SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
บทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต                         0|Page


 คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต
 ประกอบการเรียนรายวิชา ฟิสิกส์เพิ่มเติม 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555




                                       จัดทาโดย
                                 ครูสมพร เหล่าทองสาร
                                     ครูชานาญการ



                โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ ตาบลดงบัง
                      อาเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม
        สานักงานเขตพื่นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 (มหาสารคาม)


จัดทาโดยครูสมพร เหล่าทองสาร ครูชานาญการ โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม.26
บทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต                              1|Page


                                            คานา
        เอกสารเล่มนี้จัดทาขึ้นเพื่อการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่อง
ไฟฟ้าสถิต ประกอบการเรียนรายวิชา ฟิสิกส์เพิ่มเติม 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26
จังหวัดมหาสารคาม โดยมีวัตถุประสงค์ให้ผู้เรียนและบุคคลทั่วไปสามารถที่มีความสนใจในเนื้อหา
สามารถเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด
       หากเอกสารเล่มนี้มีข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดทาขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วย และขอน้อมรับ
ข้อเสนอแนะเพื่อนาไปปรับปรุงแก้ไขในโอกาสต่อไป



                                                            นายสมพร เหล่าทองสาร
                                                                  ผู้จัดทา




จัดทาโดยครูสมพร เหล่าทองสาร ครูชานาญการ โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม.26
บทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต                         2|Page


วิธีการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์

   1. เข้าใช้งานอินเตอร์โดยใช้ โปรแกรมเว็บบราวเซอร์ เช่น กูเกิลโครม
       อินเตอร์เน็ตเอกซ์พลอเรอร์           หรือ ไฟร์ฟอกซ์       เป็นต้น

   2. พิมพ์ ULR ที่ Address bar ชื่อ http://somporndb.wordpress.com
   3. จะปรากฏเว็บไซต์สาหรับประกอบการเรียนในเนื้อหาเรื่องไฟฟ้าสถิต ในบทที่ 13 ตาม
      หนังสือเรียนของ สสวท.




   4. โดยนักเรียนชั้น ม.6 ที่เรียนในรายวิชาฟิสิกส์กับครูสมพร เหล่าทองสาร จะดาเนินการ
      ลงทะเบียนโดยคลิกที่ปุ่มลงทะเบียน




จัดทาโดยครูสมพร เหล่าทองสาร ครูชานาญการ โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม.26
บทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต                         3|Page


   5. จะปรากฏให้นักเรียนกรอกข้อมูลที่จาเป็นสาหรับใช้ในการเข้าใช้งาน เมื่อกรอกข้อมูลเสร็จ
      ก็คลิกส่งข้อมูล




จัดทาโดยครูสมพร เหล่าทองสาร ครูชานาญการ โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม.26
บทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต                            4|Page


   6. สาหรับการเรียนจะกลับมาที่หน้าจอหลักโดยมีเมนูหลักด้านบนประกอบด้วย เมนูหน้า คือ
      หน้าหลัก,U13:ไฟฟ้าสถิต, U14:ไฟฟ้ากระแส, U15:ไฟฟ้าและแม่เหล็ก, U16:คลื่น
      แม่เหล็กไฟฟ้า และรายงานผล ดังรูป




   7. เมื่อนาเมาส์ไปชี้ที่ U13:ไฟฟ้าสถิต จะปรากฏเมนูเนื้อหาย่อยขึ้นมา ซึ่งนักเรียนสามารถเข้า
      ไปเลือกศึกษาได้ดังรูป




   8. ซึ่งในเนื้อหาย่อยจะประกอบด้วย ได้แก่ 13.0 แบบทดสอบก่อนเรียน 13.1 ประจุไฟฟ้า
      13.2 กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า เป็นต้นโดยก่อนทาการเข้าเรียนให้นักเรียนทา
      แบบทดสอบวัดความรู้พื้นฐาน โดยทาแบบทดสอบก่อนเรียนที่หัวข้อ 13.0 จะประกฏหน้า
      ใหม่ดังรูป




จัดทาโดยครูสมพร เหล่าทองสาร ครูชานาญการ โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม.26
บทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต                             5|Page




       ซึ่งข้อสอบมีจานวน 20 ข้อ เมื่อทาเสร็จแล้วก็คลิกปุ่ม Submit เพื่อส่งข้อมูล




จัดทาโดยครูสมพร เหล่าทองสาร ครูชานาญการ โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม.26
บทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต                             6|Page


   9. นักเรียนเริ่มเข้าทาการศึกษาเนื้อหา ซึ่งมีทั้งหมด 12 หัวข้อ ตัวอย่าง ดังรูป




   10. เมื่อนักเรียนเข้าทาการศึกษาครบทั้ง 12 หัวข้อแล้วทาการทาแบบทดสอบหลังเรียน
   11. ครูผู้สอนจะมีการรายงานผลการเข้าทากิจกรรมโดยผ่านระบบ Google Docs ซึ่งจะมีกา
       รายงานผลที่หน้าจอ เมนูหลัก ชื่อ รายงานผล ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนสามารถตรวจสอบการ
       เข้าใช้งานได้อย่างครบถ้วน




จัดทาโดยครูสมพร เหล่าทองสาร ครูชานาญการ โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม.26
บทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต                          7|Page


   12. นอกเหนือจากมีเมนูหลักแล้ว ยังมีเมนูด้านข้าง (Side bar) ซึ่งจะอยู่ด้านขวามือของ
       หน้าจอ สาหรับเป็นทางลัดในการเข้าศึกษา เช่น เมนู ฟิสิกส์ ม.6 ว 30204 (ภาคเรียนที่ 1)
       และเนื้อหาอื่นที่ผู้สอนได้จัดเตรียมไว้




   13. ในการเลือกใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม ผู้สอนเลือกใช้ Facebook ในการติดต่อสื่อสารกับ
       นักเรียน ซึ่งนักเรียนสามารถเข้ามาแสดงความคิดเห็นได้ โดยมีการจัดทาหน้า (Page) ที่มี
       ชื่อว่า เรียนฟิสิกส์ม.6 กับครูสมพร โดยคลิกที่เมนูด้านข้าง ดังรูป




จัดทาโดยครูสมพร เหล่าทองสาร ครูชานาญการ โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม.26
บทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต                           8|Page


   14. จะปรากฏหน้าเพจ เรียนฟิสิกส์ม.6 กับครูสมพร ดังรูป ซึ่งในที่นี้บุคคลทั่วไปจะสามารถเข้า
       ดูเนื้อหาได้




   15. ผู้สอนได้ให้นักเรียนสมัครเป็นสมาชิก Facebook เพื่อสามารถเข้ามาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน
       โดยเมื่อนักเรียนมี Account ของ Facebook เป็นของตนเองแล้ว ได้ทาการเป็นเพื่อนกับ
       ผู้สอนในระบบ ซึ่งใน Facebook จะมีการตั้งกลุ่มชื่อ เรียนฟิสิกส์ ม.6 กับครูสมพร ขึ้นมา
       เฉพาะสาหรับนักเรียนที่เรียนฟิสิกส์กับครูสมพร ดังรูป




จัดทาโดยครูสมพร เหล่าทองสาร ครูชานาญการ โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม.26
บทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต                             9|Page




   16. เมื่อคลิกเข้ามาที่กลุ่มจะปรากฏหน้ากลุ่มของสมาชิก สาหรับการเข้ามาแสดงความคิดเห็น
       แลกเปลี่ยนเรียนรู้ สอบถามปัญหาที่เรียนไม่เข้าใจ




         17. ซึ่งเรียนผู้สอนและผู้เรียนสามารถแบ่งปันข้อมูลกันได้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม




จัดทาโดยครูสมพร เหล่าทองสาร ครูชานาญการ โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม.26

More Related Content

What's hot

บันได 6 ขั้นสู่ความสำเร็จ การสอนแบบโครงงานในเนื้อหา
บันได 6 ขั้นสู่ความสำเร็จ  การสอนแบบโครงงานในเนื้อหาบันได 6 ขั้นสู่ความสำเร็จ  การสอนแบบโครงงานในเนื้อหา
บันได 6 ขั้นสู่ความสำเร็จ การสอนแบบโครงงานในเนื้อหาpanida428
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทNamphon Srikham
 

What's hot (20)

บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
ปก
ปกปก
ปก
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
ปก
ปกปก
ปก
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บันได 6 ขั้นสู่ความสำเร็จ การสอนแบบโครงงานในเนื้อหา
บันได 6 ขั้นสู่ความสำเร็จ  การสอนแบบโครงงานในเนื้อหาบันได 6 ขั้นสู่ความสำเร็จ  การสอนแบบโครงงานในเนื้อหา
บันได 6 ขั้นสู่ความสำเร็จ การสอนแบบโครงงานในเนื้อหา
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 

Viewers also liked

เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์thanakit553
 
ไฟฟ้าและแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าและแม่เหล็ก1ไฟฟ้าและแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าและแม่เหล็ก1thanakit553
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตthanakit553
 

Viewers also liked (16)

บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of charge)
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of  charge)กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of  charge)
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of charge)
 
Charge (ประจุไฟฟ้า)
Charge (ประจุไฟฟ้า) Charge (ประจุไฟฟ้า)
Charge (ประจุไฟฟ้า)
 
ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)
ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)
ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)
 
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
 
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
ไฟฟ้าสถิตPpt
ไฟฟ้าสถิตPptไฟฟ้าสถิตPpt
ไฟฟ้าสถิตPpt
 
stem
stemstem
stem
 
ไฟฟ้าและแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าและแม่เหล็ก1ไฟฟ้าและแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าและแม่เหล็ก1
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
 
บทนำ
บทนำบทนำ
บทนำ
 

Similar to คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3

บทที่ 5 sec 1
บทที่ 5 sec 1บทที่ 5 sec 1
บทที่ 5 sec 1yaowalakMathEd
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Fern's Supakyada
 
วิจัยในชั้นเรียนครูชัยวัฒน์
วิจัยในชั้นเรียนครูชัยวัฒน์วิจัยในชั้นเรียนครูชัยวัฒน์
วิจัยในชั้นเรียนครูชัยวัฒน์rpg26
 
การไตร่ตรองของครูชัยวัฒน์
การไตร่ตรองของครูชัยวัฒน์การไตร่ตรองของครูชัยวัฒน์
การไตร่ตรองของครูชัยวัฒน์rpg26
 
Work1 phattraphorn
Work1 phattraphornWork1 phattraphorn
Work1 phattraphornssuser08841b
 
Work1 phattraphorn
Work1 phattraphornWork1 phattraphorn
Work1 phattraphornssuser08841b
 
2562 final-project phattraphorn-26
2562 final-project phattraphorn-262562 final-project phattraphorn-26
2562 final-project phattraphorn-26ssuser08841b
 
Work1 phattraphorn
Work1 phattraphornWork1 phattraphorn
Work1 phattraphornssuser08841b
 
Introduction to technologies chapter 5
Introduction to technologies chapter 5Introduction to technologies chapter 5
Introduction to technologies chapter 5pompompam
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project mrpainaty
 
แผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ New
แผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ Newแผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ New
แผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ NewNattayaporn Dokbua
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์mina612
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้JaengJy Doublej
 
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้TupPee Zhouyongfang
 

Similar to คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3 (20)

Pleng23
Pleng23Pleng23
Pleng23
 
Bf15
Bf15Bf15
Bf15
 
บทที่ 5 sec 1
บทที่ 5 sec 1บทที่ 5 sec 1
บทที่ 5 sec 1
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
วิจัยในชั้นเรียนครูชัยวัฒน์
วิจัยในชั้นเรียนครูชัยวัฒน์วิจัยในชั้นเรียนครูชัยวัฒน์
วิจัยในชั้นเรียนครูชัยวัฒน์
 
การไตร่ตรองของครูชัยวัฒน์
การไตร่ตรองของครูชัยวัฒน์การไตร่ตรองของครูชัยวัฒน์
การไตร่ตรองของครูชัยวัฒน์
 
Work1 phattraphorn
Work1 phattraphornWork1 phattraphorn
Work1 phattraphorn
 
Work1 phattraphorn
Work1 phattraphornWork1 phattraphorn
Work1 phattraphorn
 
2562 final-project phattraphorn-26
2562 final-project phattraphorn-262562 final-project phattraphorn-26
2562 final-project phattraphorn-26
 
Work1 phattraphorn
Work1 phattraphornWork1 phattraphorn
Work1 phattraphorn
 
Introduction to technologies chapter 5
Introduction to technologies chapter 5Introduction to technologies chapter 5
Introduction to technologies chapter 5
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
แผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ New
แผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ Newแผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ New
แผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ New
 
Com work
Com workCom work
Com work
 
ใบงานที่6งานคอม
ใบงานที่6งานคอมใบงานที่6งานคอม
ใบงานที่6งานคอม
 
ใบงานที่6งานคอม
ใบงานที่6งานคอมใบงานที่6งานคอม
ใบงานที่6งานคอม
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
 
Is pre
Is preIs pre
Is pre
 

More from Somporn Laothongsarn

เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าSomporn Laothongsarn
 
เรื่อง รังสีเอ็กซ์
เรื่อง  รังสีเอ็กซ์เรื่อง  รังสีเอ็กซ์
เรื่อง รังสีเอ็กซ์Somporn Laothongsarn
 
เรื่อง รังสีอัลตราไวโอเลต
เรื่อง  รังสีอัลตราไวโอเลตเรื่อง  รังสีอัลตราไวโอเลต
เรื่อง รังสีอัลตราไวโอเลตSomporn Laothongsarn
 
เรื่อง รังสีอินฟราเรด
เรื่อง  รังสีอินฟราเรดเรื่อง  รังสีอินฟราเรด
เรื่อง รังสีอินฟราเรดSomporn Laothongsarn
 
เรื่อง คลื่นไมโครเวฟ
เรื่อง  คลื่นไมโครเวฟเรื่อง  คลื่นไมโครเวฟ
เรื่อง คลื่นไมโครเวฟSomporn Laothongsarn
 
เรื่อง คลื่นโทรทัศน์
เรื่อง  คลื่นโทรทัศน์เรื่อง  คลื่นโทรทัศน์
เรื่อง คลื่นโทรทัศน์Somporn Laothongsarn
 
เรื่อง คลื่นวิทยุ
เรื่อง  คลื่นวิทยุเรื่อง  คลื่นวิทยุ
เรื่อง คลื่นวิทยุSomporn Laothongsarn
 
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าSomporn Laothongsarn
 
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการเรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการSomporn Laothongsarn
 
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ
เรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศเรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศSomporn Laothongsarn
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2Somporn Laothongsarn
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1Somporn Laothongsarn
 

More from Somporn Laothongsarn (15)

Physical quantity and units
Physical quantity and unitsPhysical quantity and units
Physical quantity and units
 
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่อง  โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง โพลาไรเซชันของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
เรื่อง รังสีเอ็กซ์
เรื่อง  รังสีเอ็กซ์เรื่อง  รังสีเอ็กซ์
เรื่อง รังสีเอ็กซ์
 
เรื่อง รังสีอัลตราไวโอเลต
เรื่อง  รังสีอัลตราไวโอเลตเรื่อง  รังสีอัลตราไวโอเลต
เรื่อง รังสีอัลตราไวโอเลต
 
เรื่อง แสง
เรื่อง  แสงเรื่อง  แสง
เรื่อง แสง
 
เรื่อง รังสีอินฟราเรด
เรื่อง  รังสีอินฟราเรดเรื่อง  รังสีอินฟราเรด
เรื่อง รังสีอินฟราเรด
 
เรื่อง คลื่นไมโครเวฟ
เรื่อง  คลื่นไมโครเวฟเรื่อง  คลื่นไมโครเวฟ
เรื่อง คลื่นไมโครเวฟ
 
เรื่อง คลื่นโทรทัศน์
เรื่อง  คลื่นโทรทัศน์เรื่อง  คลื่นโทรทัศน์
เรื่อง คลื่นโทรทัศน์
 
เรื่อง คลื่นวิทยุ
เรื่อง  คลื่นวิทยุเรื่อง  คลื่นวิทยุ
เรื่อง คลื่นวิทยุ
 
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการเรื่อง  ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
เรื่อง ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์และการ
 
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ
เรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศเรื่อง  การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ
เรื่อง การแผ่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากสายอากาศ
 
Giftedfactors
GiftedfactorsGiftedfactors
Giftedfactors
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
 

คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3

  • 1. บทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 0|Page คู่มือการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต ประกอบการเรียนรายวิชา ฟิสิกส์เพิ่มเติม 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 จัดทาโดย ครูสมพร เหล่าทองสาร ครูชานาญการ โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ ตาบลดงบัง อาเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม สานักงานเขตพื่นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 (มหาสารคาม) จัดทาโดยครูสมพร เหล่าทองสาร ครูชานาญการ โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม.26
  • 2. บทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 1|Page คานา เอกสารเล่มนี้จัดทาขึ้นเพื่อการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่อง ไฟฟ้าสถิต ประกอบการเรียนรายวิชา ฟิสิกส์เพิ่มเติม 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 26 จังหวัดมหาสารคาม โดยมีวัตถุประสงค์ให้ผู้เรียนและบุคคลทั่วไปสามารถที่มีความสนใจในเนื้อหา สามารถเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด หากเอกสารเล่มนี้มีข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดทาขออภัยไว้ ณ ที่นี้ด้วย และขอน้อมรับ ข้อเสนอแนะเพื่อนาไปปรับปรุงแก้ไขในโอกาสต่อไป นายสมพร เหล่าทองสาร ผู้จัดทา จัดทาโดยครูสมพร เหล่าทองสาร ครูชานาญการ โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม.26
  • 3. บทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 2|Page วิธีการเข้าใช้งานบทเรียนออนไลน์ 1. เข้าใช้งานอินเตอร์โดยใช้ โปรแกรมเว็บบราวเซอร์ เช่น กูเกิลโครม อินเตอร์เน็ตเอกซ์พลอเรอร์ หรือ ไฟร์ฟอกซ์ เป็นต้น 2. พิมพ์ ULR ที่ Address bar ชื่อ http://somporndb.wordpress.com 3. จะปรากฏเว็บไซต์สาหรับประกอบการเรียนในเนื้อหาเรื่องไฟฟ้าสถิต ในบทที่ 13 ตาม หนังสือเรียนของ สสวท. 4. โดยนักเรียนชั้น ม.6 ที่เรียนในรายวิชาฟิสิกส์กับครูสมพร เหล่าทองสาร จะดาเนินการ ลงทะเบียนโดยคลิกที่ปุ่มลงทะเบียน จัดทาโดยครูสมพร เหล่าทองสาร ครูชานาญการ โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม.26
  • 4. บทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 3|Page 5. จะปรากฏให้นักเรียนกรอกข้อมูลที่จาเป็นสาหรับใช้ในการเข้าใช้งาน เมื่อกรอกข้อมูลเสร็จ ก็คลิกส่งข้อมูล จัดทาโดยครูสมพร เหล่าทองสาร ครูชานาญการ โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม.26
  • 5. บทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 4|Page 6. สาหรับการเรียนจะกลับมาที่หน้าจอหลักโดยมีเมนูหลักด้านบนประกอบด้วย เมนูหน้า คือ หน้าหลัก,U13:ไฟฟ้าสถิต, U14:ไฟฟ้ากระแส, U15:ไฟฟ้าและแม่เหล็ก, U16:คลื่น แม่เหล็กไฟฟ้า และรายงานผล ดังรูป 7. เมื่อนาเมาส์ไปชี้ที่ U13:ไฟฟ้าสถิต จะปรากฏเมนูเนื้อหาย่อยขึ้นมา ซึ่งนักเรียนสามารถเข้า ไปเลือกศึกษาได้ดังรูป 8. ซึ่งในเนื้อหาย่อยจะประกอบด้วย ได้แก่ 13.0 แบบทดสอบก่อนเรียน 13.1 ประจุไฟฟ้า 13.2 กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า เป็นต้นโดยก่อนทาการเข้าเรียนให้นักเรียนทา แบบทดสอบวัดความรู้พื้นฐาน โดยทาแบบทดสอบก่อนเรียนที่หัวข้อ 13.0 จะประกฏหน้า ใหม่ดังรูป จัดทาโดยครูสมพร เหล่าทองสาร ครูชานาญการ โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม.26
  • 6. บทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 5|Page ซึ่งข้อสอบมีจานวน 20 ข้อ เมื่อทาเสร็จแล้วก็คลิกปุ่ม Submit เพื่อส่งข้อมูล จัดทาโดยครูสมพร เหล่าทองสาร ครูชานาญการ โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม.26
  • 7. บทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 6|Page 9. นักเรียนเริ่มเข้าทาการศึกษาเนื้อหา ซึ่งมีทั้งหมด 12 หัวข้อ ตัวอย่าง ดังรูป 10. เมื่อนักเรียนเข้าทาการศึกษาครบทั้ง 12 หัวข้อแล้วทาการทาแบบทดสอบหลังเรียน 11. ครูผู้สอนจะมีการรายงานผลการเข้าทากิจกรรมโดยผ่านระบบ Google Docs ซึ่งจะมีกา รายงานผลที่หน้าจอ เมนูหลัก ชื่อ รายงานผล ซึ่งจะช่วยให้นักเรียนสามารถตรวจสอบการ เข้าใช้งานได้อย่างครบถ้วน จัดทาโดยครูสมพร เหล่าทองสาร ครูชานาญการ โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม.26
  • 8. บทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 7|Page 12. นอกเหนือจากมีเมนูหลักแล้ว ยังมีเมนูด้านข้าง (Side bar) ซึ่งจะอยู่ด้านขวามือของ หน้าจอ สาหรับเป็นทางลัดในการเข้าศึกษา เช่น เมนู ฟิสิกส์ ม.6 ว 30204 (ภาคเรียนที่ 1) และเนื้อหาอื่นที่ผู้สอนได้จัดเตรียมไว้ 13. ในการเลือกใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม ผู้สอนเลือกใช้ Facebook ในการติดต่อสื่อสารกับ นักเรียน ซึ่งนักเรียนสามารถเข้ามาแสดงความคิดเห็นได้ โดยมีการจัดทาหน้า (Page) ที่มี ชื่อว่า เรียนฟิสิกส์ม.6 กับครูสมพร โดยคลิกที่เมนูด้านข้าง ดังรูป จัดทาโดยครูสมพร เหล่าทองสาร ครูชานาญการ โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม.26
  • 9. บทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 8|Page 14. จะปรากฏหน้าเพจ เรียนฟิสิกส์ม.6 กับครูสมพร ดังรูป ซึ่งในที่นี้บุคคลทั่วไปจะสามารถเข้า ดูเนื้อหาได้ 15. ผู้สอนได้ให้นักเรียนสมัครเป็นสมาชิก Facebook เพื่อสามารถเข้ามาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน โดยเมื่อนักเรียนมี Account ของ Facebook เป็นของตนเองแล้ว ได้ทาการเป็นเพื่อนกับ ผู้สอนในระบบ ซึ่งใน Facebook จะมีการตั้งกลุ่มชื่อ เรียนฟิสิกส์ ม.6 กับครูสมพร ขึ้นมา เฉพาะสาหรับนักเรียนที่เรียนฟิสิกส์กับครูสมพร ดังรูป จัดทาโดยครูสมพร เหล่าทองสาร ครูชานาญการ โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม.26
  • 10. บทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม เรื่องไฟฟ้าสถิต 9|Page 16. เมื่อคลิกเข้ามาที่กลุ่มจะปรากฏหน้ากลุ่มของสมาชิก สาหรับการเข้ามาแสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนเรียนรู้ สอบถามปัญหาที่เรียนไม่เข้าใจ 17. ซึ่งเรียนผู้สอนและผู้เรียนสามารถแบ่งปันข้อมูลกันได้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม จัดทาโดยครูสมพร เหล่าทองสาร ครูชานาญการ โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม.26