SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
1
ชื่อผลงานสิ่งประดิษฐ์ : เศษผ้าที่มีชีวิต
ชื่อผู้ประดิษฐ์ :
1. นายสุปรีชา คาต๊ะ เทคโนโลผ้าและเครื่องแต่งกาย ชั้น ปวส. 1(หัวหน้า)
2. นางสาวชุติมา โอเปีย เทคโนโลผ้าและเครื่องแต่งกาย ชั้น ปวส. 1
3. นางสาวณัฐธิดา ท้าววินาทร เทคโนโลผ้าและเครื่องแต่งกาย ชั้น ปวส. 1
4. นางสาวภาวสุทธิ์ จันทร์ประเสริฐ เทคโนโลผ้าและเครื่องแต่งกาย ชั้น ปวส. 1
5. นางสาวยุพิน ศรีชัยมูล เทคโนโลผ้าและเครื่องแต่งกาย ชั้น ปวส. 1
6. นางสาวรัตนาพร แซ่หลี เทคโนโลผ้าและเครื่องแต่งกาย ชั้น ปวส. 1
7. นางสาวศิริวรรณ ยีแจะ เทคโนโลผ้าและเครื่องแต่งกาย ชั้น ปวส. 1
ปีการศึกษา : 2555
สถานศึกษา : วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงราย
บทคัดย่อ
การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หลักชองการวิจัยอยู่ 3 ข้อ คือ 1.) เพื่อศึกษา
กระบวนการพัฒนาและแปรรูป จากเศษผ้าที่เหลือใช้ มาออกแบบ ตกแต่งเสื้อผ้า จากวัฒนธรรมการแต่ง
กายแบบเดิม ที่นิยมสวมใส่ มาหลายยุคหลายสมัย หรือเรียกว่าภูมิปัญญาด้านการแต่งกาย ให้เป็นผลิตภัณฑ์
ใหม่ 2.) เพื่อประเมินความพึงพอใจ การตกแต่ง ผลิตภัณฑ์จากเศษผ้าจนเรียกว่า “เศษผ้าทีมีชีวิต”
3.) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาให้เกิดรูปแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ ที่ใช้งานได้จริง ในชีวิตประจาวัน อย่างมี
ประสิทธิภาพ เกิดธุรกิจในเชิงพาณิชย์ การศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีขอบเขตประชากรที่ใช้ในการศึกษาจานวน
100 คน ได้แก่ บุคลากรซึ่งเป็นครูและเจ้าหน้าที่ ของวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงราย จานวน 30 คน นักเรียน
นักศึกษา ของวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงราย จานวน 70 คน รวมเป็น 100 คน การศึกษาครั้งนี้ ใช้วิธีการ
วิจัย เชิงสารวจด้ายแบบสอบถามแก่กลุ่มตัวอย่าง การศึกษาแบ่งเป็น 2 ขั้นตอน โดยขั้นตอนที่ 1 จะเป็น
การรวบรวมข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับกระบวนการออกแบบตกแต่งผลิตภัณฑ์ต้นแบบ จากนั้น นาผลิตภัณฑ์
ต้นแบบไปจัดแสดงโชว์ ในสถานศึกษา จากผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่าง มีความสนใจต่อผลิตภัณฑ์
4 อย่าง คือ เสื้อ กางเกงย้งป้าย หมวกปีกกว้าง กระเป๋าจุใจ จากการออกแบบและตกแต่งจากเศษผ้ากลุ่ม
ตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อผลิตภัณฑ์ เพราะเห็นว่า มีความสวยงาม แปลกใหม่ ส่วนขั้นตอนที่ 2 ได้นา
แบบสอบถาม ความพึงพอใจ แจกกลุ่มตัวอย่าง ได้แสดงความคิดเห็นพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็น
ผู้หญิง มีความพึงพอใจ ผลิตภัณฑ์ทั้ง 4 อย่าง คือ เสื้อ กางเกงย้งป้าย หมวกปีกกว้าง กระเป๋าจุใจ เป็น
อย่างมาก แสดงให้เห็นว่าการพัฒนาและการออกแบบตกแต่ง ผลิตภัณฑ์จากเศษผ้า หรือที่เรียกว่า “เศษผ้า
ที่มีชีวิต”ของกลุ่มนักศึกษาปวส.1 เทคโนยีผ้าและเครื่องแต่งกาย วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงราย ประสบ
ความสาเร็จ ในเชิงพัฒนาการศึกษา เรียนรู้ ด้านการออกแบบ ตกแต่งผลิตภัณฑ์ อย่างสร้างสรรค์และ
สามารถบูรณาการ การเรียน การสอน สู่ธุรกิจที่สร้างสรรค์ อย่างยั่งยืนตลอดไป จนต่อยอดการทาธุรกิจใน
เชิงพาณิชย์ได้
บทที่1
บทนา
1.1 ที่มาและความสาคัญ
2
เศษผ้าที่เหลือจากการตัดผ้าหลายครั้ง เมื่อนามารวมกัน ให้มีจานวนมาก ผ้าแต่ละขนาด แต่ละชิ้น
สีสันมีความโดดเด่น แม้กระทั้งผิวสัมผัส ที่แข็งแรงอ่อนนุ่ม เศษผ้าเหล่านี้คงเหลือมาจาก การตัดเย็บเสื้อผ้า
ทั่วไป ซึ่งเป็นหนึ่งในปัจจัยสี่ ที่จาเป็นต่อมนุษย์ทุกคน โดยเฉพาะร้านตัดเย็บเสื้อผ้าสาหรับสุภาพสตรี จะมี
เศษผ้าเหลือจาการตัดออกไปแล้ว เป็นจานวนมาก เพราะต้องสวมใสเสื้อผ้าในแต่ละโอกาส ที่แตกต่างกัน
เช่น ไปทกงาน ไม่เกี่ยว ออกงานสาคัญหรือแม้แต่ชุดอยู่บ้านหรือ ชุดนอน ผ้าจะมีสีสันสวยงาม หรือแม้แต่
ในการเย็บผ้าในโรงงานอุตสาหกรรมก็เช่นเดียวกัน เศษผ้าดังกล่าวหากถูกทอดทิ้งให้เปล่าประโยชน์ นานวัน
ก็จะเสื่อมสภาพ ไม่เกิดประโยชน์และคุณค่า จะกลายเป็นขยะและเกิดภาวะโลกร้อน จากผิวสัมผัสและสีสัน
ของเศษผ้าชิ้นใหญ่บ้าง เล็กบ้างนี้แหละทาให้กลุ่มผู้ประดิษฐ์เกิดแรงบันดาลใจ กระตุ้นจินตนาการ เกิดการ
ออกแบบ สิ่งประดิษฐ์ เช่นนาเศษผ้าหลาย ๆ สีมาตัดแล้วเย็บต่อกันจนเป็นผื่นผ้า ผืนใหญ่ จากนั้นทดลองทา
แบบตัด (Pattern) เป็นเสื้อผ้า หมวก กระเป๋า และอีกมากมาย ที่สามารถเป็นสิ่งประดิษฐ์ที่ใช้งานได้จริง ใน
ชีวิตประจาวัน จนกลายเป็นผลิตภัณฑ์ ที่มีคุณภาพ และยังสามารถเพิ่มมูลค่า ได้จากการแปรรูป จาหน่ายได้
เกิดธุรกิจผู้ประกอบการใหม่ หรือนาความรู้ออกสู่ชุมชน สร้างงาน สร้างรายได้ ลดปัญหาการว่างงาน จึง
เป็นที่มาของเศษผ้าที่มีชีวิต หรือการแปรรูป สิ่งประดิษฐ์จากเศษผ้า เพื่อลดภาวะโลกร้อน
1.2 วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษากระบวนการพัฒนาและแปรรูป จากเศษผ้าที่เหลือใช้กลับมาใช้ใหม่ ผ่านการ
ออกแบบ ตกแต่ง เสื้อผ้า โดยการนาเสื้อผ้า ที่สวมใส่กันมาหลายยุคหลายสมัย เช่น กางเกงย้ง
เสื้อคอกลมหรือคอปาด แขนเลยไหล่ ตัวเสื้อสั้น ที่เรียกว่า ภูมิปัญญา ด้านการแต่งกาย หรือ
เป็นวัฒนธรรม เรื่องการแต่งกาย มาดัดแปลง แล้วตกแต่งเพิ่มเติม
2. เพื่อประเมินความพึงพอใจ การตกแต่ง ผลิตภัณฑ์จากเศษผ้าการสร้างสรรค์ สิ่งประดิษฐ์ เพื่อ
การใช้งานได้จริง จนเรียกว่า “เศษผ้าที่มีชีวิต”
3. เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนา ให้เกิดรูปแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ ที่ใช้งานได้จริง ในชีวิตประจาวัน
อย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นผลิตภัณฑ์ เกิดธุรกิจในเชิงพาณิชย์
1.2 สมมุติฐาน
เศษผ้าที่มีชีวิต เน้นตัวหนังสือให้เข้ม เป็นชื่อของงานวิจัยครั้งนี้ มีเป้าหมายในการนาเศษผ้าที่เหลือ
จากการตัดเย็บเสื้อผ้าหลายครั้ง เศษผ้าขนาดต่างๆ จะกลายเป็นขยะทันที หากไม่นากลับมาใช้ให้เกิด
ประโยชน์ เมื่อนามาออกแบบ ตกแต่ง ประยุกต์ใช้กับเสื้อผ้ารูปแบบเดิมที่ใช้สวมใส่กันมาตลอดทุกสมัยจน
กลายเป็นวัฒนธรรมการแต่งกาย เช่น กางเกงย้ง หรือกางเกงจีน เมื่อประยุกต์ตกแต่ง เข้ากับเศษผ้าสีต่าง ๆ
ใช้เทคนิคการตัดต่อผ้า การปะติดผ้า ผสมผสานกับแนวคิด และเทคนิคการออกแบบ การตกแต่ง ได้
ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มีคุณภาพ และสามารถเพิ่มมูลค่าให้แก่ผลิตภัณฑ์นั้น ใช้งานได้จริงในชีวิตประจาวัน ไม่เกิด
ปัญหาภายหลัง ตรงกันข้ามกับความเชื่อ ทั่วไปที่คิดว่า ผลิตภัณฑ์จากเศษผ้า มักจะเกิดรอยปะติด ระหว่าง
ผ้าตัดได้ ผลิตภัณฑ์ที่ได้ไม่สวยงาม เท่าที่ควร ขาดคุณภาพหรือทาให้มูลค่าของสินค้าต่า ไม่คุ้มค่ากับเวลาที่
เสียไป และไม่เป็นที่นิยมใช้ในท้องตลาดหรือทั่วไป
1.3 ขอบเขต การวิจัย
3
ศึกษากระบวนการเกี่ยวกับการพัฒนาและแปรรูปผลิตภัณฑ์ เศษผ้า และเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์
จานวน 4 งาน คือ เสื้อ กางเกงย้ง แบบป้าย หมวกปีกกว้าง กระเป๋าจุใจ ของนักศึกษา ระดับ ปวส.1 สาขา
เทคโนโลยีผ้าและเครื่องแต่งกาย
การวิจัยเป็นเชิงสารวจด้วยการใช้แบบสอบถาม ความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อการแปรรูป
ผลิตภัณฑ์จากเศษผ้า ที่เหลือใช้ของนักศึกษา ระดับ ปวส.1 สาขาเทคโนโลยีผ้าและเครื่องแต่งกาย
วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงราย กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ บุคลากรซึ่งเป็นครูและเจ้าหน้าที่ ของวิทยาลัยอาชีวศึกษา
เชียงราย จานวน 30 คน นักเรียน นักศึกษา ของวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงราย จานวน 70 คน รวมเป็น
100 คน
ระยะเวลาใช้จากการสารวจ ใช้แบบสอบถาม 100 คน ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง 15 วัน รวบรวมข้อมูล
ทั้งหมด ทาการวิเคราะห์แบบสอบถาม ด้วยหลักสถิติ โดยใช้โปรแกรม คอมพิวเตอร์สาเร็จรูป
คาจากัดความที่ใช้ในการวิจัย
นิยามศัพท์
เศษผ้า คือ ผ้าที่เหลือจากกระบวนการตัดเย็บเสื้อผ้า ของนักศึกษาแต่ละคนที่เหลือ จากการศึกษา
ภาคปฏิบัติ ของแต่ละรายวิชา มีลักษณะเป็นชิ้นมีขนาดแตกต่างกันออกไป นามารวมกัน มีหลายหลากสี
การแปรรูปผลิตภัณฑ์ คือ การนาวัตถุดิบชนิดหนึ่งไปเปลี่ยนสภาพด้วยวิธีการต่างๆ ให้เป็น
ผลิตภัณฑ์ที่มีรูปร่างลักษณะเปลี่ยนแปลงไป โดยผลิตภัณฑ์ใหม่ยังคงมีคุณค่าของวัตถุดิบที่นามาใช้ หรืออาจ
ให้คุณค่าที่ดีกว่าเดิมการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์
ความพึงพอใจ หมายถึง ความพึงพอใจของผู้บริโภคผลิตภัณฑ์ อาจจะเป็นกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มผ็
สนใจ ต่อผลิตภัณฑ์ ที่ผ่านกระบวนการออกแบบตกแต่งจนเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ ที่ประดิษฐ์จากเศษผ้าของ
นักศึกษา ปวส.1 สาขาวิชาเทคโนโลยีผ้าและเครื่องแต่งกาย วิทยาลัยอาชีวศึกษาจังหวัดเชียงราย
ผู้บริโภคหรือกลุ่มตัวอย่าง หมายถึง ผู้ที่ตอบแบบสอบถาม หลังจากชมผลิตภัณฑ์ ที่จัดแสดงไว้
ทั้ง 4 อย่าง คือ เสื้อ กางเกงย้ง แบบป้าย หมวกปีกกว้าง กระเป๋าจุใจ และมีความสนใจ ชอบ ต่อผลิตภัณฑ์
ของนักศึกษา ปวส.1 สาขาวิชาเทคโนโลยีผ้าและเครื่องแต่งกาย วิทยาลัยอาชีวศึกษาจังหวัดเชียงราย
ข้อตกลงเบื้องต้น
นักศึกษาระดับ ปวส.1 สาขาเทคโนโลยีผ้า และเครื่องแต่งกาย ซึ่งเป็นกลุ่มผู้ประดิษฐ์ มีความรู้
ด้านการออกแบบตัดเย็บ อยู่แล้ว จึงมีการพัฒนา และประยุกต์เข้ากับเสื้อผ้าแบบดั้งเดิม ให้เป็นเสื้อผ้าและ
ส่วนประกอบ เป็นหมวกปีกใหญ่ กระเป๋า แนวใหม่ ที่ใช้งานได้จริง ในชีวิตประจาวัน ขึ้นต่อไปอาจมีการ
ผลิตเพื่อจาหน่ายและกระจายความรู้สู่ชุมชน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. ได้สิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ จากวัสดุเหลือใช้ และใช้งานในชีวิตประจาวันได้จริง
2. ช่วยลดขยะ ลดภาวะโลกร้อน ได้อย่างจริงจัง
3. ประหยัดวัตถุดิบ ช่วยอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและรักษาสิ่งแวดล้อม
4. เกิดความภาคภูมิใจผลงานตนเอง เมื่อแปลงเศษผ้าให้เป็นทรัพย์อย่างมีคุณค่า
5. ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ เกิดความสามัคคีในหมู่คณะ
4
6. สร้างผู้ประกอบการใหม่เกิดนักธุรกิจใหม่
บทที่ 2
แนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การศึกษาวิจัย เรื่องเศษผ้าที่มีชีวิต เป็นสิ่งประดิษฐ์ ประเภทภูมิปัญญาสร้างสรรค์ เศรษฐกิจ ของ
นักศึกษา ระดับ ปวส.1 สาขาเทคโนโลยี ผ้าและเครื่องแต่งกาย วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงราย
มีวัตถุประสงค์เพื่อนาเศษผ้าที่ไม่ใช้แล้ว เป็นวัสดุ เกือบจะกลายเป็นขยะ กลับมาใช้ใหม่ โดยผ่าน
กระบวนการ ออกแบบ ตกแต่ง ตัดเย็บ จนเป็นสิ่งประดิษฐ์ หรือผลิตภัณฑ์ใหม่ ใช้ประโยชน์ได้จริง จาหน่าย
ได้ พัฒนาต่อยอดให้เป็นผลิตภัณฑ์ในเชิงธุรกิจ อย่างมีคุณค่า และมีประสิทธิภาพ โดยกลุ่มผู้ศึกษาวิจัยได้
ทาการศึกษา ค้นคว้า และรวบรวมเอกสาร และงานวิจัย ที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย
1. แนวคิดเกี่ยวกับการแปรรูป จากการออกแบบตกแต่งผลิตภัณฑ์ จากเศษผ้า
2. แนวคิดเกี่ยวกับ การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ หรือสิ่งประดิษฐ์ จากเศษผ้า
3. แนวคิดการวางแผน การพัฒนาอย่างต่อเนื่องเกี่ยวกับ ผลิตภัณฑ์ หรือสิ่งประดิษฐ์จากเศษผ้า
4. แนวคิดเกี่ยวกับ ความพึงพอใจ ที่มีต่อผลิตภัณฑ์ หรือสิ่งประดิษฐ์ จากเศษผ้า จากกลุ่ม
ผู้บริโภคหรือ กลุ่มสนใจ ทั่วไป
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
เช่น การออกแบบ และการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากเศษวัสดุ และสิ่งของที่ไร้ค่า จากสิ่งของเหลือใช้
แล้วถูกนากลับมาใช้ประโยชน์ได้อีก ทั้งในรูปแบบ ของการรีไซเคิล (Recycle) นามาเป็นวัตถุดิบ ในการ
ประกอบเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ ที่ใช้งานได้ดี หรือ งานวิจัยเกี่ยวกับ การสร้างผลิตภัณฑ์ จากเศษวัสดุเก่า เพื่อ
เพิ่มมูลค่า ตามแนวพระราชดารัสปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีวัตถุประสงค์ เพื่อตอบสนอง แนวทาง พระ
ราชดารัสปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้วัสดุที่เหลือใช้ มาสร้างงานให้เกิดประโยชน์ โดยการสร้างสรรค์
ผลิตภัณฑ์จาก เศษวัสดุ ที่ไม่ใช้แล้ว เพื่อเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจ การสร้างผลิตภัณฑ์ต้นแบบ เพื่อการ
ส่งเสริมอาชีพ และสร้างรายได้ให้กับตนเอง บุคคลในครอบครัว ให้กับชุมชน หรือกลุ่มผู้ประกอบการ เพื่อ
นามาพัฒนา ให้เป็นผลิตภัณฑ์หัตถกรรม จากเศษวัสดุ ในรูปแบบของผู้วิจัย จากการที่ได้ทาการทดลอง
วิธีการสร้าง ผลิตภัณฑ์ หัตถกรรม จากเศษวัสดุ โดยมีเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสัมภาษณ์ผู้เชียวชาญ
และแบบสอบถามความพึงพอใจ โดยทาการวิเคราะห์ข้อมูลคิดเป็นร้อยละ ค่าเฉลี่ย จากการวิจัยพบว่า
ระดับความต้องการ ซื้อผลิตภัณฑ์หัตถกรรมจากเศษวัสดุ มีความต้องการซื้ออยู่ในระดับมากที่สุด คิดเป็น
ร้อยละ 80 ระดับความพึงพอใจ ต่อผลิตภัณฑ์จากเศษวัสดุ ทางด้านการออกแบบ อยู่ในระดับมากที่สุด คิด
เป็นร้อยละ 70 เป็นต้น.
บทที่ 3
วิธีดาเนินการศึกษา
5
วัตถุประสงค์ในวิธีดาเนินการศึกษาเพื่อศึกษาการสร้างเครื่องมือของกลุ่มประชากร ในการเก็บ
รวบรวมข้อมูล จากกลุ่มเป้าหมายหรือกลุ่มผู้บริโภค กลุ่มผู้สนใจ เพื่อการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ แล้วนาไป
ปรับปรุงแก้ไข
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้สนใจหรือ กลุ่มตัวอย่าง
อาจเรียกได้อีกอย่าง คือ กลุ่มผู้บริโภค ผลิตภัณฑ์จากเศษผ้า หรือเศษผ้าที่มีชีวิต ของนักศึกษาระดับ ปวส.1
สาขาเทคโนโลยี ผ้าและเครื่องแต่งกาย วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงราย
แบบสอบถาม ความพึงพอใจ ของผู้บริโภค ผู้สนใจ กลุ่มตัวอย่าง ผลิตภัณฑ์จากเศษผ้า ของ
นักศึกษาระดับ ปวส.1 สาขาเทคโนโลยี ผ้าและเครื่องแต่งกาย วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงราย แบ่งเป็น 3
ตอนดังนี้
ตอนที่ 1
ข้อมูลเบื้องต้นของผู้ตอบแบบสอบถาม ประกอบด้วย เพศ อายุ การศึกษา และสถานภาพปัจจุบัน
มีลักษณะเป็นแบบ สารวจรายการ (Check List)
ตอนที่ 2
เกี่ยวกับระดับความความคิดเห็น ของกลุ่มผู้บริโภค ผลิตภัณฑ์ จากเศษผ้า ที่มีชีวิต ของนักศึกษาระดับ
ระดับ ปวส.1 สาขาเทคโนโลยี ผ้าและเครื่องแต่งกาย วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงราย มีลักษณะเป็นมาตรา
ส่วน ประมาณค่า (Raitng Scale) มี 5 ระดับ นับตั้งแต่ เหมาะสมที่สุด จนถึง เหมาะสมน้อยที่สุด
ตอนที่ 3
แบบสอบถามแบบปลายเปิด เป็นข้อเสนอแนะ หรือ ข้อคิดเห็นเพิ่มเติม
ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือ
ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือ ผู้ศึกษาวิจัย ได้ดาเนินการดังต่อไปนี้
1. กาหนดหัวข้อที่จะทดสอบและสอบถามกลุ่มเป้าหมาย โดยให้สอดคล้องกับจุดมุ่งหมาย ของ
การศึกษา
2. นาแบบทดสอบ และแบบสอบถาม เสนอผู้เชียวชาญ เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง เที่ยงตรง ใน
ด้านภาษาและหลักวิชาการ และจึงนาไปทาการปรับปรุงแก้ไข
3. นาแบบสอบถาม ฉบับสมบูรณ์ ไม่เก็บรวบรวมข้อมูลกับกลุ่มเป้าหมาย
6
ขั้นตอนกระบวนการ ดาเนินการพัฒนา และแปรรูป ออกแบบ ตกแต่งผลิตภัณฑ์
จากเศษผ้า หรือเศษผ้าที่มีชีวิต
ขั้นเตรียม
ศึกษาข้อมูลเบื้องต้นในการดาเนินการพัฒนาและแปรรูปออกแบบ ตกแต่ง ผลิตภัณฑ์ จากผ้า โดย
นักศึกษาระดับ ระดับ ปวส.1 สาขาเทคโนโลยี ผ้าและเครื่องแต่งกาย วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงราย ร่วมกัน
ประชุม วางแผน การดาเนินโครงการผลจากการประชุม ได้ข้อสรุปเบื้องต้น เกี่ยวกับ ขั้นตอนการดาเนิน
โครงการดังนี้
แหล่งวัสดุคือเศษผ้า ต้องมีการเก็บสะสม ให้ได้ปริมาณมาก พอสมควร เพื่อการออกแบบ ตกแต่ง
ผลิตภัณฑ์ได้ อย่างเพียงพอ
เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ ในการดาเนินการ เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ มีผ้ากุ๊นสีต่าง ๆ ด้ายเย็บผ้า เข็มมือ และ
กรรไกร กระดุมทาจากกะลา ลูกปัด
ลักษณะ ประเภทของผลิตภัณฑ์ เศษผ้าที่มีชีวิต จานวน 4 ชิ้นงาน ประกอบด้วย
1. เสื้อ คอปาด แขนเลย ตัวสั้น
2. กางเกงย้งป้าย
3. หมวกปีกกว้าง
4. กระเป๋าผ้าฝ้าย
การประเมินผลการดาเนินการ ในเบื้องต้น
ขั้นดาเนินการ
1. รวบรวมเศษผ้า ให้ได้ปริมาณมาก ไม่จากัดขนาด และสีสัน
7
2. ออกแบบ ร่างแบบ ในเบื้องต้น และทาแบบตัด (Pattern)
8
3. เย็บต่อเศษผ้า คละสี ให้มีจานวน มากพอสมควร
9
4. เย็บเสื้อ และกางเกงย้ง ป้าย ตกแต่งด้วยเศษผ้า
10
5. เย็บหมวกปีกกว้าง ตกแต่งด้วยเศษผ้า
11
6. เย็บกระเป๋าจุใจ ตกแต่งด้วยเศษผ้า
7. ตกแต่งด้วย กระดุมและ ลูกปัด ทามาจากกะลา
12
13
8. งานสาเร็จ ที่เรียกว่า เศษผ้าที่มีชีวิต
14
ขั้นสรุปผล การดาเนินการทดลอง
การดาเนินการทดลอง ครั้งแรก สังเกต จากความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่าง จากคาติชม และจาก
แบบประเมิน เพื่อการปรับปรุง พัฒนาผลิตภัณฑ์ เศษผ้าที่มีชีวิต เพื่อให้เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีประสิทธิภาพดี
ในขั้นตอนต่อไป
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูล นักศึกษาทาการวิจัย ดาเนินการดังต่อไปนี้
1. กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มผู้สนใจ ในผลิตภัณฑ์ ตอบแบบสอบถามถึงความพึงพอใจผลิตภัณฑ์ จากเศษผ้า
หรือเศษผ้าที่มี่ชีวิต ของนักศึกษา ระดับ ระดับ ปวส.1 เทคโนโลยี ผ้าและเครื่องแต่งกาย วิทยาลัย
อาชีวศึกษาเชียงราย
2. กลุ่มผู้ทาวิจัย ตรวจสอบ จากแบบสอบถาม 100 ชุด และได้คืนมา จานวน 94 ชุด เมื่อพิจารณา
ปรากฏว่า มีผู้ตอบแบบสอบถาม อย่างครบถ้วน สมบูรณ์ ได้จานวน 80 ชุดเท่านั้น
การวิเคราะห์ข้อมูล
กลุ่มผู้ศึกษา ทาการวิจัย ได้นาข้อมูล จากแบบสอบถาม มาดาเนินการ วิเคราะห์ โดยการวิเคราะห์
เนื้อหา ด้วยวิธีทางสถิติ พรรณนา โดยวิเคราะห์ หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และ
ความถี่ แล้วนา ผลที่ได้ นามาเสนอ ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล ในรูปตารางประกอบคาบรรยาย
บทที่ 4
ผลการวิจัย
จากการศึกษา ครั้งนี้ สามารถแสดงผลการวิจัย และวิเคราะห์ ข้อมูลได้ดังนี้ ผลการวิเคราะห์ ความ
พึงพอใจแปรรูป ออกแบบ ตกแต่ง ผลิตภัณฑ์ จากเศษผ้า หรือเศษผ้าที่มีชีวิต
ตาราง: ค่าเฉลี่ย ( )
ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D)
ความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มผู้สนใจ กลุ่มผู้บริโภค ที่มีต่อการแปรรูป การออกแบบ ตกแต่ง
ผลิตภัณฑ์จากเศษผ้า
รายการความพึงพอใจ ระดับความพึงพอใจ แปลงค่า
S.D
1. เสื้อคอปาด แขนเลย ตัวสั้น 4.60 4.18 มากที่สุด
2. กางเกงย้งป้าย 4.80 4.24 มากที่สุด
3. หมวกปีกกว้าง 4.80 4.24 มากที่สุด
4. กระเป๋า 5.00 4.08 มากที่สุด
เฉลี่ย 4.80 4.18 มากที่สุด
จากตารางเบื้องต้น แสดงให้เห็นว่า ในภาพรวม ของระดับ ความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่าง กลุ่ม
ของผู้บริโภค ที่มีต่อการแปรรูป ผลิตภัณฑ์ เศษผ้าที่มีชีวิต อยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.78 , S.D = 4.15 )
หากพิจารณาค่าเฉลี่ย เป็นรายกิจกรรม พบว่า มีความพึงพอใจกระเป๋าผ้าจุใจ อยู่ในระดับ มากที่สุด
( = 5.00 , S.D = 4.08 ) รองลงมามีความพึงพอใจผลิตภัณฑ์ หมวกปีกกว้าง และกางเกง ย้งป้าย อยู่
ในระดับ มากที่สุด ( = 4.80 , S.D = 4.24) ส่วนอันดับสุดท้ายเป็นผลิตภัณฑ์ เสื้อคอปาด แขนเลย ตัวสั้น
( = 4.60 , S.D = 4.18 )
15
บทที่5
สรุปอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ
ผลการศึกษา จากข้อมูล เบื้องต้นของกลุ่มตัวเอง กลุ่มผู้สนใจ กลุ่มผู้บริโภค ที่มีต่อการแปรรูป
ผลิตภัณฑ์ หรือเศษผ้าที่มีชีวิต พบว่า กลุ่มตัวอย่าง ที่ทาการศึกษา ส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิง มีอายุ ระหว่าง
17-57 ปี มีสถานะ โสด ระดับการศึกษา คือ ปวช.และ ปวส. อาชีพ นักเรียน นักศึกษา , รับราชการ กลุ่ม
ตัวอย่างหรือผู้ที่สนใจ ผู้บริโภค ส่วนใหญ่เห็นว่าผลิตภัณฑ์ ที่เรียกว่าเศษผ้าที่มีชีวิต มีการออกแบบที่
สวยงาม สะดุดตา มีความคิดสร้างสรรค์ เป็นอันดับ 1 จากคุณภาพ ของผลิตภัณฑ์ เป็นอันดับ 2 และจาก
การใช้งานได้ดี เป็นอันดับ 3 ตามลาดับ กลุ่มตัวอย่างยังมีความคิดเห็น ว่า ผลิตภัณฑ์ต้นแบบมีความสวย
เด่น มีความคิดสร้างสรรค์ อยู่ในระดับมาก ความเหมาะสม ของการนาเทคนิคการตัดต่อเศษผ้า และการ
เย็บปะติดผ้า เพื่อการตกแต่ง มาใช้ในการแปรรูป เข้ากับผลิตภัณฑ์ ที่ออกแบบมาได้อย่างสวยงาม
เหมาะสม แปลกใหม่ อยู่ในระดับมากที่สุด อีกทั้งสอบถาม ราคากระเป๋าสะพาย ใบใหญ่ และขอซื้อมาก
ที่สุด เท่ากับว่า สามารถพัฒนาสู่เชิงพาณิชย์ได้
ข้อเสนอแนะ
ส่วนใหญ่ เห็นว่า ควรมีการเผยแพร่ เทคนิคการตัดเย็บ ต่อ ตกแต่ง การเย็บปะติดผ้า รวมถึงวิธีการ
ในการจัดทาเป็นผลิตภัณฑ์ต้นแบบ ที่ได้จากการ แปรรูปจากเศษผ้า จริง ๆ และกลุ่มตัวอย่าง ยังแนะนา ให้
มีการ ผลิต จานวนมาก เพื่อการจาหน่าย และมีรูปแบบผลิตภัณฑ์ จากเศษผ้าประเภทอื่นๆ อีก ควรมี
การพัฒนาต่อ เพื่อให้เกิดการขยายความรู้สู่ชุมชน หรือกลุ่มผู้สนใจ เพราะเห็นประโยชน์และคุณค่าจากเศษ
ผ้า นี้แหละที่เรียกว่า “เศษผ้าที่มีชีวิต”

More Related Content

Similar to 1309240992911393 1309300110829

เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”กอฟ กอฟ
 
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้citylong117
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1Lift Ohm'
 
2559 project ผ้าปักม้ง
2559 project ผ้าปักม้ง2559 project ผ้าปักม้ง
2559 project ผ้าปักม้งarisanoodee
 
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนKruanchalee
 
การศึกษาเรื่องการซ่อมแซม ดัดแปลงเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย สามารถแบ่งออกได้ดังนี้
การศึกษาเรื่องการซ่อมแซม ดัดแปลงเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย สามารถแบ่งออกได้ดังนี้การศึกษาเรื่องการซ่อมแซม ดัดแปลงเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย สามารถแบ่งออกได้ดังนี้
การศึกษาเรื่องการซ่อมแซม ดัดแปลงเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย สามารถแบ่งออกได้ดังนี้Wanlop Chimpalee
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียนKay Pakham
 
โครงงานลายผ้าไหมไทย
โครงงานลายผ้าไหมไทยโครงงานลายผ้าไหมไทย
โครงงานลายผ้าไหมไทยPapatchaya Jakchaisin
 
Presentation "คุรุสดุดี ประจำปี 2557"
Presentation "คุรุสดุดี ประจำปี 2557" Presentation "คุรุสดุดี ประจำปี 2557"
Presentation "คุรุสดุดี ประจำปี 2557" Pinmanas Kotcha
 
โครงงานกลุ่มที่ 6
โครงงานกลุ่มที่ 6โครงงานกลุ่มที่ 6
โครงงานกลุ่มที่ 60892827602
 

Similar to 1309240992911393 1309300110829 (20)

เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”
 
66
6666
66
 
ใบงานที่10
ใบงานที่10ใบงานที่10
ใบงานที่10
 
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
 
คอมมิ้น
คอมมิ้นคอมมิ้น
คอมมิ้น
 
คอมมิ้น
คอมมิ้นคอมมิ้น
คอมมิ้น
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
2559 project ผ้าปักม้ง
2559 project ผ้าปักม้ง2559 project ผ้าปักม้ง
2559 project ผ้าปักม้ง
 
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
การศึกษาเรื่องการซ่อมแซม ดัดแปลงเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย สามารถแบ่งออกได้ดังนี้
การศึกษาเรื่องการซ่อมแซม ดัดแปลงเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย สามารถแบ่งออกได้ดังนี้การศึกษาเรื่องการซ่อมแซม ดัดแปลงเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย สามารถแบ่งออกได้ดังนี้
การศึกษาเรื่องการซ่อมแซม ดัดแปลงเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย สามารถแบ่งออกได้ดังนี้
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียน
 
34355599
3435559934355599
34355599
 
กระดาษกล้วย
กระดาษกล้วยกระดาษกล้วย
กระดาษกล้วย
 
โครงงานลายผ้าไหมไทย
โครงงานลายผ้าไหมไทยโครงงานลายผ้าไหมไทย
โครงงานลายผ้าไหมไทย
 
Presentation "คุรุสดุดี ประจำปี 2557"
Presentation "คุรุสดุดี ประจำปี 2557" Presentation "คุรุสดุดี ประจำปี 2557"
Presentation "คุรุสดุดี ประจำปี 2557"
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
โครงงานกลุ่มที่ 6
โครงงานกลุ่มที่ 6โครงงานกลุ่มที่ 6
โครงงานกลุ่มที่ 6
 
โครงงานกลุ่มที่ 6.doc
โครงงานกลุ่มที่ 6.docโครงงานกลุ่มที่ 6.doc
โครงงานกลุ่มที่ 6.doc
 
Pre o-net job3
Pre o-net job3Pre o-net job3
Pre o-net job3
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11
 

1309240992911393 1309300110829

  • 1. 1 ชื่อผลงานสิ่งประดิษฐ์ : เศษผ้าที่มีชีวิต ชื่อผู้ประดิษฐ์ : 1. นายสุปรีชา คาต๊ะ เทคโนโลผ้าและเครื่องแต่งกาย ชั้น ปวส. 1(หัวหน้า) 2. นางสาวชุติมา โอเปีย เทคโนโลผ้าและเครื่องแต่งกาย ชั้น ปวส. 1 3. นางสาวณัฐธิดา ท้าววินาทร เทคโนโลผ้าและเครื่องแต่งกาย ชั้น ปวส. 1 4. นางสาวภาวสุทธิ์ จันทร์ประเสริฐ เทคโนโลผ้าและเครื่องแต่งกาย ชั้น ปวส. 1 5. นางสาวยุพิน ศรีชัยมูล เทคโนโลผ้าและเครื่องแต่งกาย ชั้น ปวส. 1 6. นางสาวรัตนาพร แซ่หลี เทคโนโลผ้าและเครื่องแต่งกาย ชั้น ปวส. 1 7. นางสาวศิริวรรณ ยีแจะ เทคโนโลผ้าและเครื่องแต่งกาย ชั้น ปวส. 1 ปีการศึกษา : 2555 สถานศึกษา : วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงราย บทคัดย่อ การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หลักชองการวิจัยอยู่ 3 ข้อ คือ 1.) เพื่อศึกษา กระบวนการพัฒนาและแปรรูป จากเศษผ้าที่เหลือใช้ มาออกแบบ ตกแต่งเสื้อผ้า จากวัฒนธรรมการแต่ง กายแบบเดิม ที่นิยมสวมใส่ มาหลายยุคหลายสมัย หรือเรียกว่าภูมิปัญญาด้านการแต่งกาย ให้เป็นผลิตภัณฑ์ ใหม่ 2.) เพื่อประเมินความพึงพอใจ การตกแต่ง ผลิตภัณฑ์จากเศษผ้าจนเรียกว่า “เศษผ้าทีมีชีวิต” 3.) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาให้เกิดรูปแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ ที่ใช้งานได้จริง ในชีวิตประจาวัน อย่างมี ประสิทธิภาพ เกิดธุรกิจในเชิงพาณิชย์ การศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีขอบเขตประชากรที่ใช้ในการศึกษาจานวน 100 คน ได้แก่ บุคลากรซึ่งเป็นครูและเจ้าหน้าที่ ของวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงราย จานวน 30 คน นักเรียน นักศึกษา ของวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงราย จานวน 70 คน รวมเป็น 100 คน การศึกษาครั้งนี้ ใช้วิธีการ วิจัย เชิงสารวจด้ายแบบสอบถามแก่กลุ่มตัวอย่าง การศึกษาแบ่งเป็น 2 ขั้นตอน โดยขั้นตอนที่ 1 จะเป็น การรวบรวมข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับกระบวนการออกแบบตกแต่งผลิตภัณฑ์ต้นแบบ จากนั้น นาผลิตภัณฑ์ ต้นแบบไปจัดแสดงโชว์ ในสถานศึกษา จากผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่าง มีความสนใจต่อผลิตภัณฑ์ 4 อย่าง คือ เสื้อ กางเกงย้งป้าย หมวกปีกกว้าง กระเป๋าจุใจ จากการออกแบบและตกแต่งจากเศษผ้ากลุ่ม ตัวอย่างมีความพึงพอใจต่อผลิตภัณฑ์ เพราะเห็นว่า มีความสวยงาม แปลกใหม่ ส่วนขั้นตอนที่ 2 ได้นา แบบสอบถาม ความพึงพอใจ แจกกลุ่มตัวอย่าง ได้แสดงความคิดเห็นพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็น ผู้หญิง มีความพึงพอใจ ผลิตภัณฑ์ทั้ง 4 อย่าง คือ เสื้อ กางเกงย้งป้าย หมวกปีกกว้าง กระเป๋าจุใจ เป็น อย่างมาก แสดงให้เห็นว่าการพัฒนาและการออกแบบตกแต่ง ผลิตภัณฑ์จากเศษผ้า หรือที่เรียกว่า “เศษผ้า ที่มีชีวิต”ของกลุ่มนักศึกษาปวส.1 เทคโนยีผ้าและเครื่องแต่งกาย วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงราย ประสบ ความสาเร็จ ในเชิงพัฒนาการศึกษา เรียนรู้ ด้านการออกแบบ ตกแต่งผลิตภัณฑ์ อย่างสร้างสรรค์และ สามารถบูรณาการ การเรียน การสอน สู่ธุรกิจที่สร้างสรรค์ อย่างยั่งยืนตลอดไป จนต่อยอดการทาธุรกิจใน เชิงพาณิชย์ได้ บทที่1 บทนา 1.1 ที่มาและความสาคัญ
  • 2. 2 เศษผ้าที่เหลือจากการตัดผ้าหลายครั้ง เมื่อนามารวมกัน ให้มีจานวนมาก ผ้าแต่ละขนาด แต่ละชิ้น สีสันมีความโดดเด่น แม้กระทั้งผิวสัมผัส ที่แข็งแรงอ่อนนุ่ม เศษผ้าเหล่านี้คงเหลือมาจาก การตัดเย็บเสื้อผ้า ทั่วไป ซึ่งเป็นหนึ่งในปัจจัยสี่ ที่จาเป็นต่อมนุษย์ทุกคน โดยเฉพาะร้านตัดเย็บเสื้อผ้าสาหรับสุภาพสตรี จะมี เศษผ้าเหลือจาการตัดออกไปแล้ว เป็นจานวนมาก เพราะต้องสวมใสเสื้อผ้าในแต่ละโอกาส ที่แตกต่างกัน เช่น ไปทกงาน ไม่เกี่ยว ออกงานสาคัญหรือแม้แต่ชุดอยู่บ้านหรือ ชุดนอน ผ้าจะมีสีสันสวยงาม หรือแม้แต่ ในการเย็บผ้าในโรงงานอุตสาหกรรมก็เช่นเดียวกัน เศษผ้าดังกล่าวหากถูกทอดทิ้งให้เปล่าประโยชน์ นานวัน ก็จะเสื่อมสภาพ ไม่เกิดประโยชน์และคุณค่า จะกลายเป็นขยะและเกิดภาวะโลกร้อน จากผิวสัมผัสและสีสัน ของเศษผ้าชิ้นใหญ่บ้าง เล็กบ้างนี้แหละทาให้กลุ่มผู้ประดิษฐ์เกิดแรงบันดาลใจ กระตุ้นจินตนาการ เกิดการ ออกแบบ สิ่งประดิษฐ์ เช่นนาเศษผ้าหลาย ๆ สีมาตัดแล้วเย็บต่อกันจนเป็นผื่นผ้า ผืนใหญ่ จากนั้นทดลองทา แบบตัด (Pattern) เป็นเสื้อผ้า หมวก กระเป๋า และอีกมากมาย ที่สามารถเป็นสิ่งประดิษฐ์ที่ใช้งานได้จริง ใน ชีวิตประจาวัน จนกลายเป็นผลิตภัณฑ์ ที่มีคุณภาพ และยังสามารถเพิ่มมูลค่า ได้จากการแปรรูป จาหน่ายได้ เกิดธุรกิจผู้ประกอบการใหม่ หรือนาความรู้ออกสู่ชุมชน สร้างงาน สร้างรายได้ ลดปัญหาการว่างงาน จึง เป็นที่มาของเศษผ้าที่มีชีวิต หรือการแปรรูป สิ่งประดิษฐ์จากเศษผ้า เพื่อลดภาวะโลกร้อน 1.2 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษากระบวนการพัฒนาและแปรรูป จากเศษผ้าที่เหลือใช้กลับมาใช้ใหม่ ผ่านการ ออกแบบ ตกแต่ง เสื้อผ้า โดยการนาเสื้อผ้า ที่สวมใส่กันมาหลายยุคหลายสมัย เช่น กางเกงย้ง เสื้อคอกลมหรือคอปาด แขนเลยไหล่ ตัวเสื้อสั้น ที่เรียกว่า ภูมิปัญญา ด้านการแต่งกาย หรือ เป็นวัฒนธรรม เรื่องการแต่งกาย มาดัดแปลง แล้วตกแต่งเพิ่มเติม 2. เพื่อประเมินความพึงพอใจ การตกแต่ง ผลิตภัณฑ์จากเศษผ้าการสร้างสรรค์ สิ่งประดิษฐ์ เพื่อ การใช้งานได้จริง จนเรียกว่า “เศษผ้าที่มีชีวิต” 3. เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนา ให้เกิดรูปแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ ที่ใช้งานได้จริง ในชีวิตประจาวัน อย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นผลิตภัณฑ์ เกิดธุรกิจในเชิงพาณิชย์ 1.2 สมมุติฐาน เศษผ้าที่มีชีวิต เน้นตัวหนังสือให้เข้ม เป็นชื่อของงานวิจัยครั้งนี้ มีเป้าหมายในการนาเศษผ้าที่เหลือ จากการตัดเย็บเสื้อผ้าหลายครั้ง เศษผ้าขนาดต่างๆ จะกลายเป็นขยะทันที หากไม่นากลับมาใช้ให้เกิด ประโยชน์ เมื่อนามาออกแบบ ตกแต่ง ประยุกต์ใช้กับเสื้อผ้ารูปแบบเดิมที่ใช้สวมใส่กันมาตลอดทุกสมัยจน กลายเป็นวัฒนธรรมการแต่งกาย เช่น กางเกงย้ง หรือกางเกงจีน เมื่อประยุกต์ตกแต่ง เข้ากับเศษผ้าสีต่าง ๆ ใช้เทคนิคการตัดต่อผ้า การปะติดผ้า ผสมผสานกับแนวคิด และเทคนิคการออกแบบ การตกแต่ง ได้ ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มีคุณภาพ และสามารถเพิ่มมูลค่าให้แก่ผลิตภัณฑ์นั้น ใช้งานได้จริงในชีวิตประจาวัน ไม่เกิด ปัญหาภายหลัง ตรงกันข้ามกับความเชื่อ ทั่วไปที่คิดว่า ผลิตภัณฑ์จากเศษผ้า มักจะเกิดรอยปะติด ระหว่าง ผ้าตัดได้ ผลิตภัณฑ์ที่ได้ไม่สวยงาม เท่าที่ควร ขาดคุณภาพหรือทาให้มูลค่าของสินค้าต่า ไม่คุ้มค่ากับเวลาที่ เสียไป และไม่เป็นที่นิยมใช้ในท้องตลาดหรือทั่วไป 1.3 ขอบเขต การวิจัย
  • 3. 3 ศึกษากระบวนการเกี่ยวกับการพัฒนาและแปรรูปผลิตภัณฑ์ เศษผ้า และเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์ จานวน 4 งาน คือ เสื้อ กางเกงย้ง แบบป้าย หมวกปีกกว้าง กระเป๋าจุใจ ของนักศึกษา ระดับ ปวส.1 สาขา เทคโนโลยีผ้าและเครื่องแต่งกาย การวิจัยเป็นเชิงสารวจด้วยการใช้แบบสอบถาม ความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อการแปรรูป ผลิตภัณฑ์จากเศษผ้า ที่เหลือใช้ของนักศึกษา ระดับ ปวส.1 สาขาเทคโนโลยีผ้าและเครื่องแต่งกาย วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงราย กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ บุคลากรซึ่งเป็นครูและเจ้าหน้าที่ ของวิทยาลัยอาชีวศึกษา เชียงราย จานวน 30 คน นักเรียน นักศึกษา ของวิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงราย จานวน 70 คน รวมเป็น 100 คน ระยะเวลาใช้จากการสารวจ ใช้แบบสอบถาม 100 คน ที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง 15 วัน รวบรวมข้อมูล ทั้งหมด ทาการวิเคราะห์แบบสอบถาม ด้วยหลักสถิติ โดยใช้โปรแกรม คอมพิวเตอร์สาเร็จรูป คาจากัดความที่ใช้ในการวิจัย นิยามศัพท์ เศษผ้า คือ ผ้าที่เหลือจากกระบวนการตัดเย็บเสื้อผ้า ของนักศึกษาแต่ละคนที่เหลือ จากการศึกษา ภาคปฏิบัติ ของแต่ละรายวิชา มีลักษณะเป็นชิ้นมีขนาดแตกต่างกันออกไป นามารวมกัน มีหลายหลากสี การแปรรูปผลิตภัณฑ์ คือ การนาวัตถุดิบชนิดหนึ่งไปเปลี่ยนสภาพด้วยวิธีการต่างๆ ให้เป็น ผลิตภัณฑ์ที่มีรูปร่างลักษณะเปลี่ยนแปลงไป โดยผลิตภัณฑ์ใหม่ยังคงมีคุณค่าของวัตถุดิบที่นามาใช้ หรืออาจ ให้คุณค่าที่ดีกว่าเดิมการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ ความพึงพอใจ หมายถึง ความพึงพอใจของผู้บริโภคผลิตภัณฑ์ อาจจะเป็นกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มผ็ สนใจ ต่อผลิตภัณฑ์ ที่ผ่านกระบวนการออกแบบตกแต่งจนเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ ที่ประดิษฐ์จากเศษผ้าของ นักศึกษา ปวส.1 สาขาวิชาเทคโนโลยีผ้าและเครื่องแต่งกาย วิทยาลัยอาชีวศึกษาจังหวัดเชียงราย ผู้บริโภคหรือกลุ่มตัวอย่าง หมายถึง ผู้ที่ตอบแบบสอบถาม หลังจากชมผลิตภัณฑ์ ที่จัดแสดงไว้ ทั้ง 4 อย่าง คือ เสื้อ กางเกงย้ง แบบป้าย หมวกปีกกว้าง กระเป๋าจุใจ และมีความสนใจ ชอบ ต่อผลิตภัณฑ์ ของนักศึกษา ปวส.1 สาขาวิชาเทคโนโลยีผ้าและเครื่องแต่งกาย วิทยาลัยอาชีวศึกษาจังหวัดเชียงราย ข้อตกลงเบื้องต้น นักศึกษาระดับ ปวส.1 สาขาเทคโนโลยีผ้า และเครื่องแต่งกาย ซึ่งเป็นกลุ่มผู้ประดิษฐ์ มีความรู้ ด้านการออกแบบตัดเย็บ อยู่แล้ว จึงมีการพัฒนา และประยุกต์เข้ากับเสื้อผ้าแบบดั้งเดิม ให้เป็นเสื้อผ้าและ ส่วนประกอบ เป็นหมวกปีกใหญ่ กระเป๋า แนวใหม่ ที่ใช้งานได้จริง ในชีวิตประจาวัน ขึ้นต่อไปอาจมีการ ผลิตเพื่อจาหน่ายและกระจายความรู้สู่ชุมชน ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้สิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ จากวัสดุเหลือใช้ และใช้งานในชีวิตประจาวันได้จริง 2. ช่วยลดขยะ ลดภาวะโลกร้อน ได้อย่างจริงจัง 3. ประหยัดวัตถุดิบ ช่วยอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและรักษาสิ่งแวดล้อม 4. เกิดความภาคภูมิใจผลงานตนเอง เมื่อแปลงเศษผ้าให้เป็นทรัพย์อย่างมีคุณค่า 5. ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ เกิดความสามัคคีในหมู่คณะ
  • 4. 4 6. สร้างผู้ประกอบการใหม่เกิดนักธุรกิจใหม่ บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การศึกษาวิจัย เรื่องเศษผ้าที่มีชีวิต เป็นสิ่งประดิษฐ์ ประเภทภูมิปัญญาสร้างสรรค์ เศรษฐกิจ ของ นักศึกษา ระดับ ปวส.1 สาขาเทคโนโลยี ผ้าและเครื่องแต่งกาย วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงราย มีวัตถุประสงค์เพื่อนาเศษผ้าที่ไม่ใช้แล้ว เป็นวัสดุ เกือบจะกลายเป็นขยะ กลับมาใช้ใหม่ โดยผ่าน กระบวนการ ออกแบบ ตกแต่ง ตัดเย็บ จนเป็นสิ่งประดิษฐ์ หรือผลิตภัณฑ์ใหม่ ใช้ประโยชน์ได้จริง จาหน่าย ได้ พัฒนาต่อยอดให้เป็นผลิตภัณฑ์ในเชิงธุรกิจ อย่างมีคุณค่า และมีประสิทธิภาพ โดยกลุ่มผู้ศึกษาวิจัยได้ ทาการศึกษา ค้นคว้า และรวบรวมเอกสาร และงานวิจัย ที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย 1. แนวคิดเกี่ยวกับการแปรรูป จากการออกแบบตกแต่งผลิตภัณฑ์ จากเศษผ้า 2. แนวคิดเกี่ยวกับ การเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ หรือสิ่งประดิษฐ์ จากเศษผ้า 3. แนวคิดการวางแผน การพัฒนาอย่างต่อเนื่องเกี่ยวกับ ผลิตภัณฑ์ หรือสิ่งประดิษฐ์จากเศษผ้า 4. แนวคิดเกี่ยวกับ ความพึงพอใจ ที่มีต่อผลิตภัณฑ์ หรือสิ่งประดิษฐ์ จากเศษผ้า จากกลุ่ม ผู้บริโภคหรือ กลุ่มสนใจ ทั่วไป งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เช่น การออกแบบ และการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากเศษวัสดุ และสิ่งของที่ไร้ค่า จากสิ่งของเหลือใช้ แล้วถูกนากลับมาใช้ประโยชน์ได้อีก ทั้งในรูปแบบ ของการรีไซเคิล (Recycle) นามาเป็นวัตถุดิบ ในการ ประกอบเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ ที่ใช้งานได้ดี หรือ งานวิจัยเกี่ยวกับ การสร้างผลิตภัณฑ์ จากเศษวัสดุเก่า เพื่อ เพิ่มมูลค่า ตามแนวพระราชดารัสปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีวัตถุประสงค์ เพื่อตอบสนอง แนวทาง พระ ราชดารัสปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้วัสดุที่เหลือใช้ มาสร้างงานให้เกิดประโยชน์ โดยการสร้างสรรค์ ผลิตภัณฑ์จาก เศษวัสดุ ที่ไม่ใช้แล้ว เพื่อเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจ การสร้างผลิตภัณฑ์ต้นแบบ เพื่อการ ส่งเสริมอาชีพ และสร้างรายได้ให้กับตนเอง บุคคลในครอบครัว ให้กับชุมชน หรือกลุ่มผู้ประกอบการ เพื่อ นามาพัฒนา ให้เป็นผลิตภัณฑ์หัตถกรรม จากเศษวัสดุ ในรูปแบบของผู้วิจัย จากการที่ได้ทาการทดลอง วิธีการสร้าง ผลิตภัณฑ์ หัตถกรรม จากเศษวัสดุ โดยมีเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสัมภาษณ์ผู้เชียวชาญ และแบบสอบถามความพึงพอใจ โดยทาการวิเคราะห์ข้อมูลคิดเป็นร้อยละ ค่าเฉลี่ย จากการวิจัยพบว่า ระดับความต้องการ ซื้อผลิตภัณฑ์หัตถกรรมจากเศษวัสดุ มีความต้องการซื้ออยู่ในระดับมากที่สุด คิดเป็น ร้อยละ 80 ระดับความพึงพอใจ ต่อผลิตภัณฑ์จากเศษวัสดุ ทางด้านการออกแบบ อยู่ในระดับมากที่สุด คิด เป็นร้อยละ 70 เป็นต้น. บทที่ 3 วิธีดาเนินการศึกษา
  • 5. 5 วัตถุประสงค์ในวิธีดาเนินการศึกษาเพื่อศึกษาการสร้างเครื่องมือของกลุ่มประชากร ในการเก็บ รวบรวมข้อมูล จากกลุ่มเป้าหมายหรือกลุ่มผู้บริโภค กลุ่มผู้สนใจ เพื่อการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ แล้วนาไป ปรับปรุงแก้ไข เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้สนใจหรือ กลุ่มตัวอย่าง อาจเรียกได้อีกอย่าง คือ กลุ่มผู้บริโภค ผลิตภัณฑ์จากเศษผ้า หรือเศษผ้าที่มีชีวิต ของนักศึกษาระดับ ปวส.1 สาขาเทคโนโลยี ผ้าและเครื่องแต่งกาย วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงราย แบบสอบถาม ความพึงพอใจ ของผู้บริโภค ผู้สนใจ กลุ่มตัวอย่าง ผลิตภัณฑ์จากเศษผ้า ของ นักศึกษาระดับ ปวส.1 สาขาเทคโนโลยี ผ้าและเครื่องแต่งกาย วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงราย แบ่งเป็น 3 ตอนดังนี้ ตอนที่ 1 ข้อมูลเบื้องต้นของผู้ตอบแบบสอบถาม ประกอบด้วย เพศ อายุ การศึกษา และสถานภาพปัจจุบัน มีลักษณะเป็นแบบ สารวจรายการ (Check List) ตอนที่ 2 เกี่ยวกับระดับความความคิดเห็น ของกลุ่มผู้บริโภค ผลิตภัณฑ์ จากเศษผ้า ที่มีชีวิต ของนักศึกษาระดับ ระดับ ปวส.1 สาขาเทคโนโลยี ผ้าและเครื่องแต่งกาย วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงราย มีลักษณะเป็นมาตรา ส่วน ประมาณค่า (Raitng Scale) มี 5 ระดับ นับตั้งแต่ เหมาะสมที่สุด จนถึง เหมาะสมน้อยที่สุด ตอนที่ 3 แบบสอบถามแบบปลายเปิด เป็นข้อเสนอแนะ หรือ ข้อคิดเห็นเพิ่มเติม ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือ ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือ ผู้ศึกษาวิจัย ได้ดาเนินการดังต่อไปนี้ 1. กาหนดหัวข้อที่จะทดสอบและสอบถามกลุ่มเป้าหมาย โดยให้สอดคล้องกับจุดมุ่งหมาย ของ การศึกษา 2. นาแบบทดสอบ และแบบสอบถาม เสนอผู้เชียวชาญ เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง เที่ยงตรง ใน ด้านภาษาและหลักวิชาการ และจึงนาไปทาการปรับปรุงแก้ไข 3. นาแบบสอบถาม ฉบับสมบูรณ์ ไม่เก็บรวบรวมข้อมูลกับกลุ่มเป้าหมาย
  • 6. 6 ขั้นตอนกระบวนการ ดาเนินการพัฒนา และแปรรูป ออกแบบ ตกแต่งผลิตภัณฑ์ จากเศษผ้า หรือเศษผ้าที่มีชีวิต ขั้นเตรียม ศึกษาข้อมูลเบื้องต้นในการดาเนินการพัฒนาและแปรรูปออกแบบ ตกแต่ง ผลิตภัณฑ์ จากผ้า โดย นักศึกษาระดับ ระดับ ปวส.1 สาขาเทคโนโลยี ผ้าและเครื่องแต่งกาย วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงราย ร่วมกัน ประชุม วางแผน การดาเนินโครงการผลจากการประชุม ได้ข้อสรุปเบื้องต้น เกี่ยวกับ ขั้นตอนการดาเนิน โครงการดังนี้ แหล่งวัสดุคือเศษผ้า ต้องมีการเก็บสะสม ให้ได้ปริมาณมาก พอสมควร เพื่อการออกแบบ ตกแต่ง ผลิตภัณฑ์ได้ อย่างเพียงพอ เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ ในการดาเนินการ เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ มีผ้ากุ๊นสีต่าง ๆ ด้ายเย็บผ้า เข็มมือ และ กรรไกร กระดุมทาจากกะลา ลูกปัด ลักษณะ ประเภทของผลิตภัณฑ์ เศษผ้าที่มีชีวิต จานวน 4 ชิ้นงาน ประกอบด้วย 1. เสื้อ คอปาด แขนเลย ตัวสั้น 2. กางเกงย้งป้าย 3. หมวกปีกกว้าง 4. กระเป๋าผ้าฝ้าย การประเมินผลการดาเนินการ ในเบื้องต้น ขั้นดาเนินการ 1. รวบรวมเศษผ้า ให้ได้ปริมาณมาก ไม่จากัดขนาด และสีสัน
  • 7. 7 2. ออกแบบ ร่างแบบ ในเบื้องต้น และทาแบบตัด (Pattern)
  • 8. 8 3. เย็บต่อเศษผ้า คละสี ให้มีจานวน มากพอสมควร
  • 9. 9 4. เย็บเสื้อ และกางเกงย้ง ป้าย ตกแต่งด้วยเศษผ้า
  • 11. 11 6. เย็บกระเป๋าจุใจ ตกแต่งด้วยเศษผ้า 7. ตกแต่งด้วย กระดุมและ ลูกปัด ทามาจากกะลา
  • 12. 12
  • 13. 13 8. งานสาเร็จ ที่เรียกว่า เศษผ้าที่มีชีวิต
  • 14. 14 ขั้นสรุปผล การดาเนินการทดลอง การดาเนินการทดลอง ครั้งแรก สังเกต จากความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่าง จากคาติชม และจาก แบบประเมิน เพื่อการปรับปรุง พัฒนาผลิตภัณฑ์ เศษผ้าที่มีชีวิต เพื่อให้เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีประสิทธิภาพดี ในขั้นตอนต่อไป การเก็บรวบรวมข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูล นักศึกษาทาการวิจัย ดาเนินการดังต่อไปนี้ 1. กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มผู้สนใจ ในผลิตภัณฑ์ ตอบแบบสอบถามถึงความพึงพอใจผลิตภัณฑ์ จากเศษผ้า หรือเศษผ้าที่มี่ชีวิต ของนักศึกษา ระดับ ระดับ ปวส.1 เทคโนโลยี ผ้าและเครื่องแต่งกาย วิทยาลัย อาชีวศึกษาเชียงราย 2. กลุ่มผู้ทาวิจัย ตรวจสอบ จากแบบสอบถาม 100 ชุด และได้คืนมา จานวน 94 ชุด เมื่อพิจารณา ปรากฏว่า มีผู้ตอบแบบสอบถาม อย่างครบถ้วน สมบูรณ์ ได้จานวน 80 ชุดเท่านั้น การวิเคราะห์ข้อมูล กลุ่มผู้ศึกษา ทาการวิจัย ได้นาข้อมูล จากแบบสอบถาม มาดาเนินการ วิเคราะห์ โดยการวิเคราะห์ เนื้อหา ด้วยวิธีทางสถิติ พรรณนา โดยวิเคราะห์ หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และ ความถี่ แล้วนา ผลที่ได้ นามาเสนอ ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล ในรูปตารางประกอบคาบรรยาย บทที่ 4 ผลการวิจัย จากการศึกษา ครั้งนี้ สามารถแสดงผลการวิจัย และวิเคราะห์ ข้อมูลได้ดังนี้ ผลการวิเคราะห์ ความ พึงพอใจแปรรูป ออกแบบ ตกแต่ง ผลิตภัณฑ์ จากเศษผ้า หรือเศษผ้าที่มีชีวิต ตาราง: ค่าเฉลี่ย ( ) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) ความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มผู้สนใจ กลุ่มผู้บริโภค ที่มีต่อการแปรรูป การออกแบบ ตกแต่ง ผลิตภัณฑ์จากเศษผ้า รายการความพึงพอใจ ระดับความพึงพอใจ แปลงค่า S.D 1. เสื้อคอปาด แขนเลย ตัวสั้น 4.60 4.18 มากที่สุด 2. กางเกงย้งป้าย 4.80 4.24 มากที่สุด 3. หมวกปีกกว้าง 4.80 4.24 มากที่สุด 4. กระเป๋า 5.00 4.08 มากที่สุด เฉลี่ย 4.80 4.18 มากที่สุด จากตารางเบื้องต้น แสดงให้เห็นว่า ในภาพรวม ของระดับ ความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่าง กลุ่ม ของผู้บริโภค ที่มีต่อการแปรรูป ผลิตภัณฑ์ เศษผ้าที่มีชีวิต อยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.78 , S.D = 4.15 ) หากพิจารณาค่าเฉลี่ย เป็นรายกิจกรรม พบว่า มีความพึงพอใจกระเป๋าผ้าจุใจ อยู่ในระดับ มากที่สุด ( = 5.00 , S.D = 4.08 ) รองลงมามีความพึงพอใจผลิตภัณฑ์ หมวกปีกกว้าง และกางเกง ย้งป้าย อยู่ ในระดับ มากที่สุด ( = 4.80 , S.D = 4.24) ส่วนอันดับสุดท้ายเป็นผลิตภัณฑ์ เสื้อคอปาด แขนเลย ตัวสั้น ( = 4.60 , S.D = 4.18 )
  • 15. 15 บทที่5 สรุปอภิปรายผลและข้อเสนอแนะ ผลการศึกษา จากข้อมูล เบื้องต้นของกลุ่มตัวเอง กลุ่มผู้สนใจ กลุ่มผู้บริโภค ที่มีต่อการแปรรูป ผลิตภัณฑ์ หรือเศษผ้าที่มีชีวิต พบว่า กลุ่มตัวอย่าง ที่ทาการศึกษา ส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิง มีอายุ ระหว่าง 17-57 ปี มีสถานะ โสด ระดับการศึกษา คือ ปวช.และ ปวส. อาชีพ นักเรียน นักศึกษา , รับราชการ กลุ่ม ตัวอย่างหรือผู้ที่สนใจ ผู้บริโภค ส่วนใหญ่เห็นว่าผลิตภัณฑ์ ที่เรียกว่าเศษผ้าที่มีชีวิต มีการออกแบบที่ สวยงาม สะดุดตา มีความคิดสร้างสรรค์ เป็นอันดับ 1 จากคุณภาพ ของผลิตภัณฑ์ เป็นอันดับ 2 และจาก การใช้งานได้ดี เป็นอันดับ 3 ตามลาดับ กลุ่มตัวอย่างยังมีความคิดเห็น ว่า ผลิตภัณฑ์ต้นแบบมีความสวย เด่น มีความคิดสร้างสรรค์ อยู่ในระดับมาก ความเหมาะสม ของการนาเทคนิคการตัดต่อเศษผ้า และการ เย็บปะติดผ้า เพื่อการตกแต่ง มาใช้ในการแปรรูป เข้ากับผลิตภัณฑ์ ที่ออกแบบมาได้อย่างสวยงาม เหมาะสม แปลกใหม่ อยู่ในระดับมากที่สุด อีกทั้งสอบถาม ราคากระเป๋าสะพาย ใบใหญ่ และขอซื้อมาก ที่สุด เท่ากับว่า สามารถพัฒนาสู่เชิงพาณิชย์ได้ ข้อเสนอแนะ ส่วนใหญ่ เห็นว่า ควรมีการเผยแพร่ เทคนิคการตัดเย็บ ต่อ ตกแต่ง การเย็บปะติดผ้า รวมถึงวิธีการ ในการจัดทาเป็นผลิตภัณฑ์ต้นแบบ ที่ได้จากการ แปรรูปจากเศษผ้า จริง ๆ และกลุ่มตัวอย่าง ยังแนะนา ให้ มีการ ผลิต จานวนมาก เพื่อการจาหน่าย และมีรูปแบบผลิตภัณฑ์ จากเศษผ้าประเภทอื่นๆ อีก ควรมี การพัฒนาต่อ เพื่อให้เกิดการขยายความรู้สู่ชุมชน หรือกลุ่มผู้สนใจ เพราะเห็นประโยชน์และคุณค่าจากเศษ ผ้า นี้แหละที่เรียกว่า “เศษผ้าที่มีชีวิต”