SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
บทที่ 1
                                             บทนา

1. ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา
    เทคโนโลยีในปัจจุบันได้พัฒนาขีดความสามารถให้เกิดการใช้อย่างแพร่หลาย                   อานวย
ความสะดวกให้กับผู้ใช้ สร้างสีสัน ความหลากหลายในการนาเสนอ นาเสนอในรูปแบบที่เร้าความ
สนใจผู้ใช้ ให้ผู้ใช้เกิดความสนุกสนาน ผ่อนคลาย มีความสุข ทาให้รู้สึกอยากจะใช้ อยากจะสัมผัส
และมีผลในชีวิตประจาวันของคนเรามากยิ่งขึ้นตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
หมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษามาตรา 66 ผู้เรียนมีสิทธิได้รับการพัฒนาขีดความสามารถในการ
ใช้เทคโนโลยีเพื่อการ ศึกษาในโอกาสแรกที่ทาได้ เพื่อให้มีความรู้และทักษะเพียงพอที่จะใช้
เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในการแสวง หาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต และ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กาหนดสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ให้มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี สามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมี
ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร
การทางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม โรงเรียนดงบังพิสัย-
นวการนุสรณ์ 6 จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 มีระบบการ
เรียนรู้วิธีปฏิบัติที่เป็น เลิศด้านกระบวนการจัดการเรียนรู้ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนของครู
พัฒนาการเรียนรู้ให้กับนักเรียนมาโดยตลอดปรากฏผลสาเร็จให้เห็นอย่างต่อ เนื่องการมีส่วนร่วม
ของบุคลากรที่เกี่ยวข้องเป็นปัจจัยสาคัญในการให้นัก เรียนและโรงเรียนประสบผลสาเร็จ การ
พัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนในปัจจุบันโรงเรียนให้ความสาคัญกับ คุณภาพของ
เทคโนโลยีทางการศึกษาเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการเรียนรู้และการ
บริหารจัดการ ส่งเสริมความสามารถของนักเรียนให้มีความสามารถทางด้านเทคโนโลยีเพื่อเป็น
เครื่องมือในการเรียนรู้ตามนโยบายจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการและจุดเน้น กลยุทธ์ของ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อสร้างนิสัยการแสวงหา ความรู้จากแหล่งเรียนรู้
ต่างๆ มีทักษะกระบวนการที่ส่งผลให้ผู้เรียนมีความรู้คงทน (Enduring Understandings)
 กลุ่มสาระการเรียนรู้             วิทยาศาสตร์ โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ ที่ผ่านมามีผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนในระดับชาติขั้นพื้นฐาน(O-NET) อยู่ในระดับปานกลาง โรงเรียนมีนโยบายให้
บุคลากรครูพัฒนาการเรียนการสอนเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในระดับ สถานศึกษาและ
ระดับชาติ และจากพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศที่โรงเรียนได้ดาเนินการติดตั้งระบบอินเตอร์เน็ต
2

เพื่อการศึกษาสาหรับนักเรียนทั้งในและนอกเวลาเรียน ทาให้นักเรียนสามารถสืบค้นหาความรู้และ
ข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ทาให้ข้าพเจ้าครูผู้สอนในรายวิชาฟิสิกส์เล็งเห็นการใช้ประโยชน์
จากเทคโนโลยีอันสมัยนี้ จึงได้พัฒนาสื่อการเรียนการสอนให้อยู่ในรูปแบบดิจิตอล สามารถนาไป
ไว้บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เพื่อพัฒนากระบวนการคิด กระบวนการแสวงหาความรู้ เพื่อยกระดับ
ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนให้สูงขึ้น โดยเน้นเทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) มาช่วยในการ
พัฒนาการเรียนการสอน ข้าพเจ้าจึงได้พัฒนาเว็บบล็อกที่ http://somporndb.wordpress.com จาก
http://wordpress.com/ ซึ่งเป็นเว็บไซต์ให้บริการฟรีขึ้นเพื่อเป็นสื่อนวัตกรรม ในรายวิชาที่สอน มา
พัฒนาความรู้ความสามารถทางด้านเทคโนโลยีให้กับนักเรียนให้โดยเน้น Social Media และพัฒนา
แหล่งการเรียนรู้โดยใช้ Social Media ให้แก่นักเรียน รวมทั้ง เพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้และ มีสื่อ
Facebook ใช้ในการแลกเปลี่ยนความรู้

2. วัตถุประสงค์การวิจัย
         2.1 เพื่อพัฒนาสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)
เรื่อง ไฟฟ้าสถิต รายวิชาฟิสิกส์ ด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียน
ดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26
         2.2 เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนจากสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online)
โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เรื่อง ไฟฟ้าสถิต รายวิชาฟิสิกส์ ด้วยการสอนผ่านเว็บ
บล็อก ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26

3. สมมติฐานการวิจัย
        3.1 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75
 3.2 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่        6 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงขึ้นกว่าก่อนเรียน

4. คาถามวิจัย
       นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นหรือไม่
3

5. ขอบเขตการวิจัย
          5.1 รูปแบบการวิจัย เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research )
 5.2 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
              5.2.1 ประชากร นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์
จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26
              5.2.2 กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์
จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 จานวน 30 คน ได้มาจาก
วิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling)
 5.3 เนื้อหาสาระที่ใช้ในการวิจัย คือ          สื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อ
สังคม (Social Media)
                  - Wordpress
                  - Facebook
                  - SlideShare
                  - YouTube
                  - Google docs
                  - Flickr
          5.4 ระยะเวลาดาเนินการวิจัย 29 มิถุนายน – 31 สิงหาคม พ.ศ.2555

6. ตัวแปรที่ศึกษา
        6.1 ตัวแปรอิสระ คือ สื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social
Media)
                - Wordpress
                - Facebook
                - SlideShare
                - YouTube
                - Google docs
                - Flickr
4

 6.2 ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วย            สื่อการเรียนรู้ออนไลน์
(Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เรื่อง ไฟฟ้าสถิต รายวิชาฟิสิกส์ ด้วยการสอน
ผ่านเว็บบล็อก และรวมถึงการใช้ Facebook เป็น Social Media เพื่อการเรียนรู้และใช้ในการ
แลกเปลี่ยนความรู้ในการจัดกระบวนการเรียนการสอนได้จัดการตามกระบวนการเรียนรู้ใน
ขณะเดียวกันศิษย์มีความแตกต่างกันในระดับความรู้ความเข้าใจ การคิด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ในนักเรียนที่มีผลการเรียนต่าได้สอนเสริมและแนะนาการเรียนรู้ให้นักเรียนจนประสบผลสาเร็จ
มีผลการเรียนที่ดีขึ้น นักเรียนที่มีระดับผลการเรียนสูงได้พัฒนาส่งเสริมให้มีความสามารถสูงขึ้นไป
อีกระดับ จากการจัดกระบวนการเรียนการสอนส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดี
มีทักษะทางด้านเทคโนโลยี สามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน ใช้ในการสืบค้น ค้นคว้าข้อมูลที่เป็น
ประโยชน์ในการศึกษา เป็นพื้นฐานในการศึกษาระดับสูงต่อไปตลอดจนสามารถใช้เทคโนโลยีใน
การเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต

7. นิยามศัพท์เฉพาะ
          7.1 สื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) รูปแบบของเนื้อหาสาระที่สร้างเป็นบทเรียนออนไลน์
สาเร็จรูป ที่อาจใช้ซีดีรอม (CD-ROM) เป็นสื่อกลางในการส่งผ่าน หรือใช้การส่งผ่านอินเทอร์เน็ต
(Internet) หรือเครือข่ายภายใน ทั้งนี้อาจจะอยู่ในรูปแบบคอมพิวเตอร์ช่วยการฝึกอบรม (Computer
Based Training: CBT) และการใช้เว็บเพื่อการฝึกอบรม (Web Based Training: WBT) หรือการเรียน
การสอนทางไกล (Distance Learning) ผ่านดาวเทียมก็ได้
          7.2 เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) หมายถึง Social ในที่นี้หมายถึง สังคมออนไลน์
Media ในที่นี้หมายถึง เนื้อหา เรื่องราว และบทความ Social Media จึงหมายถึงสังคมออนไลน์ที่มี
ผู้ใช้เป็นผู้ สื่อสาร หรือเขียนเล่า เนื้อหา เรื่องราว ประสบการณ์ บทความ รูปภาพ และวิดีโอ ที่ผู้ใช้
เขียนขึ้นเอง ทาขึ้นเอง หรือพบเจอจากสื่ออื่นๆ แล้วนามาแบ่งปันให้กับผู้อื่นที่อยู่ในเครือข่ายของ
ตน ผ่านทางเว็บไซต์ Social Network ที่ให้บริการบนโลกออนไลน์ ปัจจุบัน การสื่อสารแบบนี้ จะ
ทาผ่านทาง Internet และโทรศัพท์มือถือเท่านั้นเนื้อหาของ Social Media โดยทั่วไปเปรียบได้หลาย
รูปแบบ ทั้ง กระดานความคิดเห็น (Discussion boards), เว็บบล็อก (Weblogs), วิกิ (wikis),
Podcasts, รูปภาพ และวิดีโอ ส่วนเทคโนโลยีที่รองรับเนื้อหาเหล่านี้ก็รวมถึง เว็บบล็อ ก (Weblogs),
เว็บไซต์แชร์รูปภาพ, เว็บไซต์แชร์วิดีโอ, เว็บบอร์ด, อีเมล์, เว็บไซต์แชร์เพลง, Instant Messaging,
Tool ที่ให้บริการ Voice over IP เป็นต้น
        - Wordpress หมายถึง Wordpress.com เป็นหนึ่งในหลาย ๆ เว็บไซด์ที่ให้บริการ Blog ซึ่ง
Blog ก็คือพื้นที่สาหรับเขียนข้อความหรือเรื่องราวต่าง ๆ โดยเจ้าของ Blog สามารถเข้าไปใช้งาน
5

หรืออัพเดทข้อมูลข่าวสารได้ตลอดเวลา ไม่ว่าจะอยู่ที่ไหนขอเพียงสามารถเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตได้
เท่านั้น และผู้เข้าเยี่ยมชมหรือผู้อ่านสามารถแสดงความคิดเห็นได้เท่าที่เจ้าของบล็อกอนุญาต
          - Facebook หมายถึง สาหรับสร้างเครือข่ายสังคมออนไลน์กันก่อนว่ามีวัตถุประสงค์
อย่างไร คนที่มาเป็นสมาชิกในเครือข่าย จะต้องมีการเปิดเผยความจริงใจให้กับเพื่อนโดยการแสดง
ข้อมูลที่เป็นจริง เพราะคนที่คิดว่าจะเพื่อนกันใน Facebook ก็ต้องเปิดเผยตัวตนที่แท้จริงด้วย แต่ถ้า
เพื่อนคนไหนไม่ได้เปิดเผยตัวตนเลย อาจจะมองว่าคนนั้นไม่จริงใจกับเพื่อนฝูงก็ได้ ดังนั้น เราจะ
เห็นว่าในหน้า Profile จะเป็นหน้าหลักที่บ่งบอกถึงความเป็นตัวตนของแต่ละคนและคนที่เป็น
สมาชิกในเครือข่ายของเขาสามารถเห็นได้
          - SlideShare หมายถึง เป็น website ที่ให้บริการฝากไฟล์ ประเภท งานนาเสนอในรูปแบบ
ไฟล์ pdf, ppt, pps, pptx, ppsx, pot, potx (Powerpoint); odp (OpenOffice) เอกสารในรูปแบบไฟล์
pdf, doc, docx, rtf, xls (MSOffice); odt, ods(OpenOffice); Apple iWork Pages และวีดีโอใน
รูปแบบไฟล์ mp4, m4v (ipod), wmv (windows media video), mpeg ,avi (windows) ,mov (apple
quicktime)Mpg, mkv (h.264), ogg, asf, vob, 3gp, 3g2 (mobile phones) rm, rmvb (Real), flv
(Flash) ขนาดไฟล์สูงสุด 100MB และสามารถนาไปแชร์ให้ผู้อื่นได้เข้ามาดู หรือ Download ไป
ใช้ได้ นอกจากนี้ยังสามารถค้นหาไฟล์เอกสาร (word) หรือ งานนาเสนอ (Powerpoint) ที่ผู้อื่นสร้าง
ไว้มากมาย นามาประกอบกิจกรรมการเรียนการสอนได้ โดยไม่ต้องสร้างขึ้นมาเอง
       - YouTube หมายถึง เป็น เว็บไซต์ที่ให้บริการแลกเปลี่ยนภาพวิดีโอระหว่างผู้ใช้ได้ฟรี โดยนา
เทคโนโลยีของ Adobe Flash มาใช้ในการแสดงภาพวิดีโอ ซึ่งยูทูบมีนโนบายไม่ให้อัปโหลดคลิปที่
มีภาพโป๊เปลือยและคลิปที่มีลิขสิทธิ์ นอกเสียจากเจ้าของลิขสิทธิ์ได้อัปโหลดเอง เมื่อสมัครสมาชิก
แล้วผู้ ใช้จะสามารถใส่ภาพวิดีโอเข้าไป แบ่งปันภาพวิดีโอให้คนอื่นดูด้วย แต่หากไม่ได้สมัคร
สมาชิกก็สามารถเข้าไปเปิดดูภาพวิดีโอที่ผู้ใช้คนอื่น ๆ ใส่ไว้ใน Youtube ได้ แม้จะก่อตั้งได้เพียงไม่
นาน (youtube ก่อตั้งขึ้นเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2005) Youtube เติบโตอย่างรวดเร็วมาก เป็นที่รู้
จักันแพร่หลายและได้รับความนิยมทั่วโลก ต่อมาปี ค.ศ.2006 กูเกิ้ลซื้อยูทูบ ตอนนี้ยูทูบจึงกลายเป็น
ส่วนหนึ่งของกูเกิ้ลแล้ว
        - Google docs หมายถึง Google docs คือโปรแกรมจัดการเอกสารออนไลน์ของ
Google แล้วถ้าถามว่า โปรแกรมจัดการเอกสารมันคืออะไร ก็ให้นึกถึงโปรแกรมในชุด Microsoft
Office (word excel PowerPoint) นั่นแหละโปรแกรมจัดการเอกสารล่ะ แล้วถ้าถามต่อว่า โปรแกรม
จัดการเอกสารออนไลน์ คาว่าออนไลน์คือยังไง คาว่าออนไลน์ ก็คือคุณไม่ต้องติดตั้งโปรแกรมชุด
นี้ไว้ในเครื่อง เพียงแค่คุณเปิด IE Firefox หรือ Safari แล้วเข้าไปยังเว็บไซต์ของ Google docs คุณก็
สามารถ สร้าง แก้ไข เปิดอ่าน ได้เลย โดยตัวเอกสารนั้นก็จะถูกเก็บไว้ในเซิฟเวอร์ของ Google
6

         - Flickr เป็นเว็บไซต์ที่ให้บริการจัดเก็บรูปภาพ ซึ่ง filckr ได้เตรียมเครื่องมือต่าง ๆ เอาไว้
บริการอย่างครบครัน ไม่ว่าจะเป็นโปรแกรมสาหรับช่วยในการ upload รูปภาพขึ้นเว็บไซต์ได้ง่าย
ขึ้น หรือจะเป็นการค้นหา การจัดการเกี่ยวกับไฟล์รูปภาพภายในเว็บไซต์ของ flickr ก็มีให้อย่าง
สมบูรณ์แบบ นอกจากนี้การแบ่งปันไฟล์ให้คนอื่นได้ดูนั้นก็ทาได้ง่ายมาก ๆ ปัจจุบัน Flickr เป็น
ของ yahoo นั่นหมายความว่าหากคุณจะใช้บริการจะต้องสมัครเป็นสมาชิกของ yahoo สาหรับผู้ที่มี
account ของ yahoo อยู่แล้วก็สามารถใช้ account เข้าใช้งาน flickr ได้เลย สนใจใช้งาน flickr
ติดตามอ่านบทความได้จากเว็บไซต์ของเรา
         7.3 สื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online)โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) หมายถึง
การเรียนในลักษณะสังคมออนไลน์ที่มีผู้ใช้นามาแบ่งปันให้กับผู้อื่นที่อยู่ในเครือข่ายของตน ผ่าน
ทางเว็บไซต์ Social Network ที่ให้บริการบนโลกออนไลน์

8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
     8.1. มีแหล่งเรียนรู้ http://somporndb.wordpress.com
     8.2 เพื่อพัฒนาสื่อการเรียนการสอนออนไลน์โดยใช้ Social Media
     8.3 เพื่อพัฒนาทักษะความสามารถทางด้านเทคโนโลยีให้กับผู้เรียน
     8.4 เพื่อให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาสื่อการเรียนรู้ด้วย Social Media ได้
7

9. กรอบแนวคิด

             ตัวแปรอิสระ
- สื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online)                                     ตัวแปรตาม
โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social                 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยสื่อ
Media)                                           การเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อ
- Wordpress
                                                 สังคม (Social Media) เรื่อง ไฟฟ้าสถิต รายวิชาฟิสิกส์
- Facebook
                                                 ด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก และรวมถึงการใช้
- SlideShare
- YouTubeg                                       Facebook เป็น Social Media เพื่อการเรียนรู้และใช้ใน
- Google docs                                    การแลกเปลี่ยนความรู้ในการจัดกระบวนการเรียนการ
- Flickr                                         สอนได้จัดการตามกระบวนการเรียนรู้ในขณะเดียวกัน
                                                 ศิษย์มีความแตกต่างกันในระดับความรู้ความเข้าใจ การ
                                                 คิด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในนักเรียนที่มีผลการเรียน
                                                 ต่าได้สอนเสริมและแนะนาการเรียนรู้ให้นักเรียนจน
                                                 ประสบผลสาเร็จ มีผลการเรียนที่ดีขึ้น นักเรียนที่มี
                                                 ระดับผลการเรียนสูงได้พัฒนาส่งเสริมให้มี
                                                 ความสามารถสูงขึ้นไปอีกระดับ จากการจัด
                                                 กระบวนการเรียนการสอนส่งผลให้นักเรียนมี
                                                 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดี มีทักษะทางด้าน
                                                 เทคโนโลยี สามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน ใช้ใน
                                                 การสืบค้น ค้นคว้าข้อมูลที่เป็นประโยชน์ ในการศึกษา
                                                 เป็นพื้นฐานในการศึกษาระดับสูงต่อไปตลอดจน
                                                 สามารถใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่อง
                                                 ตลอดชีวิต




                                    ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย

More Related Content

What's hot

คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3
คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3
คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3Somporn Laothongsarn
 
บันได 6 ขั้นสู่ความสำเร็จ การสอนแบบโครงงานในเนื้อหา
บันได 6 ขั้นสู่ความสำเร็จ  การสอนแบบโครงงานในเนื้อหาบันได 6 ขั้นสู่ความสำเร็จ  การสอนแบบโครงงานในเนื้อหา
บันได 6 ขั้นสู่ความสำเร็จ การสอนแบบโครงงานในเนื้อหาpanida428
 
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อกรายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อกNattapon
 

What's hot (20)

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3
คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3
คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
ปก
ปกปก
ปก
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
ปก
ปกปก
ปก
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บันได 6 ขั้นสู่ความสำเร็จ การสอนแบบโครงงานในเนื้อหา
บันได 6 ขั้นสู่ความสำเร็จ  การสอนแบบโครงงานในเนื้อหาบันได 6 ขั้นสู่ความสำเร็จ  การสอนแบบโครงงานในเนื้อหา
บันได 6 ขั้นสู่ความสำเร็จ การสอนแบบโครงงานในเนื้อหา
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อกรายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
 

Viewers also liked

ไฟฟ้าและแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าและแม่เหล็ก1ไฟฟ้าและแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าและแม่เหล็ก1thanakit553
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตthanakit553
 
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์thanakit553
 

Viewers also liked (16)

สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
ไฟฟ้าสถิตPpt
ไฟฟ้าสถิตPptไฟฟ้าสถิตPpt
ไฟฟ้าสถิตPpt
 
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of charge)
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of  charge)กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of  charge)
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of charge)
 
stem
stemstem
stem
 
Charge (ประจุไฟฟ้า)
Charge (ประจุไฟฟ้า) Charge (ประจุไฟฟ้า)
Charge (ประจุไฟฟ้า)
 
ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)
ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)
ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)
 
ไฟฟ้าและแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าและแม่เหล็ก1ไฟฟ้าและแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าและแม่เหล็ก1
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
 
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 

Similar to บทที่ 1

บทที่ 7 สื่อและแหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อและแหล่งการเรียนรู้บทที่ 7 สื่อและแหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อและแหล่งการเรียนรู้onnichabee
 
งานเมย์บทที่7นะ (1)
งานเมย์บทที่7นะ (1)งานเมย์บทที่7นะ (1)
งานเมย์บทที่7นะ (1)nwichunee
 
Model of learning by social media
Model of learning by social mediaModel of learning by social media
Model of learning by social mediaKrit Chanthraphrom
 
005 projectโครงการ
005 projectโครงการ005 projectโครงการ
005 projectโครงการPiyarerk Bunkoson
 
Dlit socialmedia
Dlit socialmediaDlit socialmedia
Dlit socialmediatayval
 
Social media use in higher education
Social  media  use  in  higher educationSocial  media  use  in  higher education
Social media use in higher educationoajirapa
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4aom08
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5kruwaeo
 
เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ Social Media
เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ Social Mediaเอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ Social Media
เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ Social MediaTeemtaro Chaiwongkhot
 
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์tassanee chaicharoen
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictP pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictKobwit Piriyawat
 
6 บทที่ 1 บทนำ
6 บทที่  1  บทนำ6 บทที่  1  บทนำ
6 บทที่ 1 บทนำAugusts Programmer
 
6 บทที่ 1 บทนำ
6 บทที่  1  บทนำ6 บทที่  1  บทนำ
6 บทที่ 1 บทนำAugusts Programmer
 

Similar to บทที่ 1 (20)

Pp social
Pp socialPp social
Pp social
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Socialmedia(group4)
Socialmedia(group4)Socialmedia(group4)
Socialmedia(group4)
 
บทที่ 7 สื่อและแหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อและแหล่งการเรียนรู้บทที่ 7 สื่อและแหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
งานเมย์บทที่7นะ (1)
งานเมย์บทที่7นะ (1)งานเมย์บทที่7นะ (1)
งานเมย์บทที่7นะ (1)
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
Model of learning by social media
Model of learning by social mediaModel of learning by social media
Model of learning by social media
 
005 projectโครงการ
005 projectโครงการ005 projectโครงการ
005 projectโครงการ
 
Dlit socialmedia
Dlit socialmediaDlit socialmedia
Dlit socialmedia
 
Social media use in higher education
Social  media  use  in  higher educationSocial  media  use  in  higher education
Social media use in higher education
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
World class
World classWorld class
World class
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5
 
เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ Social Media
เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ Social Mediaเอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ Social Media
เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ Social Media
 
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictP pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
6 บทที่ 1 บทนำ
6 บทที่  1  บทนำ6 บทที่  1  บทนำ
6 บทที่ 1 บทนำ
 
6 บทที่ 1 บทนำ
6 บทที่  1  บทนำ6 บทที่  1  บทนำ
6 บทที่ 1 บทนำ
 
2012education1
2012education12012education1
2012education1
 

More from Somporn Laothongsarn

เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าSomporn Laothongsarn
 
เรื่อง รังสีเอ็กซ์
เรื่อง  รังสีเอ็กซ์เรื่อง  รังสีเอ็กซ์
เรื่อง รังสีเอ็กซ์Somporn Laothongsarn
 
เรื่อง รังสีอัลตราไวโอเลต
เรื่อง  รังสีอัลตราไวโอเลตเรื่อง  รังสีอัลตราไวโอเลต
เรื่อง รังสีอัลตราไวโอเลตSomporn Laothongsarn
 
เรื่อง รังสีอินฟราเรด
เรื่อง  รังสีอินฟราเรดเรื่อง  รังสีอินฟราเรด
เรื่อง รังสีอินฟราเรดSomporn Laothongsarn
 
เรื่อง คลื่นไมโครเวฟ
เรื่อง  คลื่นไมโครเวฟเรื่อง  คลื่นไมโครเวฟ
เรื่อง คลื่นไมโครเวฟSomporn Laothongsarn
 
เรื่อง คลื่นโทรทัศน์
เรื่อง  คลื่นโทรทัศน์เรื่อง  คลื่นโทรทัศน์
เรื่อง คลื่นโทรทัศน์Somporn Laothongsarn
 
เรื่อง คลื่นวิทยุ
เรื่อง  คลื่นวิทยุเรื่อง  คลื่นวิทยุ
เรื่อง คลื่นวิทยุSomporn Laothongsarn
 
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าSomporn Laothongsarn
 
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการเรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการSomporn Laothongsarn
 
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ
เรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศเรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศSomporn Laothongsarn
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2Somporn Laothongsarn
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1Somporn Laothongsarn
 

More from Somporn Laothongsarn (15)

Physical quantity and units
Physical quantity and unitsPhysical quantity and units
Physical quantity and units
 
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
เรื่อง รังสีเอ็กซ์
เรื่อง  รังสีเอ็กซ์เรื่อง  รังสีเอ็กซ์
เรื่อง รังสีเอ็กซ์
 
เรื่อง รังสีอัลตราไวโอเลต
เรื่อง  รังสีอัลตราไวโอเลตเรื่อง  รังสีอัลตราไวโอเลต
เรื่อง รังสีอัลตราไวโอเลต
 
เรื่อง แสง
เรื่อง  แสงเรื่อง  แสง
เรื่อง แสง
 
เรื่อง รังสีอินฟราเรด
เรื่อง  รังสีอินฟราเรดเรื่อง  รังสีอินฟราเรด
เรื่อง รังสีอินฟราเรด
 
เรื่อง คลื่นไมโครเวฟ
เรื่อง  คลื่นไมโครเวฟเรื่อง  คลื่นไมโครเวฟ
เรื่อง คลื่นไมโครเวฟ
 
เรื่อง คลื่นโทรทัศน์
เรื่อง  คลื่นโทรทัศน์เรื่อง  คลื่นโทรทัศน์
เรื่อง คลื่นโทรทัศน์
 
เรื่อง คลื่นวิทยุ
เรื่อง  คลื่นวิทยุเรื่อง  คลื่นวิทยุ
เรื่อง คลื่นวิทยุ
 
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการเรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
 
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ
เรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศเรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ
 
Giftedfactors
GiftedfactorsGiftedfactors
Giftedfactors
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
 

บทที่ 1

  • 1. บทที่ 1 บทนา 1. ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา เทคโนโลยีในปัจจุบันได้พัฒนาขีดความสามารถให้เกิดการใช้อย่างแพร่หลาย อานวย ความสะดวกให้กับผู้ใช้ สร้างสีสัน ความหลากหลายในการนาเสนอ นาเสนอในรูปแบบที่เร้าความ สนใจผู้ใช้ ให้ผู้ใช้เกิดความสนุกสนาน ผ่อนคลาย มีความสุข ทาให้รู้สึกอยากจะใช้ อยากจะสัมผัส และมีผลในชีวิตประจาวันของคนเรามากยิ่งขึ้นตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 หมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษามาตรา 66 ผู้เรียนมีสิทธิได้รับการพัฒนาขีดความสามารถในการ ใช้เทคโนโลยีเพื่อการ ศึกษาในโอกาสแรกที่ทาได้ เพื่อให้มีความรู้และทักษะเพียงพอที่จะใช้ เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในการแสวง หาความรู้ด้วยตนเองได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต และ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กาหนดสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ให้มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี สามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมี ทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม โรงเรียนดงบังพิสัย- นวการนุสรณ์ 6 จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 มีระบบการ เรียนรู้วิธีปฏิบัติที่เป็น เลิศด้านกระบวนการจัดการเรียนรู้ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนของครู พัฒนาการเรียนรู้ให้กับนักเรียนมาโดยตลอดปรากฏผลสาเร็จให้เห็นอย่างต่อ เนื่องการมีส่วนร่วม ของบุคลากรที่เกี่ยวข้องเป็นปัจจัยสาคัญในการให้นัก เรียนและโรงเรียนประสบผลสาเร็จ การ พัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนในปัจจุบันโรงเรียนให้ความสาคัญกับ คุณภาพของ เทคโนโลยีทางการศึกษาเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการเรียนรู้และการ บริหารจัดการ ส่งเสริมความสามารถของนักเรียนให้มีความสามารถทางด้านเทคโนโลยีเพื่อเป็น เครื่องมือในการเรียนรู้ตามนโยบายจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการและจุดเน้น กลยุทธ์ของ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อสร้างนิสัยการแสวงหา ความรู้จากแหล่งเรียนรู้ ต่างๆ มีทักษะกระบวนการที่ส่งผลให้ผู้เรียนมีความรู้คงทน (Enduring Understandings) กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ ที่ผ่านมามีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนในระดับชาติขั้นพื้นฐาน(O-NET) อยู่ในระดับปานกลาง โรงเรียนมีนโยบายให้ บุคลากรครูพัฒนาการเรียนการสอนเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในระดับ สถานศึกษาและ ระดับชาติ และจากพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศที่โรงเรียนได้ดาเนินการติดตั้งระบบอินเตอร์เน็ต
  • 2. 2 เพื่อการศึกษาสาหรับนักเรียนทั้งในและนอกเวลาเรียน ทาให้นักเรียนสามารถสืบค้นหาความรู้และ ข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ทาให้ข้าพเจ้าครูผู้สอนในรายวิชาฟิสิกส์เล็งเห็นการใช้ประโยชน์ จากเทคโนโลยีอันสมัยนี้ จึงได้พัฒนาสื่อการเรียนการสอนให้อยู่ในรูปแบบดิจิตอล สามารถนาไป ไว้บนเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เพื่อพัฒนากระบวนการคิด กระบวนการแสวงหาความรู้ เพื่อยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนให้สูงขึ้น โดยเน้นเทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) มาช่วยในการ พัฒนาการเรียนการสอน ข้าพเจ้าจึงได้พัฒนาเว็บบล็อกที่ http://somporndb.wordpress.com จาก http://wordpress.com/ ซึ่งเป็นเว็บไซต์ให้บริการฟรีขึ้นเพื่อเป็นสื่อนวัตกรรม ในรายวิชาที่สอน มา พัฒนาความรู้ความสามารถทางด้านเทคโนโลยีให้กับนักเรียนให้โดยเน้น Social Media และพัฒนา แหล่งการเรียนรู้โดยใช้ Social Media ให้แก่นักเรียน รวมทั้ง เพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้และ มีสื่อ Facebook ใช้ในการแลกเปลี่ยนความรู้ 2. วัตถุประสงค์การวิจัย 2.1 เพื่อพัฒนาสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เรื่อง ไฟฟ้าสถิต รายวิชาฟิสิกส์ ด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียน ดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 2.2 เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนจากสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เรื่อง ไฟฟ้าสถิต รายวิชาฟิสิกส์ ด้วยการสอนผ่านเว็บ บล็อก ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 3. สมมติฐานการวิจัย 3.1 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75 3.2 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงขึ้นกว่าก่อนเรียน 4. คาถามวิจัย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นหรือไม่
  • 3. 3 5. ขอบเขตการวิจัย 5.1 รูปแบบการวิจัย เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research ) 5.2 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 5.2.1 ประชากร นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 5.2.2 กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 จานวน 30 คน ได้มาจาก วิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) 5.3 เนื้อหาสาระที่ใช้ในการวิจัย คือ สื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อ สังคม (Social Media) - Wordpress - Facebook - SlideShare - YouTube - Google docs - Flickr 5.4 ระยะเวลาดาเนินการวิจัย 29 มิถุนายน – 31 สิงหาคม พ.ศ.2555 6. ตัวแปรที่ศึกษา 6.1 ตัวแปรอิสระ คือ สื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) - Wordpress - Facebook - SlideShare - YouTube - Google docs - Flickr
  • 4. 4 6.2 ตัวแปรตาม คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วย สื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เรื่อง ไฟฟ้าสถิต รายวิชาฟิสิกส์ ด้วยการสอน ผ่านเว็บบล็อก และรวมถึงการใช้ Facebook เป็น Social Media เพื่อการเรียนรู้และใช้ในการ แลกเปลี่ยนความรู้ในการจัดกระบวนการเรียนการสอนได้จัดการตามกระบวนการเรียนรู้ใน ขณะเดียวกันศิษย์มีความแตกต่างกันในระดับความรู้ความเข้าใจ การคิด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในนักเรียนที่มีผลการเรียนต่าได้สอนเสริมและแนะนาการเรียนรู้ให้นักเรียนจนประสบผลสาเร็จ มีผลการเรียนที่ดีขึ้น นักเรียนที่มีระดับผลการเรียนสูงได้พัฒนาส่งเสริมให้มีความสามารถสูงขึ้นไป อีกระดับ จากการจัดกระบวนการเรียนการสอนส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดี มีทักษะทางด้านเทคโนโลยี สามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน ใช้ในการสืบค้น ค้นคว้าข้อมูลที่เป็น ประโยชน์ในการศึกษา เป็นพื้นฐานในการศึกษาระดับสูงต่อไปตลอดจนสามารถใช้เทคโนโลยีใน การเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต 7. นิยามศัพท์เฉพาะ 7.1 สื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) รูปแบบของเนื้อหาสาระที่สร้างเป็นบทเรียนออนไลน์ สาเร็จรูป ที่อาจใช้ซีดีรอม (CD-ROM) เป็นสื่อกลางในการส่งผ่าน หรือใช้การส่งผ่านอินเทอร์เน็ต (Internet) หรือเครือข่ายภายใน ทั้งนี้อาจจะอยู่ในรูปแบบคอมพิวเตอร์ช่วยการฝึกอบรม (Computer Based Training: CBT) และการใช้เว็บเพื่อการฝึกอบรม (Web Based Training: WBT) หรือการเรียน การสอนทางไกล (Distance Learning) ผ่านดาวเทียมก็ได้ 7.2 เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) หมายถึง Social ในที่นี้หมายถึง สังคมออนไลน์ Media ในที่นี้หมายถึง เนื้อหา เรื่องราว และบทความ Social Media จึงหมายถึงสังคมออนไลน์ที่มี ผู้ใช้เป็นผู้ สื่อสาร หรือเขียนเล่า เนื้อหา เรื่องราว ประสบการณ์ บทความ รูปภาพ และวิดีโอ ที่ผู้ใช้ เขียนขึ้นเอง ทาขึ้นเอง หรือพบเจอจากสื่ออื่นๆ แล้วนามาแบ่งปันให้กับผู้อื่นที่อยู่ในเครือข่ายของ ตน ผ่านทางเว็บไซต์ Social Network ที่ให้บริการบนโลกออนไลน์ ปัจจุบัน การสื่อสารแบบนี้ จะ ทาผ่านทาง Internet และโทรศัพท์มือถือเท่านั้นเนื้อหาของ Social Media โดยทั่วไปเปรียบได้หลาย รูปแบบ ทั้ง กระดานความคิดเห็น (Discussion boards), เว็บบล็อก (Weblogs), วิกิ (wikis), Podcasts, รูปภาพ และวิดีโอ ส่วนเทคโนโลยีที่รองรับเนื้อหาเหล่านี้ก็รวมถึง เว็บบล็อ ก (Weblogs), เว็บไซต์แชร์รูปภาพ, เว็บไซต์แชร์วิดีโอ, เว็บบอร์ด, อีเมล์, เว็บไซต์แชร์เพลง, Instant Messaging, Tool ที่ให้บริการ Voice over IP เป็นต้น - Wordpress หมายถึง Wordpress.com เป็นหนึ่งในหลาย ๆ เว็บไซด์ที่ให้บริการ Blog ซึ่ง Blog ก็คือพื้นที่สาหรับเขียนข้อความหรือเรื่องราวต่าง ๆ โดยเจ้าของ Blog สามารถเข้าไปใช้งาน
  • 5. 5 หรืออัพเดทข้อมูลข่าวสารได้ตลอดเวลา ไม่ว่าจะอยู่ที่ไหนขอเพียงสามารถเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตได้ เท่านั้น และผู้เข้าเยี่ยมชมหรือผู้อ่านสามารถแสดงความคิดเห็นได้เท่าที่เจ้าของบล็อกอนุญาต - Facebook หมายถึง สาหรับสร้างเครือข่ายสังคมออนไลน์กันก่อนว่ามีวัตถุประสงค์ อย่างไร คนที่มาเป็นสมาชิกในเครือข่าย จะต้องมีการเปิดเผยความจริงใจให้กับเพื่อนโดยการแสดง ข้อมูลที่เป็นจริง เพราะคนที่คิดว่าจะเพื่อนกันใน Facebook ก็ต้องเปิดเผยตัวตนที่แท้จริงด้วย แต่ถ้า เพื่อนคนไหนไม่ได้เปิดเผยตัวตนเลย อาจจะมองว่าคนนั้นไม่จริงใจกับเพื่อนฝูงก็ได้ ดังนั้น เราจะ เห็นว่าในหน้า Profile จะเป็นหน้าหลักที่บ่งบอกถึงความเป็นตัวตนของแต่ละคนและคนที่เป็น สมาชิกในเครือข่ายของเขาสามารถเห็นได้ - SlideShare หมายถึง เป็น website ที่ให้บริการฝากไฟล์ ประเภท งานนาเสนอในรูปแบบ ไฟล์ pdf, ppt, pps, pptx, ppsx, pot, potx (Powerpoint); odp (OpenOffice) เอกสารในรูปแบบไฟล์ pdf, doc, docx, rtf, xls (MSOffice); odt, ods(OpenOffice); Apple iWork Pages และวีดีโอใน รูปแบบไฟล์ mp4, m4v (ipod), wmv (windows media video), mpeg ,avi (windows) ,mov (apple quicktime)Mpg, mkv (h.264), ogg, asf, vob, 3gp, 3g2 (mobile phones) rm, rmvb (Real), flv (Flash) ขนาดไฟล์สูงสุด 100MB และสามารถนาไปแชร์ให้ผู้อื่นได้เข้ามาดู หรือ Download ไป ใช้ได้ นอกจากนี้ยังสามารถค้นหาไฟล์เอกสาร (word) หรือ งานนาเสนอ (Powerpoint) ที่ผู้อื่นสร้าง ไว้มากมาย นามาประกอบกิจกรรมการเรียนการสอนได้ โดยไม่ต้องสร้างขึ้นมาเอง - YouTube หมายถึง เป็น เว็บไซต์ที่ให้บริการแลกเปลี่ยนภาพวิดีโอระหว่างผู้ใช้ได้ฟรี โดยนา เทคโนโลยีของ Adobe Flash มาใช้ในการแสดงภาพวิดีโอ ซึ่งยูทูบมีนโนบายไม่ให้อัปโหลดคลิปที่ มีภาพโป๊เปลือยและคลิปที่มีลิขสิทธิ์ นอกเสียจากเจ้าของลิขสิทธิ์ได้อัปโหลดเอง เมื่อสมัครสมาชิก แล้วผู้ ใช้จะสามารถใส่ภาพวิดีโอเข้าไป แบ่งปันภาพวิดีโอให้คนอื่นดูด้วย แต่หากไม่ได้สมัคร สมาชิกก็สามารถเข้าไปเปิดดูภาพวิดีโอที่ผู้ใช้คนอื่น ๆ ใส่ไว้ใน Youtube ได้ แม้จะก่อตั้งได้เพียงไม่ นาน (youtube ก่อตั้งขึ้นเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2005) Youtube เติบโตอย่างรวดเร็วมาก เป็นที่รู้ จักันแพร่หลายและได้รับความนิยมทั่วโลก ต่อมาปี ค.ศ.2006 กูเกิ้ลซื้อยูทูบ ตอนนี้ยูทูบจึงกลายเป็น ส่วนหนึ่งของกูเกิ้ลแล้ว - Google docs หมายถึง Google docs คือโปรแกรมจัดการเอกสารออนไลน์ของ Google แล้วถ้าถามว่า โปรแกรมจัดการเอกสารมันคืออะไร ก็ให้นึกถึงโปรแกรมในชุด Microsoft Office (word excel PowerPoint) นั่นแหละโปรแกรมจัดการเอกสารล่ะ แล้วถ้าถามต่อว่า โปรแกรม จัดการเอกสารออนไลน์ คาว่าออนไลน์คือยังไง คาว่าออนไลน์ ก็คือคุณไม่ต้องติดตั้งโปรแกรมชุด นี้ไว้ในเครื่อง เพียงแค่คุณเปิด IE Firefox หรือ Safari แล้วเข้าไปยังเว็บไซต์ของ Google docs คุณก็ สามารถ สร้าง แก้ไข เปิดอ่าน ได้เลย โดยตัวเอกสารนั้นก็จะถูกเก็บไว้ในเซิฟเวอร์ของ Google
  • 6. 6 - Flickr เป็นเว็บไซต์ที่ให้บริการจัดเก็บรูปภาพ ซึ่ง filckr ได้เตรียมเครื่องมือต่าง ๆ เอาไว้ บริการอย่างครบครัน ไม่ว่าจะเป็นโปรแกรมสาหรับช่วยในการ upload รูปภาพขึ้นเว็บไซต์ได้ง่าย ขึ้น หรือจะเป็นการค้นหา การจัดการเกี่ยวกับไฟล์รูปภาพภายในเว็บไซต์ของ flickr ก็มีให้อย่าง สมบูรณ์แบบ นอกจากนี้การแบ่งปันไฟล์ให้คนอื่นได้ดูนั้นก็ทาได้ง่ายมาก ๆ ปัจจุบัน Flickr เป็น ของ yahoo นั่นหมายความว่าหากคุณจะใช้บริการจะต้องสมัครเป็นสมาชิกของ yahoo สาหรับผู้ที่มี account ของ yahoo อยู่แล้วก็สามารถใช้ account เข้าใช้งาน flickr ได้เลย สนใจใช้งาน flickr ติดตามอ่านบทความได้จากเว็บไซต์ของเรา 7.3 สื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online)โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) หมายถึง การเรียนในลักษณะสังคมออนไลน์ที่มีผู้ใช้นามาแบ่งปันให้กับผู้อื่นที่อยู่ในเครือข่ายของตน ผ่าน ทางเว็บไซต์ Social Network ที่ให้บริการบนโลกออนไลน์ 8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 8.1. มีแหล่งเรียนรู้ http://somporndb.wordpress.com 8.2 เพื่อพัฒนาสื่อการเรียนการสอนออนไลน์โดยใช้ Social Media 8.3 เพื่อพัฒนาทักษะความสามารถทางด้านเทคโนโลยีให้กับผู้เรียน 8.4 เพื่อให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาสื่อการเรียนรู้ด้วย Social Media ได้
  • 7. 7 9. กรอบแนวคิด ตัวแปรอิสระ - สื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) ตัวแปรตาม โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยสื่อ Media) การเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อ - Wordpress สังคม (Social Media) เรื่อง ไฟฟ้าสถิต รายวิชาฟิสิกส์ - Facebook ด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก และรวมถึงการใช้ - SlideShare - YouTubeg Facebook เป็น Social Media เพื่อการเรียนรู้และใช้ใน - Google docs การแลกเปลี่ยนความรู้ในการจัดกระบวนการเรียนการ - Flickr สอนได้จัดการตามกระบวนการเรียนรู้ในขณะเดียวกัน ศิษย์มีความแตกต่างกันในระดับความรู้ความเข้าใจ การ คิด ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในนักเรียนที่มีผลการเรียน ต่าได้สอนเสริมและแนะนาการเรียนรู้ให้นักเรียนจน ประสบผลสาเร็จ มีผลการเรียนที่ดีขึ้น นักเรียนที่มี ระดับผลการเรียนสูงได้พัฒนาส่งเสริมให้มี ความสามารถสูงขึ้นไปอีกระดับ จากการจัด กระบวนการเรียนการสอนส่งผลให้นักเรียนมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดี มีทักษะทางด้าน เทคโนโลยี สามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน ใช้ใน การสืบค้น ค้นคว้าข้อมูลที่เป็นประโยชน์ ในการศึกษา เป็นพื้นฐานในการศึกษาระดับสูงต่อไปตลอดจน สามารถใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่อง ตลอดชีวิต ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย