SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
บทที่ 4
                                         ผลการวิจัย
            ในการวิจัย การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social
Media) เรื่องแก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่
3,5,6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 26 ที่ http://chaiwat31.wordpress.com ใช้การสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3,5,6 ซึง    ่
เป็นรายวิชาคอมพิวเตอร์ที่สอน รวมทั้งกิจกรรมชุมนุมคอมพิวเตอร์ และกิจกรรมแนะแนว
            1. ผลการทดสอบประสิทธิภาพของสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อ
สังคม (Social Media) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3,5,6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัด
มหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 เรื่องแก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊ก
ด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ที่ http://chaiwat31.wordpress.com
             1.1 ผลการทดสอบประสิทธิภาพของสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online)
โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนดงบังพิสัยนว
การนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 เรื่องแก้ปัญหาเด็ก
นักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยสอนผ่านบล็อก ที่ http://chaiwat31.wordpress.com แบบภาคสนาม
ดังตารางที่ 1
             ตารางที่ 1 แสดงค่าร้อยละของคะแนนจากการตอบคาถามท้ายหน่วย และคะแนนจาก
การทดสอบหลังเรียน แบบภาคสนาม (n=76)
                  คะแนนจากการตอบคาถาม             คะแนนจากการทดสอบ                 E1/E2
                          ท้ายหน่วย                       หลังเรียน
                          (ร้อยละ)                        (ร้อยละ)
                          84.17                           66.45              84.17/66.45
            จากตารางที่ 1 พบว่า การทดสอบประสิทธิภาพแบบภาคสนามสื่อการเรียนรู้ออนไลน์
(Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียน
ดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26
เรื่องแก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยสอนผ่านบล็อก ที่ http://chaiwat31.wordpress.com
มีประสิทธิภาพ 84.17/66.45
             1.2 ผลการทดสอบประสิทธิภาพของสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online)
โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียน
ดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26
เรื่องแก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยสอนผ่านบล็อก ที่ http://chaiwat31.wordpress.com
แบบภาคสนาม ดังตารางที่ 2
             ตารางที่ 2 แสดงค่าร้อยละของคะแนนจากการตอบคาถามท้ายหน่วย และคะแนนจาก
การทดสอบหลังเรียน แบบภาคสนาม (n=92)
                  คะแนนจากการตอบคาถาม             คะแนนจากการทดสอบ                 E1/E2
19



                          ท้ายหน่วย                        หลังเรียน
                          (ร้อยละ)                         (ร้อยละ)
                          75.25                            77.66               75.25/77.66
            จากตารางที่ 2 พบว่า การทดสอบประสิทธิภาพแบบภาคสนามสื่อการเรียนรู้ออนไลน์
(Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียน
ดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26
เรื่องแก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยสอนผ่านบล็อก ที่ http://chaiwat31.wordpress.com
มีประสิทธิภาพ 75.25/77.66
             1.3 ผลการทดสอบประสิทธิภาพของสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online)
โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนดงบังพิสัยนว
การนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26
เรื่องแก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยสอนผ่านบล็อก ที่ http://chaiwat31.wordpress.com
แบบภาคสนาม ดังตารางที่ 3
             จากตารางที่ 3 แสดงค่าร้อยละของคะแนนจากการตอบคาถามท้ายหน่วย และคะแนน
จากการทดสอบหลังเรียน แบบภาคสนาม (n=76)
                  คะแนนจากการตอบคาถาม             คะแนนจากการทดสอบ                  E1/E2
                          ท้ายหน่วย                        หลังเรียน
                          (ร้อยละ)                         (ร้อยละ)
                          84.25                            71.84               84.25/71.84
            จากตารางที่ 3 พบว่า การทดสอบประสิทธิภาพแบบภาคสนามสื่อการเรียนรู้ออนไลน์
(Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียน
ดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26
ที่ http://chaiwat31.wordpress.com เรื่องแก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยสอนผ่านบล็อก
มีประสิทธิภาพ 84.25/71.84
             2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อ
สังคม (Social Media) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3,5,6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัด
มหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 เรื่องแก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊ก
ด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ที่ http://chaiwat31.wordpress.com
            2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนด้วยสื่อการ
เรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) โรงเรียนดงบังพิสัยนวการ
นุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 เรื่องแก้ปัญหาเด็ก
นักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ที่ http://chaiwat31.wordpress.com
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ดังตารางที่ 4
20



         ตารางที่ 4 แสดงคะแนนเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบความแตกต่างของ
คะแนน เฉลี่ยจากกลุ่มตัวอย่างในการทดสอบประสิทธิภาพ แบบภาคสนาม (n=76)

                 คะแนนการประเมินก่อน              คะแนนการประเมินหลัง               t-test
                 เผชิญประสบการณ์                  เผชิญประสบการณ์
                   X              SD.              X               SD.
                 9.32             0.59            10.05            0.87             5.24*
            *P< .05 t (.05, df 19) =1.7291
            จากตารางที่ 4 คะแนนเฉลี่ยก่อนและหลังของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ทีเรียน่
ด้วยสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) โรงเรียนดงบัง
พิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 เรื่อง
แก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ที่ http://chaiwat31.wordpress.com
จากการทดสอบประสิทธิภาพแบบภาคสนาม ต่างกันอย่างมีค่านัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดย
นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียน
            2.2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนด้วยสื่อการ
เรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) โรงเรียนดงบังพิสัยนวการ
นุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 เรื่องแก้ปัญหาเด็ก
นักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ที่ http://chaiwat31.wordpress.com
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ดังตารางที่ 5
            ตารางที่ 5 แสดงคะแนนเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบความแตกต่างของ
คะแนน เฉลี่ยจากกลุ่มตัวอย่างในการทดสอบประสิทธิภาพ แบบภาคสนาม (n=92)

                 คะแนนการประเมินก่อน             คะแนนการประเมินหลัง               t-test
                 เผชิญประสบการณ์                 เผชิญประสบการณ์
                   X              SD.             X                SD.
                 13.68            2.18           16.56             3.44            5.02*
            *P< .05 t (.05, df 19) =1.7291
            จากตารางที่ 5 คะแนนเฉลี่ยก่อนและหลังของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ทีเรียน
                                                                                          ่
ด้วยสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) โรงเรียนดงบัง
พิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 เรื่อง
แก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ที่ http://chaiwat31.wordpress.com
จากการทดสอบประสิทธิภาพแบบภาคสนาม ต่างกันอย่างมีค่านัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดย
นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียน
21



            2.3 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียนด้วยสื่อการ
เรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) โรงเรียนดงบังพิสัยนวการ
นุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 เรื่องแก้ปัญหาเด็ก
นักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ที่ http://chaiwat31.wordpress.com
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ดังตารางที่ 6
            ตารางที่ 6 แสดงคะแนนเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบความแตกต่างของ
คะแนน เฉลี่ยจากกลุ่มตัวอย่างในการทดสอบประสิทธิภาพ แบบภาคสนาม (n=76)

                  คะแนนการประเมินก่อน              คะแนนการประเมินหลัง               t-test
                  เผชิญประสบการณ์                  เผชิญประสบการณ์
                   X               SD.              X                SD.
                  12.34            2.78            14.36             2.99            5.21*
             *P< .05 t (.05, df 19) =1.7291
             จากตารางที่ 6 คะแนนเฉลี่ยก่อนและหลังของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ทีเรียน
                                                                                             ่
ด้วยสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) โรงเรียนดงบัง
พิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 เรื่อง
แก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ที่ http://chaiwat31.wordpress.com
จากการทดสอบประสิทธิภาพแบบภาคสนาม ต่างกันอย่างมีค่านัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดย
นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียน
             2. ในการวิจัย ผลการตรวจสอบนักเรียนที่เรียนด้วยสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้
เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3,5,6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์
จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 ใช้ Social Media “Facebook”
เพื่อการเรียนรู้และใช้ในการแลกเปลี่ยนความรู้ในการจัดกระบวนการเรียนการสอนได้
ซึ่งเป็นรายวิชาคอมพิวเตอร์ที่สอน รวมทั้งกิจกรรมชุมนุมคอมพิวเตอร์ กิจกรรมแนะแนว และเก็บ
ข้อมูลจานวนนักเรียนที่ใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) “Facebook” โดยใช้แบบบันทึกการ
สังเกต การส่งงานใน “Facebook group” Comdongbug ม.3, Comdongbug ม.5,
comdongbug ม.6 ดังตารางที่ 7
             ตารางที่ 7 แสดงผลรวมทั้งหมด ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และแปลความหมาย
ของนักเรียนที่เรียนด้วยสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)
ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3,5,6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขต
พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 ใช้ Social Media “Facebook”เพื่อการเรียนรู้และใช้ในการ
แลกเปลี่ยนความรู้ในการจัดกระบวนการเรียนการสอนได้ แบบสังเกตพฤติกรรม (n=จานวน มัธยมศึกษาปีที่
3 (70คน),5 (92คน) ,6 (76คน) รวมจานวนนักเรียนทั้งหมด 238 คน)
                  แบบสังเกตพฤติกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
      ข้อ                           รายการพฤติกรรม                         ปฏิบัติ      ไม่ปฏิบติ
                                                                                               ั
22



      1              การส่งงานใน เฟซบุ๊ค กลุ่ม Comdongbug ม.3                  64                   6
      2              การส่งงานใน เฟซบุ๊ค กลุ่ม Comdongbug ม.5                  85                   7
      3              การส่งงานใน เฟซบุ๊ค กลุ่ม Comdongbug ม.6                  70                   6
      X                                                                       4.60                0.39
     sd.                                                                      13.89                1.2
 แปลความหมาย       ( X =4.60) คือ นักเรียนทุกคนมี“Facebook” ที่ใช้ในการส่งงานได้

            จากตารางที่ 7 พบว่า โดยเฉลี่ยจานวนนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3,5,6 ทีเรียน
                                                                                        ่
ด้วยสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เพื่อการเรียนรู้และ
ใช้ในการแลกเปลี่ยนความรู้ในการจัดกระบวนการเรียนการสอนได้ ในภาพรวมแล้วอยู่ในระดับ
นักเรียนทุกคนมี“Facebook” ที่ใช้ในการส่งงานได้( X =4.60)
            3. ในการวิจัย ผลความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดย
ใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3,5,6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการ
นุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 ที่
http://chaiwat31.wordpress.com ใช้การสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3,5,6 ซึ่งเป็นรายวิชา
คอมพิวเตอร์ที่สอน รวมทั้งกิจกรรมชุมนุมคอมพิวเตอร์ และกิจกรรมแนะแนว
ผลการวิเคราะห์ความคิดเห็น ดังตารางที่ 8
            ตารางที่ 8 แสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และแปลความหมายของนักเรียน
ที่เรียนจากสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)
 (n=(100) “จานวนมัธยมศึกษาปีที่ 3=29 คน,5=36 คน,6=35 คน)”

              ความคิดเห็น                   จานวนทั้งหมด        X      SD.    แปลความหมาย

1.   นักเรียนชอบเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์                         4.80   4.97   เห็นด้วยอย่างยิ่ง
2.   นักเรียนได้เสาะแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง                      4.08   4.23   เห็นด้วยอย่างยิ่ง
3.   นักเรียนมีความสุขในการเรียน                                3.96   4.10   เห็นด้วยอย่างยิ่ง
4.   นักเรียนมีโอกาสได้ตดสินใจด้วยตนเอง
                        ั                                       5.16   5.35   เห็นด้วยอย่างยิ่ง
5.   นักเรียนมีอสระในการเรียนมากขึน
                 ิ                    ้                         5.04   5.22   เห็นด้วยอย่างยิ่ง
6.   นักเรียนได้รับความรูเ้ หมือนเรียนกับครูตัวจริง             3.96   4.10   เห็นด้วยอย่างยิ่ง
          เฉลี่ยรวม                                             4.50   4.66   เห็นด้วยอย่างยิ่ง

         จากตารางที่ 8 พบว่า โดยเฉลี่ยความคิดเห็นในภาพรวมของนักเรียนมีความคิดเห็นในระดับ
เห็นด้วยอย่างยิ่ง ( X =4.50) นักเรียนมีความคิดเห็นในระดับเห็นด้วยอย่างยิ่งเรียงตามลาดับ คือ
นักเรียนชอบเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ ( X =4.80) นักเรียนได้เสาะแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
( X =4.08) นักเรียนมีความสุขในการเรียน ( X =3.96) นักเรียนมีโอกาสได้ตัดสินใจด้วยตนเอง
( X =5.16) นักเรียนมีอิสระในการเรียนมากขึ้น ( X =5.04) และนักเรียนได้รับความรู้เหมือนเรียนกับ
ครูตัวจริง( X =3.96)

More Related Content

What's hot

การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอน
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอนการใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอน
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอนชิตชัย โพธิ์ประภา
 
คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3
คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3
คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3Somporn Laothongsarn
 

What's hot (20)

บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
ปก
ปกปก
ปก
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอน
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอนการใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอน
การใช้ Social Media ในการจัดการเรียนการสอน
 
คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3
คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3
คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3
 
Instructional 1
Instructional 1Instructional 1
Instructional 1
 
ปก
ปกปก
ปก
 

Similar to บทที่ 4

วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57Kongkrit Pimpa
 
บทความกลุ่มการศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อโซเชียลแคม
บทความกลุ่มการศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อโซเชียลแคมบทความกลุ่มการศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อโซเชียลแคม
บทความกลุ่มการศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อโซเชียลแคมZ'Zui Masze
 
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องเทคโนโลยี ชั้น ป.3
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องเทคโนโลยี ชั้น ป.3คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องเทคโนโลยี ชั้น ป.3
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องเทคโนโลยี ชั้น ป.3inkkuaoy1
 
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...Nakhon Phanom University
 
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...Nakhon Phanom University
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Warunee Kantapanom
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูอรรคชัย วิจิตร การสร้างและพัฒนาแบบฝึกแก้โจทย์ปัญหาเคมี
วิจัยในชั้นเรียน ครูอรรคชัย วิจิตร การสร้างและพัฒนาแบบฝึกแก้โจทย์ปัญหาเคมีวิจัยในชั้นเรียน ครูอรรคชัย วิจิตร การสร้างและพัฒนาแบบฝึกแก้โจทย์ปัญหาเคมี
วิจัยในชั้นเรียน ครูอรรคชัย วิจิตร การสร้างและพัฒนาแบบฝึกแก้โจทย์ปัญหาเคมีพัน พัน
 
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนchaiwat vichianchai
 
แบบประเมิน
แบบประเมินแบบประเมิน
แบบประเมินSurapong Jakang
 
วิจัยในชั้นเรียนครูชัยวัฒน์
วิจัยในชั้นเรียนครูชัยวัฒน์วิจัยในชั้นเรียนครูชัยวัฒน์
วิจัยในชั้นเรียนครูชัยวัฒน์rpg26
 
การไตร่ตรองของครูชัยวัฒน์
การไตร่ตรองของครูชัยวัฒน์การไตร่ตรองของครูชัยวัฒน์
การไตร่ตรองของครูชัยวัฒน์rpg26
 

Similar to บทที่ 4 (20)

เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้
เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้
เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้
 
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57วิจัยในชั้นเรียน ปี57
วิจัยในชั้นเรียน ปี57
 
บทความกลุ่มการศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อโซเชียลแคม
บทความกลุ่มการศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อโซเชียลแคมบทความกลุ่มการศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อโซเชียลแคม
บทความกลุ่มการศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อโซเชียลแคม
 
9
99
9
 
รำคาน
รำคานรำคาน
รำคาน
 
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องเทคโนโลยี ชั้น ป.3
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องเทคโนโลยี ชั้น ป.3คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องเทคโนโลยี ชั้น ป.3
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องเทคโนโลยี ชั้น ป.3
 
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
 
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูอรรคชัย วิจิตร การสร้างและพัฒนาแบบฝึกแก้โจทย์ปัญหาเคมี
วิจัยในชั้นเรียน ครูอรรคชัย วิจิตร การสร้างและพัฒนาแบบฝึกแก้โจทย์ปัญหาเคมีวิจัยในชั้นเรียน ครูอรรคชัย วิจิตร การสร้างและพัฒนาแบบฝึกแก้โจทย์ปัญหาเคมี
วิจัยในชั้นเรียน ครูอรรคชัย วิจิตร การสร้างและพัฒนาแบบฝึกแก้โจทย์ปัญหาเคมี
 
เอ4bestp59
เอ4bestp59เอ4bestp59
เอ4bestp59
 
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
 
แบบประเมิน
แบบประเมินแบบประเมิน
แบบประเมิน
 
13นิตยา
13นิตยา13นิตยา
13นิตยา
 
Pleng23
Pleng23Pleng23
Pleng23
 
Bf15
Bf15Bf15
Bf15
 
สรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
สรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
สรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
 
วิจัยในชั้นเรียนครูชัยวัฒน์
วิจัยในชั้นเรียนครูชัยวัฒน์วิจัยในชั้นเรียนครูชัยวัฒน์
วิจัยในชั้นเรียนครูชัยวัฒน์
 
การไตร่ตรองของครูชัยวัฒน์
การไตร่ตรองของครูชัยวัฒน์การไตร่ตรองของครูชัยวัฒน์
การไตร่ตรองของครูชัยวัฒน์
 
at1
at1at1
at1
 

More from chaiwat vichianchai

ใบความรู้ที่ 8 การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
ใบความรู้ที่ 8  การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video                            ใบความรู้ที่ 8  การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
ใบความรู้ที่ 8 การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video chaiwat vichianchai
 
ใบความรู้ที่ 8 การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
ใบความรู้ที่ 8  การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video                            ใบความรู้ที่ 8  การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
ใบความรู้ที่ 8 การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video chaiwat vichianchai
 
ใบความรู้ที่ 7 การ render
ใบความรู้ที่ 7 การ renderใบความรู้ที่ 7 การ render
ใบความรู้ที่ 7 การ renderchaiwat vichianchai
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การ Render
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การ Renderแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การ Render
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การ Renderchaiwat vichianchai
 
ใบความรู้ที่ 6 การใส่ effect ให้ภาพและเสียง
ใบความรู้ที่ 6 การใส่ effect ให้ภาพและเสียงใบความรู้ที่ 6 การใส่ effect ให้ภาพและเสียง
ใบความรู้ที่ 6 การใส่ effect ให้ภาพและเสียงchaiwat vichianchai
 
ใบความรู้ที่ 5 การเพิ่ม effect ภาพ เสียงหรือกราฟิก
ใบความรู้ที่ 5 การเพิ่ม effect ภาพ เสียงหรือกราฟิกใบความรู้ที่ 5 การเพิ่ม effect ภาพ เสียงหรือกราฟิก
ใบความรู้ที่ 5 การเพิ่ม effect ภาพ เสียงหรือกราฟิกchaiwat vichianchai
 
เรื่อง การใส่เสียงและการใส่กราฟิก
เรื่อง  การใส่เสียงและการใส่กราฟิกเรื่อง  การใส่เสียงและการใส่กราฟิก
เรื่อง การใส่เสียงและการใส่กราฟิกchaiwat vichianchai
 
ใบความรู้ที่ 3 การนำภาพจากกล้อง vdo เข้าคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 การนำภาพจากกล้อง vdo เข้าคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 3 การนำภาพจากกล้อง vdo เข้าคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 การนำภาพจากกล้อง vdo เข้าคอมพิวเตอร์chaiwat vichianchai
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง แนะนำโปรแกรม adobe premier pro
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง  แนะนำโปรแกรม adobe premier proใบความรู้ที่ 2 เรื่อง  แนะนำโปรแกรม adobe premier pro
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง แนะนำโปรแกรม adobe premier prochaiwat vichianchai
 
หนังสือรับรอง(ผอ.เขต)
หนังสือรับรอง(ผอ.เขต)หนังสือรับรอง(ผอ.เขต)
หนังสือรับรอง(ผอ.เขต)chaiwat vichianchai
 
คำนำ สารบัญ ประกาศใช้แผน
คำนำ สารบัญ ประกาศใช้แผนคำนำ สารบัญ ประกาศใช้แผน
คำนำ สารบัญ ประกาศใช้แผนchaiwat vichianchai
 
คำสั่งโรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์(Sar)
คำสั่งโรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์(Sar)คำสั่งโรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์(Sar)
คำสั่งโรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์(Sar)chaiwat vichianchai
 
ประกาศ บทสรุป สารบัญ รายงานประกันดงบังปี 58
ประกาศ บทสรุป สารบัญ รายงานประกันดงบังปี 58ประกาศ บทสรุป สารบัญ รายงานประกันดงบังปี 58
ประกาศ บทสรุป สารบัญ รายงานประกันดงบังปี 58chaiwat vichianchai
 
รายงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีการศึกษา 2558
รายงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีการศึกษา 2558รายงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีการศึกษา 2558
รายงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีการศึกษา 2558chaiwat vichianchai
 

More from chaiwat vichianchai (20)

ใบความรู้ที่ 8 การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
ใบความรู้ที่ 8  การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video                            ใบความรู้ที่ 8  การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
ใบความรู้ที่ 8 การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
 
ใบความรู้ที่ 8 การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
ใบความรู้ที่ 8  การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video                            ใบความรู้ที่ 8  การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
ใบความรู้ที่ 8 การ export ไฟล์ออกมาเป็นไฟล์ video
 
ใบความรู้ที่ 7 การ render
ใบความรู้ที่ 7 การ renderใบความรู้ที่ 7 การ render
ใบความรู้ที่ 7 การ render
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การ Render
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การ Renderแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การ Render
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การ Render
 
ใบความรู้ที่ 6 การใส่ effect ให้ภาพและเสียง
ใบความรู้ที่ 6 การใส่ effect ให้ภาพและเสียงใบความรู้ที่ 6 การใส่ effect ให้ภาพและเสียง
ใบความรู้ที่ 6 การใส่ effect ให้ภาพและเสียง
 
ใบความรู้ที่ 5 การเพิ่ม effect ภาพ เสียงหรือกราฟิก
ใบความรู้ที่ 5 การเพิ่ม effect ภาพ เสียงหรือกราฟิกใบความรู้ที่ 5 การเพิ่ม effect ภาพ เสียงหรือกราฟิก
ใบความรู้ที่ 5 การเพิ่ม effect ภาพ เสียงหรือกราฟิก
 
เรื่อง การใส่เสียงและการใส่กราฟิก
เรื่อง  การใส่เสียงและการใส่กราฟิกเรื่อง  การใส่เสียงและการใส่กราฟิก
เรื่อง การใส่เสียงและการใส่กราฟิก
 
ใบความรู้ที่ 3 การนำภาพจากกล้อง vdo เข้าคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 การนำภาพจากกล้อง vdo เข้าคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 3 การนำภาพจากกล้อง vdo เข้าคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 การนำภาพจากกล้อง vdo เข้าคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง แนะนำโปรแกรม adobe premier pro
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง  แนะนำโปรแกรม adobe premier proใบความรู้ที่ 2 เรื่อง  แนะนำโปรแกรม adobe premier pro
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง แนะนำโปรแกรม adobe premier pro
 
หนังสือรับรอง(ผอ.เขต)
หนังสือรับรอง(ผอ.เขต)หนังสือรับรอง(ผอ.เขต)
หนังสือรับรอง(ผอ.เขต)
 
คำนำ สารบัญ ประกาศใช้แผน
คำนำ สารบัญ ประกาศใช้แผนคำนำ สารบัญ ประกาศใช้แผน
คำนำ สารบัญ ประกาศใช้แผน
 
ส่วนที่ ๔
ส่วนที่  ๔ส่วนที่  ๔
ส่วนที่ ๔
 
ส่วนที่ ๓
ส่วนที่  ๓ส่วนที่  ๓
ส่วนที่ ๓
 
ส่วนที่ ๒
ส่วนที่  ๒ส่วนที่  ๒
ส่วนที่ ๒
 
ส่วนที่ ๑
ส่วนที่ ๑ส่วนที่ ๑
ส่วนที่ ๑
 
ปก
ปกปก
ปก
 
คำสั่งโรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์(Sar)
คำสั่งโรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์(Sar)คำสั่งโรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์(Sar)
คำสั่งโรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์(Sar)
 
ประกาศ บทสรุป สารบัญ รายงานประกันดงบังปี 58
ประกาศ บทสรุป สารบัญ รายงานประกันดงบังปี 58ประกาศ บทสรุป สารบัญ รายงานประกันดงบังปี 58
ประกาศ บทสรุป สารบัญ รายงานประกันดงบังปี 58
 
รายงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีการศึกษา 2558
รายงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีการศึกษา 2558รายงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีการศึกษา 2558
รายงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีการศึกษา 2558
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 

บทที่ 4

  • 1. บทที่ 4 ผลการวิจัย ในการวิจัย การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เรื่องแก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3,5,6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 ที่ http://chaiwat31.wordpress.com ใช้การสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3,5,6 ซึง ่ เป็นรายวิชาคอมพิวเตอร์ที่สอน รวมทั้งกิจกรรมชุมนุมคอมพิวเตอร์ และกิจกรรมแนะแนว 1. ผลการทดสอบประสิทธิภาพของสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อ สังคม (Social Media) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3,5,6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัด มหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 เรื่องแก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊ก ด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ที่ http://chaiwat31.wordpress.com 1.1 ผลการทดสอบประสิทธิภาพของสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนดงบังพิสัยนว การนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 เรื่องแก้ปัญหาเด็ก นักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยสอนผ่านบล็อก ที่ http://chaiwat31.wordpress.com แบบภาคสนาม ดังตารางที่ 1 ตารางที่ 1 แสดงค่าร้อยละของคะแนนจากการตอบคาถามท้ายหน่วย และคะแนนจาก การทดสอบหลังเรียน แบบภาคสนาม (n=76) คะแนนจากการตอบคาถาม คะแนนจากการทดสอบ E1/E2 ท้ายหน่วย หลังเรียน (ร้อยละ) (ร้อยละ) 84.17 66.45 84.17/66.45 จากตารางที่ 1 พบว่า การทดสอบประสิทธิภาพแบบภาคสนามสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียน ดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 เรื่องแก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยสอนผ่านบล็อก ที่ http://chaiwat31.wordpress.com มีประสิทธิภาพ 84.17/66.45 1.2 ผลการทดสอบประสิทธิภาพของสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียน ดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 เรื่องแก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยสอนผ่านบล็อก ที่ http://chaiwat31.wordpress.com แบบภาคสนาม ดังตารางที่ 2 ตารางที่ 2 แสดงค่าร้อยละของคะแนนจากการตอบคาถามท้ายหน่วย และคะแนนจาก การทดสอบหลังเรียน แบบภาคสนาม (n=92) คะแนนจากการตอบคาถาม คะแนนจากการทดสอบ E1/E2
  • 2. 19 ท้ายหน่วย หลังเรียน (ร้อยละ) (ร้อยละ) 75.25 77.66 75.25/77.66 จากตารางที่ 2 พบว่า การทดสอบประสิทธิภาพแบบภาคสนามสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียน ดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 เรื่องแก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยสอนผ่านบล็อก ที่ http://chaiwat31.wordpress.com มีประสิทธิภาพ 75.25/77.66 1.3 ผลการทดสอบประสิทธิภาพของสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนดงบังพิสัยนว การนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 เรื่องแก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยสอนผ่านบล็อก ที่ http://chaiwat31.wordpress.com แบบภาคสนาม ดังตารางที่ 3 จากตารางที่ 3 แสดงค่าร้อยละของคะแนนจากการตอบคาถามท้ายหน่วย และคะแนน จากการทดสอบหลังเรียน แบบภาคสนาม (n=76) คะแนนจากการตอบคาถาม คะแนนจากการทดสอบ E1/E2 ท้ายหน่วย หลังเรียน (ร้อยละ) (ร้อยละ) 84.25 71.84 84.25/71.84 จากตารางที่ 3 พบว่า การทดสอบประสิทธิภาพแบบภาคสนามสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียน ดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 ที่ http://chaiwat31.wordpress.com เรื่องแก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยสอนผ่านบล็อก มีประสิทธิภาพ 84.25/71.84 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อ สังคม (Social Media) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3,5,6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัด มหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 เรื่องแก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊ก ด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ที่ http://chaiwat31.wordpress.com 2.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนด้วยสื่อการ เรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) โรงเรียนดงบังพิสัยนวการ นุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 เรื่องแก้ปัญหาเด็ก นักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ที่ http://chaiwat31.wordpress.com ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ดังตารางที่ 4
  • 3. 20 ตารางที่ 4 แสดงคะแนนเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบความแตกต่างของ คะแนน เฉลี่ยจากกลุ่มตัวอย่างในการทดสอบประสิทธิภาพ แบบภาคสนาม (n=76) คะแนนการประเมินก่อน คะแนนการประเมินหลัง t-test เผชิญประสบการณ์ เผชิญประสบการณ์ X SD. X SD. 9.32 0.59 10.05 0.87 5.24* *P< .05 t (.05, df 19) =1.7291 จากตารางที่ 4 คะแนนเฉลี่ยก่อนและหลังของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ทีเรียน่ ด้วยสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) โรงเรียนดงบัง พิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 เรื่อง แก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ที่ http://chaiwat31.wordpress.com จากการทดสอบประสิทธิภาพแบบภาคสนาม ต่างกันอย่างมีค่านัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดย นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียน 2.2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนด้วยสื่อการ เรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) โรงเรียนดงบังพิสัยนวการ นุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 เรื่องแก้ปัญหาเด็ก นักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ที่ http://chaiwat31.wordpress.com ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ดังตารางที่ 5 ตารางที่ 5 แสดงคะแนนเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบความแตกต่างของ คะแนน เฉลี่ยจากกลุ่มตัวอย่างในการทดสอบประสิทธิภาพ แบบภาคสนาม (n=92) คะแนนการประเมินก่อน คะแนนการประเมินหลัง t-test เผชิญประสบการณ์ เผชิญประสบการณ์ X SD. X SD. 13.68 2.18 16.56 3.44 5.02* *P< .05 t (.05, df 19) =1.7291 จากตารางที่ 5 คะแนนเฉลี่ยก่อนและหลังของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ทีเรียน ่ ด้วยสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) โรงเรียนดงบัง พิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 เรื่อง แก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ที่ http://chaiwat31.wordpress.com จากการทดสอบประสิทธิภาพแบบภาคสนาม ต่างกันอย่างมีค่านัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดย นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียน
  • 4. 21 2.3 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียนด้วยสื่อการ เรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) โรงเรียนดงบังพิสัยนวการ นุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 เรื่องแก้ปัญหาเด็ก นักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ที่ http://chaiwat31.wordpress.com ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ดังตารางที่ 6 ตารางที่ 6 แสดงคะแนนเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบความแตกต่างของ คะแนน เฉลี่ยจากกลุ่มตัวอย่างในการทดสอบประสิทธิภาพ แบบภาคสนาม (n=76) คะแนนการประเมินก่อน คะแนนการประเมินหลัง t-test เผชิญประสบการณ์ เผชิญประสบการณ์ X SD. X SD. 12.34 2.78 14.36 2.99 5.21* *P< .05 t (.05, df 19) =1.7291 จากตารางที่ 6 คะแนนเฉลี่ยก่อนและหลังของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ทีเรียน ่ ด้วยสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) โรงเรียนดงบัง พิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 เรื่อง แก้ปัญหาเด็กนักเรียนติดเฟซบุ๊กด้วยการสอนผ่านเว็บบล็อก ที่ http://chaiwat31.wordpress.com จากการทดสอบประสิทธิภาพแบบภาคสนาม ต่างกันอย่างมีค่านัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดย นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียน 2. ในการวิจัย ผลการตรวจสอบนักเรียนที่เรียนด้วยสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้ เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3,5,6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 ใช้ Social Media “Facebook” เพื่อการเรียนรู้และใช้ในการแลกเปลี่ยนความรู้ในการจัดกระบวนการเรียนการสอนได้ ซึ่งเป็นรายวิชาคอมพิวเตอร์ที่สอน รวมทั้งกิจกรรมชุมนุมคอมพิวเตอร์ กิจกรรมแนะแนว และเก็บ ข้อมูลจานวนนักเรียนที่ใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) “Facebook” โดยใช้แบบบันทึกการ สังเกต การส่งงานใน “Facebook group” Comdongbug ม.3, Comdongbug ม.5, comdongbug ม.6 ดังตารางที่ 7 ตารางที่ 7 แสดงผลรวมทั้งหมด ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และแปลความหมาย ของนักเรียนที่เรียนด้วยสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3,5,6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขต พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 ใช้ Social Media “Facebook”เพื่อการเรียนรู้และใช้ในการ แลกเปลี่ยนความรู้ในการจัดกระบวนการเรียนการสอนได้ แบบสังเกตพฤติกรรม (n=จานวน มัธยมศึกษาปีที่ 3 (70คน),5 (92คน) ,6 (76คน) รวมจานวนนักเรียนทั้งหมด 238 คน) แบบสังเกตพฤติกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ข้อ รายการพฤติกรรม ปฏิบัติ ไม่ปฏิบติ ั
  • 5. 22 1 การส่งงานใน เฟซบุ๊ค กลุ่ม Comdongbug ม.3 64 6 2 การส่งงานใน เฟซบุ๊ค กลุ่ม Comdongbug ม.5 85 7 3 การส่งงานใน เฟซบุ๊ค กลุ่ม Comdongbug ม.6 70 6 X 4.60 0.39 sd. 13.89 1.2 แปลความหมาย ( X =4.60) คือ นักเรียนทุกคนมี“Facebook” ที่ใช้ในการส่งงานได้ จากตารางที่ 7 พบว่า โดยเฉลี่ยจานวนนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3,5,6 ทีเรียน ่ ด้วยสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เพื่อการเรียนรู้และ ใช้ในการแลกเปลี่ยนความรู้ในการจัดกระบวนการเรียนการสอนได้ ในภาพรวมแล้วอยู่ในระดับ นักเรียนทุกคนมี“Facebook” ที่ใช้ในการส่งงานได้( X =4.60) 3. ในการวิจัย ผลความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ (Online) โดย ใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3,5,6 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการ นุสรณ์ จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 ที่ http://chaiwat31.wordpress.com ใช้การสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3,5,6 ซึ่งเป็นรายวิชา คอมพิวเตอร์ที่สอน รวมทั้งกิจกรรมชุมนุมคอมพิวเตอร์ และกิจกรรมแนะแนว ผลการวิเคราะห์ความคิดเห็น ดังตารางที่ 8 ตารางที่ 8 แสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และแปลความหมายของนักเรียน ที่เรียนจากสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ Online) โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) (n=(100) “จานวนมัธยมศึกษาปีที่ 3=29 คน,5=36 คน,6=35 คน)” ความคิดเห็น จานวนทั้งหมด X SD. แปลความหมาย 1. นักเรียนชอบเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ 4.80 4.97 เห็นด้วยอย่างยิ่ง 2. นักเรียนได้เสาะแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง 4.08 4.23 เห็นด้วยอย่างยิ่ง 3. นักเรียนมีความสุขในการเรียน 3.96 4.10 เห็นด้วยอย่างยิ่ง 4. นักเรียนมีโอกาสได้ตดสินใจด้วยตนเอง ั 5.16 5.35 เห็นด้วยอย่างยิ่ง 5. นักเรียนมีอสระในการเรียนมากขึน ิ ้ 5.04 5.22 เห็นด้วยอย่างยิ่ง 6. นักเรียนได้รับความรูเ้ หมือนเรียนกับครูตัวจริง 3.96 4.10 เห็นด้วยอย่างยิ่ง เฉลี่ยรวม 4.50 4.66 เห็นด้วยอย่างยิ่ง จากตารางที่ 8 พบว่า โดยเฉลี่ยความคิดเห็นในภาพรวมของนักเรียนมีความคิดเห็นในระดับ เห็นด้วยอย่างยิ่ง ( X =4.50) นักเรียนมีความคิดเห็นในระดับเห็นด้วยอย่างยิ่งเรียงตามลาดับ คือ นักเรียนชอบเรียนด้วยบทเรียนออนไลน์ ( X =4.80) นักเรียนได้เสาะแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ( X =4.08) นักเรียนมีความสุขในการเรียน ( X =3.96) นักเรียนมีโอกาสได้ตัดสินใจด้วยตนเอง ( X =5.16) นักเรียนมีอิสระในการเรียนมากขึ้น ( X =5.04) และนักเรียนได้รับความรู้เหมือนเรียนกับ ครูตัวจริง( X =3.96)