อน - โปแตสเซียม ไฮดรอกไซด์ (Potassium hydroxide) ใช้สาหรับทาสบู่เหลว จากตาราง แสดงปริมาณด่างที่ใช้ต่อไขมัน 100 กรัม ภายหลังทาปฏิกิริยาจะมีไขมันเหลือประมาณร้อยละ 5 - 8 อย่างไรก็ดี อาจมีความผิดพลาดเนื่องจากการใช้มาตราชั่ง ตวง วัด และปัจจัยการผลิตอื่น ๆ หรือวิธีการผลิตอื่น ที่ทาให้ ปริมาณด่างเหลือมากกว่าที่คานวณไว้ จึงจาเป็นต้องควบคุมคุณภาพ โดยการวัด pH ทุกครั้งที่ผลิตและหลังจาก สบู่แข็งตัวแล้ว ตาราง ปริมาณด่างที่ทาปฏิกิริยากับไขมัน จานวน 100 กรัม สบู่ที่ได้มีไขมันประมาณ 5 – 8 % ที่ ชื่อน้ามัน โซดาไฟ (กรัม) โปตัสเซียม ไฮดรอกไซด์ (กรัม) 1 ปาล์ม 13.06 18.32 2 มะพร้าว 16.92 23.74 3 ละหุ่ง 11.83 16.59 4 มะกอก 12.46 17.48 5 งา 12.66 17.76 6 ถั่วเหลือง 12.46 17.48 7 ราข้าว 12.33 17.30 8 เมล็ดทานตะวัน 12.56 17.62 9 ขี้ผึ้ง 6.17 10 ไขมันวัว 12.92 18.12 11 ไขมันหมู 12.76 17.90 12 ไขมันแพะ 12.72 17.85 3. น้า น้าที่ใช้ทาสบู่ได้ต้องเป็นน้าอ่อน ถ้าเป็นนากระด้างจะทาให้สบู่ไม่เกิดฟอง น้าที่เหมาะในการทาสบู่ มากที่สุดคือน้าฝน ปริมาณน้าที่ใช้ในการทาปฏิกิริยาเป็นปัจจัยสาคัญ เพราะหากใช้น้ามากต้องทิ้งไว้หลายวัน สบู่ จึงจะแข็งตัว น้าน้อยเกินไปอาจทาให้ปฏิกิริยาไม่สมบูรณ์ หากใช้ไขมันแต่ละชนิดรวมกันแล้ว 100 กรัม ควรให้ น้าประมาณ 35-38 เปอร์เซ็นต์ หรือเพิ่มตามสัดส่วน 4. ส่วนผสมเพิ่มเติมในสบู่ - บอแร็กซ์ ...สารบอแร็กซ์นี้ไม่จาเป็นต้องใช้ก็ได้ ...แต่สารนี้ช่วยให้สบู่มีสีสัน สวยงามและทาให้เกิดฟองมาก... มีจาหน่ายตามร้านขายยาหรือร้านขายของชา มีชื่อเรียกว่า ผงกรอบ หรือผงนิ่ม ส่วนใหญ่บรรจุในถุงพลาสติก - น้าหอม.น้าหอมก็ไม่มีความจาเป็นต้องใช้เช่นกัน แต่ถ้าใช้จะทาให้สบู่มีกลิ่นดีขึ้น ถ้าไขมันที่ทาสบู่นั้นเหม็นอับใช้น้ามะนาวหรือน้ามะกรูดผสมจะช่วยให้กลิ่นหอมยิ่งขึ้นและไม่เน่า - สารกันหืน การ ผลิตสบู่ไว้ใช้เอง ซึ่งใช้หมดในระยะเวลาสั้น จาเป็นต้องใส่สารกันหืนเมื่อต้องการเก็บไว้เป็นเวลานาน - สมุนไพร ใช้เพิ่มเติมเพื่อประโยชน์ต่อผิวหนังตามคุณสมบัติของสมุนไพรนั้นๆ
  • 5. 5 วิธีดาเนินงาน 1. หม้อสแตนเลส 2 ใบ (ไว้สาหรับตุ๋นน้ามัน) 2. เทอร์โมมิเตอร์ 2 อัน (อุณหภูมิ 100 องศาเซลเซียส) 3. ไม้พาย 1 อัน 4. ทัพพี 1 อัน (สาหรับตักสบู่) 5. ถ้วยตวงแก้ว 1 ใบ (สาหรับผสมสารละลายโซดาไฟ) 6. ถาดใส่น้า 1 ใบ (สาหรับหล่อที่ใส่สารละลายโซดาไฟให้อุณหภูมิลดลง) 7. เหยือก 1 ใบ (สาหรับใส่สารสะลายโซดาไฟที่อุ่นลงแล้ว) 8. แท่งแก้ว (สาหรับกวนโซดาไฟ) 9. เตาไฟฟ้า หรือเตาแก๊ส 10. เครื่องชั่งขนาด 1-2 กิโลกรัม 11. ถุงมือ,แว่นตา,เสื้อคลุม,ที่ปิดจมูก 12. แม่พิมพ์สบู่ ใช้กล่องไม้ หรือ กระดาษแข็งรอด้วยกระดาษไข หรือพลาสติด 13. อื่น ๆ ผ้าเช็ดมือ , กระดาษทิชชู ,กระดาษหนังสือพิมพ์ใช้แล้ว, กระดาษวัดค่า pH การตั้งสูตรสบู่ 1. คัดเลือกไขมัน ที่ใช้ตามวัตถุประสงค์ที่ต้องการ ส่วนใหญ่จะนิยมใช้ไขมันตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป ตั้งสัดส่วน ปริมาณไขมันแต่ละชนิด 2. คัดเลือกชนิดด่าง ตามวัตถุประสงค์ เช่น ต้องการทาสบู่ก้อนใช้โซดาไฟ ทาสบู่เหลวใช้ โปรตัสเซียมไฮดรอก ไซด์ 3. คานวณปริมาณด่าง ที่ใช้สูตร โดยน้าหนักไขมันแต่ละชนิดมาคานวณปริมาณด่างโซเดียม ไฮดรอกไซด์ที่ใช้ แล้วเอามารวมกันเป็นปริมาณรวมดังตัวอย่าง ตัวอย่างวิธีคานวณ น้ามันมะพร้าว 120 กรัม ใช้โซดาไฟ 20.304 (16.92*120/100) กรัม น้ามันปาล์ม 80 กรัม ใช้โซดาไฟ 10.448 (13.06*80/100) กรัม น้ามันมะกอก 300 กรัม ใช้โซดาไฟ 37.38 (12.46*300/100) กรัม รวมไขมัน 500 กรัม รวมโซดาไฟ 68.132 กรัม 4. คานวณปริมาณน้าที่ใช้ จากหลักข้อกาหนดปริมาณไขมัน 100 กรัม ควรใช้น้า 35 - 38 กรัม ฉะนั้น จาก ตัวอย่างสูตร จึงควรใช้น้า 175 - 190 ซีซี. วิธีการและเทคนิคการผลิตสบู่ 1. เตรียมแม่พิมพ์สบู่ 2. เตรียมเครื่องมือทั้งหมด 3. ผู้ผลิตใส่เสื้อกันเปื้อน สวมถุงมือ ผ้าปิดปากและจมูก และแว่นตา 4. ชั่งด่างอย่างระมัดระวัง 5. ชั่งน้าที่ใช้ ค่อย ๆ เติมด่างลงในน้าอย่างช้า ๆ ระวังไม่ให้กระเด็น คนจนละลายหมด วัดอุณหภูมิ ประมาณ 4050 องศาเซลเซียส
  • 6. 6 6. ชั่งไขมันทั้งหมดผสมรวมรวมกัน วางบนเครื่องอังไอน้าหรือตุ๋น วัดอุณหภูมิประมาณ 40 - 45 องศาเซลเซียส ยกลง 7. เช็คอุณหภูมิน้าด่างในข้อ 5 อีกครั้ง 8. เมื่ออุณหภูมิน้าด่างและไขมันใกล้เคียงกัน ค่อยเทน้าด่างลงในไขมัน คนเบา ๆ เมื่อเทน้าด่างหมด ให้คนแรง ๆ ควรคน 15 นาที พัก 5 นาที จนกระทั่งเนื้อของเหลวเป็นสีขุ่นจนหมด เทลงแบบพิมพ์ 9. ทิ้งไว้ 1 สัปดาห์ แกะออกจากพิมพ์ ตัดเป็นก้อน 10. ตรวจสอบ pH บริเวณผิวสบู่ และเนื้อในสบู่บริเวณต่ากว่าผิวประมาณ 2 มิลลิเมตร ถ้ามีค่า pH อยู่ระหว่าง 8 - 10 สามารถนาไปใช้ได้ หากมีค่าเกิน 10 เฉพาะที่บริเวณผิว ให้ตัดเฉพาะผิวนอกทิ้ง หากเนื้อในและผิวมีค่า pH เกิน 10 ทั้งสองบริเวณ แสดงว่าสบู่นั้นมีปริมาณด่างเกินกาหนด ไม่ควรนาไปใช้ เพราะอาจเกิดอันตรายทาให้ ผิวเหี่ยว ซีด หรือคัน เมื่อสัมผัส 11. ห่อกระดาษ หรือบรรจุภาชนะแจกจ่ายในชุมชน ข้อควรระวังในการผลิตสบู่ 1. เพื่อความปลอดภัยของผู้ผลิต ควรสวมถุงมือยาง รองเท้า กางเกงขายาว เสื้อแขนยาว ใส่ผ้าปิดปาก ปิดจมูก และแว่นตา ขณะที่ทาการผลิตสบู่ 2. อุปกรณ์ทุกชนิดที่ใช้ ห้ามใช้วัสดุ อะลูมิเนียม ดีบุก สังกะสี หรือโลหะอื่น ๆ นอกจากที่แนะนา เพราะโลหะ เหล่านี้ จะทาปฏิกิริยากับโซดาไฟ เป็นอันตรายแก่ผู้ผลิตหรือผู้ใช้ 3. เลือกใช้เครื่องชั่งที่เหมาะสม เช่น ชั่งของระหว่าง 1 - 3 กก. ให้ใช้เครื่องชั่งที่รับน้าหนักได้สูงสุด 3 กก. กรณีที่ ชั่งวัตถุต่ากว่า 1 กก. ให้ใช้เครื่องชั่งที่รับน้าหนักได้สูงสุด 1 กก. การผลิตสบู่ก้อน ให้ชั่งส่วนผสมทั้งหมดอย่าง ระมัดระวัง และตรวจสอบความแม่นยาของเครื่องชั่งสม่าเสมอ 4. การใช้เทอร์โมมิเตอร์อันเดียววัดทั้งอุณหภูมิของน้าด่าง และไขมันนั้น ต้องล้างน้าและเช็ดให้สะอาดทุกครั้งที่จะ เปลี่ยนชนิดการวัด 5. สถานที่ผลิตควรมีอ่างน้า หรือถังใส่น้าสะอาดประมาณ 10 ลิตร เพื่อใช้กรณีฉุกเฉิน เช่น น้าด่างกระเด็นถูก ผิวหนัง 6. ห้ามเด็กเล็ก อายุต่ากว่า 12 ปี และสัตว์เลี้ยง เข้าใกล้บริเวณที่ผลิต รวมถึงการให้ความรู้ และทาความเข้าใจ ถึงอันตรายของสารเคมี แก่สมาชิกที่ร่วมผลิต และบุตรหลาน 7. ซื้อโซเดียมไฮดรอกไซด์ เฉพาะที่ใช้ หรือเหลือเก็บเล็กน้อยเท่านั้น เก็บไว้ให้ห่างไกลจากเด็กและสัตว์เลี้ยง หาก สามารถใส่กุญแจจะเพิ่มความปลอดภัยอีกชั้นหนึ่ง ภาชนะที่ใส่ต้องปิดให้สนิท โซเดียมไฮดรอกไซด์ ที่เหลือเก็บ ต้องมีฉลากและวิธีการแก้ไข หรือวิธีการปฐมพยาบาลที่ภาชนะบรรจุทุกครั้ง การตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐาน สบู่ ตรวจสอบค่า pH โดยตัดชิ้นสบู่เล็กน้อย เป็นแผ่นบาง ๆ ประมาณ 5 กรัม นามาละลายย้า 10 มล. จุ่ม กระดาษวัด pH วัดประมาณ 30 วินาที จนสีกระดาษคงที่ นากระดาษ pH มาเทียบกับสีมาตรฐาน ที่กล่อง ถ้าสี เหมือนกับช่องใด ซึ่งมีค่า pH กากับไว้ ทาให้ทราบค่า pH ของสบู่ได้ เช่น ดูจากลักษณะ ภายนอก เช่น การเกิด ฟอง การล้างน้าออก การทดสอบฟอง ความนุ่มหลังจากการใช้
  • 7. 7 วิธีการแก้ไขเมื่อถูกน้าด่าง 1. เมื่อน้าด่างกระเด็นสัมผัสผิวหนัง หรือนัยน์ตา - หากกระเด็นถูกผิวหนังหรือร่างกาย ให้ราดบริเวณผิวที่สัมผัส ด้วยน้าส้มสายชู หรือน้ามะนาวผสมน้าสะอาดอย่างละเท่ากัน เพื่อทาให้โซเดียมไฮดรอกไซด์เปลี่ยนสภาพจากด่าง เป็นกลาง ลดความระคายเคือง แล้วห้างด้วยน้าเย็นหลายๆ ครั้ง จนไม่รู้สึกคัน แสบร้อน หากยังมีอาการให้ล้าง น้าต่อไปเรื่อยๆ แล้วนาส่งโรงพยาบาล - หากกระเด็นเข้าตา ให้ล้างน้าสะอาดหลายครั้ง ตลอดเวลาที่นาส่ง โรงพยาบาล 2. หากเกิดอุบัติเหตุกลืนกินโซเดียมไฮดรอกไซด์ ให้รีบดื่มนม แล้วรีบนาส่งโรงพยาบาลโดด่วน การทดสอบว่าสบู่ จะดีหรือไม่ สบู่ที่ดีควรจะแข็ง สีขาว สะอาด กลิ่นดีและไม่มีรส สามารถขุดเนื้อสบู่ออกเป็นแผ่นโค้ง ๆ ได้ ไม่มัน หรือลื่นจนเกินไป เมื่อใช้ลิ้นแตะดูไม่หยาบหรือสาก วิธีการแก้ไขและการปรับปรุงสบู่ให้ดีขึ้น 1. เมื่อสบู่เป็นด่างเกินกาหนด ให้นาสบู่มาขูดเป็นฝอย ละลายใหม่ ด้วยน้า ครึ่งเท่าที่เคยใช้เดิม นาไปตั้งบนลังถึง ไม่ต้องคน เมื่อละลายหมด เติมกรดซิตริก คนเบาๆ วัดค่า pH จนได้ค่าตามต้องการ สบู่ที่ได้จะมีลักษณะเนื้อไม่ แน่น ควรนามาทาสบู่น้าดีกว่า 2. ถ้าส่วนผสมไม่ข้น แสดงว่า ด่างน้อยไป แก้โดยเพิ่มด่างเข้าไปอีก เล็กน้อย แล้วกวนต่อไป 3. ส่วนผสมเป็นก้อนและแยกชั้น แสดงว่า ใช้ด่างมาก ให้เติมน้ามันหรือกรดไขมัน ลงไปทีละน้อย แล้วตีต่อไป 4. สบู่ที่ได้เปราะ ตัดไม่สวย ให้เติมกรดไขมันหรือน้ามันอีกตาม 5-10 เปอร์เซ็นต์ 5. ถ้าสบูที่ผ่านขั้นตอนตามเวลาที่ทาทุกช่วงแล้ว แต่ยังมีส่วนผสมบางส่วนไม่แข็งตัวหรือแยกกันอยู่ หรือไม่ดี ่ เพราะสาเหตุใดก็ตาม อาจแก้ไขให้ดีขึ้นดังนี้ - ตัดสบู่ออกเป็นชิ้นเล็ก ๆ ใส่ลงในหม้อที่มีน้ามันบรรจุอยู่ 2.8 ลิตร พร้อมทั้งเทส่วนที่เป็นของเหลวที่เหลืออยู่ในแบบพิมพ์.....ลงไปด้วย - นาไปต้มนานประมาณ10นาที อาจเติมน้า มะนาวหรือน้ามันอื่น ๆ ที่มีกลิ่นหอมลงไปในส่วนผสมประมาณ 2 ช้อนชา.....( ถ้ายังไม่ได้เติม ) ต่อจากนั้นจึงเท ส่วนผสมลงในแบบพิมพ์ใหม่อีกครั้งหนึ่ง ปล่อยไว้ 2 วัน แล้วดาเนินการตามที่.....กล่าวมา การทาสบู่จากน้าด่า ง ที่ได้จากขี้เถ้า เริ่มด้วยการทาน้าด่างขึ้นเองจากขี้เถ้า สรุปแล้ว สบู่ก้อนและสบู่เหลวผสมสมุนไพร เป็นผลิตภัณฑ์ จากน้ามันพืชและน้ามันสัตว์ ซึ่งหาได้ง่ายในท้องถิ่น ประเทศไทยสามารถผลิตเองได้ และหาซื้อได้ง่าย อีกทั้งยังมี สมุนไพรอีกมากมาย ในประเทศ วิธีการผลิตสบู่ก้อนและสบู่เหลวสมุนไพรก็ไม่ยุ่งยาก ซับซ้อน เกษตรกร ประชาชน สามารถผลิตได้ โดยไม่ต้องใช้เครื่องมือ เครื่องจักรที่มีราคาแพง เพียงแต่ต้องฝึกฝนให้มากแล้วจะได้ สบู่ที่มีคุณภาพ และสามารถส่งออกมาได้ในราคาสูงเป็นการเพิ่มรายได้ ช่วยเศรษฐกิจและยกระดับคุณภาพชีวิต ได้อกทางหนึ่งด้วย ี
  • 8. 8 ตัวอย่างสูตรสบู่ก้อน สูตรที่ 1 สบู่สูตรนี้เป็นสบู่แข็ง มีสีขาว และให้ฟองมาก สบู่สูตรนี้ยังเหมาะเป็นสบู่พื้นฐานที่จะนาไปใส่ส่วนผสมต่างๆ เพื่อ ทาเป็นสบู่เอนกประสงค์อื่นๆ สาหรับใช้บ้านเรือน ส่วนผสม 1. น้ามันมะพร้าว 200 กรัม 2. น้ามันปาล์ม 200 กรัม 3. โซเดียมไฮดรอกไซด์ 60 กรัม 4. น้า 150 กรัม วิธีทา 1. เตรียมแม่แบบทาสบู่ตามขนาดและรูปร่างตามที่ต้องการ 2. ค่อย ๆ เทโซเดียมไฮดรอกไซด์ลงในน้า ผสมให้เข้ากันตั้งทิ้งไว้ให้อุณหภูมิเหลือ 40 องศาเซลเซียส 3. ผสมน้ามันมะพร้าว น้ามันปาล์ม ใส่ภาชนะตั้งบนลังถึง หรือใช้วิธีการตุ๋น คนให้เข้ากันจนได้อุณหภูมิ 40 องศา เซลเซียส แล้วยกลงจากไฟ 4. เทสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (ข้อ 2) ลงในน้ามัน(ข้อ 3) คนให้เข้ากัน 5. คนไปเรื่อยๆ จนสบู่จับตัวเหนียวข้น สังเกตเนื้อข้นเหมือนนมข้น แล้วจึงเทลงพิมพ์ที่เตรียมไว้ 6. ตั้งพิมพ์ไว้ประมาณ 4 - 8 ชั่วโมง จนสบู่จับตัวเป็นก้อนแข็ง ลองใช้นิ้วมือกดดู แล้วจึงเอาออกจากแบบเช็คค่า pH ส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 9.5 - 10 เก็บต่อไปอีกนาน 6 - 8 สัปดาห์ เช็คค่า pH ซ้าอีกครั้ง ซึ่งควรจะอยู่ระหว่าง 8 - 9 จึงนาไปใช้ สูตรที่ 2 สบู่สูตรนี้เป็นสบู่สีขาวขุ่น แข็ง และให้ฟองมาก สามารถนาไปใช้เป็นสบู่ถูกตัว สบู่ใช้ในบ้านเรือน สบู่ซัก ผ้า สบู่ล้างจาน ส่วนผสม 2. น้ามันมะพร้าว 120 กรัม 3. น้ามันปาล์ม 80 กรัม 4. น้ามันมะกอก 200 กรัม 5. โซเดียมไฮดรอก ไซด์ 56 กรัม 6. น้า 140 กรัม วิธีทา 1. เตรียมแม่แบบทาสบู่ตามขนาดและรูปร่างตามที่ต้องการ 2. ค่อย ๆ เทโซเดียมไฮดรอกไซด์ลงในน้า ผสมให้เข้ากันตั้งทิ้งไว้ให้อุณหภูมิเหลือ 40 องศาเซลเซียส 3. ผสมน้ามันทั้งหมดเข้าด้วยกัน ใส่ภาชนะตั้งบนลังถึง หรือใช้วิธีการตุ๋น คนให้เข้ากันจนได้อุณหภูมิ 40 องศา เซลเซียส แล้วยกลงจากไฟ 4. เทสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (ข้อ 2) ลงในน้ามัน(ข้อ 3) คนให้เข้ากัน 5. คนไปเรื่อยๆ จนสบู่จับตัวเหนียวข้น สังเกตเนื้อข้นเหมือนนมข้น แล้วจึงเทลงพิมพ์ที่เตรียมไว้
  • 9. 9 6. ตั้งพิมพ์ไว้ประมาณ 4 - 8 ชั่วโมง จนสบู่จับตัวเป็นก้อนแข็ง ลองใช้นิ้วมือกดดู แล้วจึงเอาออกจากแบบเช็คค่า pH ส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 9.5 - 10 เก็บต่อไปอีกนาน 6 - 8 สัปดาห์ เช็คค่า pH ซ้าอีกครั้ง ซึ่งควรจะอยู่ระหว่าง 8 - 9 จึงนาไปใช้ สูตรที่ 3 สบู่สูตรนี้มีน้ามันมะพร้าวเปอร์เซ็นต์สูง จึงมีฟองมาก น้ามันละหุ่งและน้ามันราข้าว ทาให้เพิ่มความชุ่ม ชื้นผิว สามารถนาไปปรับปรุงเป็นสบู่บารุงผิว เพิ่มความชุ่มชื้น โดยการเติมสมุนไพรเพิ่มความชุ่มชื้นลงไปได้อีก ส่วนผสม 1. น้ามันมะพร้าว 120 กรัม 2. น้ามันปาล์ม 60 กรัม 3. น้ามันมะกอก 80 กรัม 4. น้ามันละหุ่ง 100 กรัม 5. น้ามันราข้าว 40 กรัม 6. โซเดียมไฮดรอกไซด์ 55 กรัม 7. น้า 140 กรัม วิธีทา 1. เตรียมแม่แบบทาสบู่ตามขนาดและรูปร่างตามที่ต้องการ 2. ค่อย ๆ เทโซเดียมไฮดรอกไซด์ลงในน้า ผสมให้เข้ากันตั้งทิ้งไว้ให้อุณหภูมิเหลือ 40 องศาเซลเซียส 3. ผสมน้ามันทั้งหมดเข้าด้วยกัน ใส่ภาชนะตั้งบนลังถึง หรือใช้วิธีการตุ๋น คนให้เข้ากันจนได้อุณหภูมิ 40 องศา เซลเซียส แล้วยกลงจากไฟ 4. เทสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (ข้อ 2) ลงในน้ามัน(ข้อ 3) คนให้เข้ากัน 5. คนไปเรื่อยๆ จนสบู่จับตัวเหนียวข้น สังเกตเนื้อข้นเหมือนนมข้น แล้วจึงเทลงพิมพ์ที่เตรียมไว้ 6. ตั้งพิมพ์ไว้ประมาณ 4 - 8 ชั่วโมง จนสบู่จับตัวเป็นก้อนแข็ง ลองใช้นิ้วมือกดดู แล้วจึงเอาออกจากแบบเช็คค่า pH ส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 9.5 - 10 เก็บต่อไปอีกนาน 6 - 8 สัปดาห์ เช็คค่า pH ซ้าอีกครั้ง ซึ่งควรจะอยู่ระหว่าง 8 - 9 จึงนาไปใช้ สูตรที่ 4 สบู่สูตรนี้เป็นสบู่สีขาวให้ฟองนุ่ม และฟองทนนาน เนื้อสบู่นุ่ม สบู่สูตรนี้ใช้น้านมแพแทนที่น้า ส่วนผสม 1. น้ามันมะพร้าว 120 กรัม 2. น้ามันปาล์ม 40 กรัม 3. น้ามันมะกอก 240 กรัม 4. โซเดียมไฮดรอก ไซด์ 56 กรัม 5. น้านมแพะ 160 กรัม ;bธีทา 1. เตรียมแม่แบบทาสบู่ตามขนาดและรูปร่างตามที่ต้องการ 2. ผสมน้ามันทั้งหมดเข้าด้วยกัน ใส่ภาชนะตั้งบนลังถึง หรือใช้วิธีการตุ๋น คนให้เข้ากันจนได้อุณหภูมิ 40 องศา เซลเซียส แล้วยกลงจากไฟ 3. ค่อย ๆ เทโซเดียมไฮดรอกไซด์ลงในน้านมแพะ ผสมให้เข้ากันตั้งทิ้งไว้ให้อุณหภูมิเหลือ 40 องศาเซลเซียส 4. เทสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (ข้อ 2) ลงในน้ามัน(ข้อ 3) คนให้เข้ากัน 5. คนไปเรื่อยๆ จนสบู่จับตัวเหนียวข้น สังเกตเนื้อข้นเหมือนนมข้น แล้วจึงเทลงพิมพ์ที่เตรียมไว้
  • 10. 10 6. ตั้งพิมพ์ไว้ประมาณ 4 - 8 ชั่วโมง จนสบู่จับตัวเป็นก้อนแข็ง ลองใช้นิ้วมือกดดู แล้วจึงเอาออกจากแบบเช็คค่า pH ส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 9.5 - 10 เก็บต่อไปอีกนาน 6 - 8 สัปดาห์ เช็คค่า pH ซ้าอีกครั้ง ซึ่งควรจะอยู่ระหว่าง 8 - 9 จึงนาไปใช้ ตัวอย่างสูตรสบู่สมุนไพร สบู่ขมิ้น ส่วนผสม 1. น้ามันมะพร้าว 140 กรัม 2. น้ามันปาล์ม 60 กรัม 3. โซเดียมไฮดรอกไซด์ 32 กรัม 4. สารสกัดขมิ้น 10 กรัม 5. น้า 70 กรัม วิธีทา 1. เตรียมแม่แบบทาสบู่ตามขนาดและรูปร่างตามที่ต้องการ 2. ค่อย ๆ เทโซเดียมไฮดรอกไซด์ลงในน้า ผสมให้เข้ากันตั้งทิ้งไว้ให้อุณหภูมิเหลือ 40 ๐c 3. เตรียมสารสกัดขมิ้น 4. ผสมน้ามันมะพร้าวกับน้ามันปาล์ม แล้วผสมในน้ามันมะกอก 5. เทสารละลายด่าง(ข้อ 2) ลงในน้ามัน(ข้อ 4) คนสักครู่ จึงเติมสารสกัดขมิ้นลงไป สี, กลิ่นคนให้เข้ากัน 6. เมื่อเริ่มเกิดเป็นสบู่ สังเกตเนื้อข้นเหมือนนมข้น เทลงพิมพ์ 7. ตั้งพิมพ์ไว้ประมาณ 4 - 8 ชั่วโมง จนสบู่จับตัวเป็นก้อนแข็ง ลองใช้นิ้วมือกดดู แล้วจึงเอาออกจากแบบเช็คค่า pH ส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 9.5 - 10 เก็บต่อไปอีกนาน 6 - 8 สัปดาห์ เช็คค่า pH ซ้าอีกครั้ง ซึ่งควรจะอยู่ระหว่าง 8 - 9 จึงนาไปใช้ สูตรสบู่สารสกัดมังคุด ส่วนผสม 1. น้ามันมะพร้าว 50 กรัม 2. น้ามันปาล์ม 25 กรัม 3. น้ามันทานตะวัน 20 กรัม 4. น้ามันมะกอก 5 กรัม 5. โซเดียมไฮดรอกไซด์ 17 กรัม 6. สารสกัดมังคุด 5 กรัม 7. น้า 40 กรัม วิธีทา 1. เตรียมแม่พิมพ์แบบสบู่ตามขนาดและรูปร่างที่ต้องการ 2. ค่อย ๆ เทโซเดียมไฮดรอกไซด์ลงในน้า ผสมให้เข้ากัน ตั้งทิ้งไว้ให้ อุณหภูมิเหลือ 40 - 45 องศาเซลเซียส 3. เตรียมสารสกัดมังคุด 4. สมน้ามันมะพร้าวกับน้ามันปาล์ม น้ามันทานตะวันและน้ามันมะกอก รวมกันนาไปอุ่นให้อุณหภูมิ 40 - 50 องศาเซลเซียส 5. เทสารละลายด่างลงใน (ข้อ 4) คนให้เข้ากัน เติมกลิ่นตามต้องการ 6. เมื่อเริ่มเกิดเป็นสบู่ สังเกตจากเนื้อจะข้นเหมือนนมข้น เทลงพิมพ์
  • 11. 11 7. ตังทิ้งไว้ประมาณ 4 - 8 ชั่วโมง จนสบู่จับตัวเป็นก้อนแข็ง ลองใช้นิ้วมือกดดู แล้วจึงเอาออกจากพิมพ์ เช็คค่า ้ pH ส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 9.5 - 10 เก็บต่อไปอีกนาน 6 - 8 สัปดาห์ เช็คค่า pH ซ้าอีกครั้ง ซึ่งควรจะอยู่ระหว่าง 8 - 9 จึงนาไปใช้ สบู่ชาเขียว ส่วนผสม 1. น้ามันมะพร้าว 100 กรัม 2. น้ามันปาล์ม 100 กรัม 3. น้ามันมะกอก 200 กรัม 4. โซเดียมไฮดรอกไซด์ 48 กรัม 5. น้า 100 กรัม 6. สารสกัดชาเขียว 50 กรัม (ชาเขียวใส่น้าต้ม) 7. น้ามันหอมระเหยหรือน้าหอม 1 ซีซี. วิธีทา 1. เตรียมแบบหรือแม่พิมพ์ 2. ชั่งน้า 100 กรัม เทใส่ภาชนะแก้ว 3. ใส่โซเดียมไฮดรอกไซด์ 58 กรัม ใช้แท่งแก้วคนจนด่างละลายหมด อุณหภูมิสูงมาก ทิ้งไว้ให้เย็น ณ อุณหภูมิห้อง จะได้สารสกัดใส ไม่มีสี 4. ชั่งน้ามันมะพร้าว น้ามันปาล์ม และน้ามันมะกอกผสมในภาชนะสแตนเลส อุ่นน้ามัน 40 องศาเซลเซียส แล้ว ยกลง ทิ้งให้เย็น 5. เท 2 ลงใน 3 กวนให้เข้ากัน ใส่สารสกัดชาเขียว จนส่วนผสมเริ่มข้น คล้ายครีมสลัด ใส่น้าหอมหรือน้ามันหอม ระเหย กวนต่อ และเทลงแบบพิมพ์ 6. สบู่จะจับเป็นก้อนแข็ง ทิ้งไว้ 3 สัปดาห์ สบู่จะจับตัวสีข้น ตรวจสารวัดความเป็นกรดเป็นด่าง pH ประมาณ 8 - 9 จึงนาไปใช้ได้ สมุนไพรที่นามาเป็นส่วนผสมของสบู่ สมุนไพรที่นามาเป็นส่วนผสมของสบู่มีคุณประโยชน์ต่อผิวดังต่อไปนี้
  • 12. 12 1. ให้ความชุ่มชื้นแก่ผิวหนัง ได้แก่ ว่านหางจระเข้ ส่วนที่ใช้ วุ้นจากใบ การนามาใช้ ตัดเอาช่วงโคนใบ ล้างน้าจน ยางเหลืองหมด แช่ทิ้งไว้ 15 นาที ปอกเปลือกออกแล้วล้างวุ้นให้สะอาด นาไปใส่เครื่องปั่น กรองด้วยผ้าขาวบาง นาน้าที่ได้มาใช้ กล้วย ส่วนที่ใช้ ผลสุกนาไปตากแห้ง การนามาใช้ นาผลกล้วยสุกหั่นเป็นชิ้นบางๆ นาไปตากแดด ให้แห้ง แล้วนาไปใส่เครื่องบดหรือใช้ครกตาบด ให้เป็นผงละเอียด มะละกอ ส่วนที่ใช้ ผล การนามาใช้ นาผลสุก ปอกเปลือกและปั่นให้ละเอียด จนเป็นน้าแล้วกรองด้วยผ้าขาวบาง 2 ครั้ง ส้ม ส่วนที่ใช้ น้าคั้นจากผล การ นามาใช้ คั้นน้าจากผล แล้วกรองให้สะอาด ราข้าว ส่วนที่ใช้ ราแห้ง การนามาใช้ นาราแห้งมาบดเป็นผงละเอียด 2. มีกรดบารุงผิว ได้แก่ ส้มป่อย ส่วนที่นามาใช้ ใบ การนามาใช้ นาใบส้มป่อยล้างให้สะอาดหั่นหยาบๆ แล้ว นาไปต้มในน้า มะขาม ส่วนที่ใช้ ฝักสุก การนามาใช้ นามาขามฝักสุกมากระเทาะเปลือกออก นาไปต้มกับน้า มะนาว มะเฟือง มะดัน มะไฟ สับปะรด ส้มแขก ส่วนที่ใช้ ผลสด การนามาใช้ คั้นเอาน้าจากผลสดไม้ต้องนาไป ต้ม เอาไปใช้ได้เลย ใบบัวบก ส่วนที่ใช้ ใบสด การนามาใช้ ใช้วิธีสกัดด้วยแอลกอฮอล์ ขมิ้นชัน ส่วนที่ใช้ หัว การ นามาใช้ ใช้วิธีสกัดด้วยแอลกอฮอล์หรือนามาบดเป็นผงแห้ง 3. รักษาผิวหนังผื่นคัน ฝรั่ง ส่วนที่ใช้ ใบที่ไม่อ่อนหรือแก่จนเกินไป การนามาใช้ นาใบมาตากให้แห้ง แล้วบดเป็น ผงหรือนาใบตากแห้งแล้วมาต้ม กรองเอาแต่น้า ทับทิม, มังคุด ส่วนที่ใช้ เปลือก การนามาใช้ นาเปลือกไปตาก แห้งแล้วนามาบดเป็นผง หรือนาเปลือกไปตากแล้วมาต้มกรองเอาแต่น้า สะระแหน่ ส่วนที่ใช้ ใบ การนามาใช้ นา ใบตากแห้งแล้วบดเป็นผง หรือสกัดด้วยแอลกอฮอล์ กานพลู ส่วนที่ใช้ ดอก การนามาใช้ นาดอกไปตากแห้ง แล้ว นาไปสกัดด้วยแอลกอฮอล์ ฟ้าทลายโจร เสลดพังพอน ส่วนที่ใช้ ใบ การนามาใช้ นาใบแห้งมาสกัดด้วย แอลกอฮอล์ เหงือกปลาหมอ สามะงา ส่วนที่ใช้ ใบแห้ง การนามาใช้ นาใบแห้งมาต้มกับน้ากรอง ใบหนาด ส่วนที่ ใช้ ใบ การนามาใช้ นาใบแห้งมาสกัดด้วยแอลกอฮอล์ ว่านหางช้าง ส่วนที่ใช้ เหง้า การนามาใช้ ล้างให้สะอาด นามาต้มกับน้าแล้วกรองด้วยผ้าขาวบาง 4. ขัดผิว ขิง ขมิ้น ส่วนที่ใช้ หัว เหง้า การนามาใช้ นาเหง้าไปผึ่งให้แห้งแล้วนามาบดเป็นผง สมุนไพรที่นามาเป็นส่วนผสมของสบู่ สมุนไพรที่นามาเป็นส่วนผสมของสบู่มีคุณประโยชน์ต่อผิวดังต่อไปนี้ งบประมาณ - 500 บาท
  • 13. 13 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ 1 ขั้นตอน สัปดาห์ที่ 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 4 5 6 7 8 1 0 9 1 3 1 4 1 5                 ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) -สร้างความพึงพอใจให้กับคนที่เข้ามาดู -ให้ความรู้ในเรื่องต่างๆเกี่ยวกับดอกไม้ -ได้แสดงความรู้สึกต่างๆที่เรามีต่อธรรมชาติให้คนที่เข้ามาดูได้รับรู้ -สร้างจิตใต้สานึกให้กับคนที่เข้ามาดูรักธรรมชาติ -ให้คนที่เข้ามาดูเห็นธรรมชาติเป็นสิ่งสาคัญ วิชาที่เกียวข้อง 1.การงานอาชีพและเทคโนโลยี 12 16 17 ณัฐสิทธิ์,ธนพล นาเสนอโครงงาน สถานที่ดาเนินการ บ้านของจิรภัทร 1 1  ประเมินผลงาน 8 3 การทาเอกสารรายงาน 7 2 ผู้รับผิดชอบ     ,จิรภัทร ณัฐสิทธิ์,ธนพล ,จิรภัทร ณัฐสิทธิ์,ธนพล ,จิรภัทร ณัฐสิทธิ์,ธนพล ,จิรภัทร ณัฐสิทธิ์,ธนพล ,จิรภัทร ณัฐสิทธิ์,ธนพล ,จิรภัทร ณัฐสิทธิ์,ธนพล ,จิรภัทร ณัฐสิทธิ์,ธนพล ,จิรภัทร
  • 14. 14 2.วิทยาศาสตร์ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) https://sites.google.com/site/sbacsamui/khorng-ngan/kar-tha-sbu-smunphir