SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
บทที่ 5
                     สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

         การวิจัยครั้งนี้ เปนการวิจยเชิงทดลอง (Experimental Research) โดยมีวัตถุประสงค
                                    ั
เพื่อสรางสื่อประสมใหมีประสิทธิภาพ (E1/E2) ตามเกณฑ 80/80 และเปรียบเทียบ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหวางการสอนโดยใชสอประสมและการสอนแบบปกติ
                                                    ื่
เรื่อง การถายโอนพลังงานความรอน สําหรับนักเรียนชันมัธยมศึกษาปที่ 1
                                                          ้
         ตัวแปรที่ใชในการวิจัย ตัวแปรตน ไดแก การจัดการเรียนการสอน 2 แบบ คือ
การสอนโดยใชสื่อประสม กับการสอนแบบปกติ ตัวแปรตาม ไดแก ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน เรื่อง การถายโอนพลังงานความรอน กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้
ผูวจัยไดทําการสุมอยางงายโดยวิธีการจับฉลากจากประชากร นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
     ิ
ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2554 จํานวน 54 คน ซึ่งแบงเปนกลุมทดลองที่สอนโดยใชสื่อ
ประสม จํานวน 27 คนกับกลุมควบคุมที่สอนแบบปกติ จํานวน 27 คน
         เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ไดแก สื่อประสม เรื่อง การถายโอนพลังงานความรอน
ที่มีประสิทธิภาพ (E1/E2) เทากับ 81.73/84.17 ซึ่งสูงกวาเกณฑ 80/80 ที่กําหนดไว
แผนการจัดการเรียนรูเรื่อง การถายโอนพลังงานความรอน มีคาความสอดคลอง (IOC)
                                                                  
กับจุดประสงคการเรียนรูเทากับ 1.00 และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง
การถายโอนพลังงานความรอน พบวาขอสอบทั้งฉบับจํานวน 40 ขอ ใชเวลา 50 นาที
มีคาความเชื่อมั่น (Alpha) เทากับ 0.81
         วิธีดาเนินการทดลอง ผูวิจัยไดจัดการเรียนการสอนโดยใชประสมที่ประกอบดวย
               ํ
บทเรียนมัลติมีเดีย Power Point ประกอบการเรียนการสอน และเอกสารสื่อประสม
เรื่อง การถายโอนพลังงานความรอน กับนักเรียนกลุมทดลอง จํานวน 6 คาบๆ ละ 50
นาที จัดกิจกรรม ณ หองปฏิบัติการวิทยาศาสตร และหองปฏิบัติการคอมพิวเตอร ตาม
แผนการจัดการเรียนรู สําหรับ กลุมควบคุมผูวิจัยจัดการเรียนการสอนแบบปกติ ใช
                                      
หนังสือเรียน และวัสดุ อุปกรณ ประกอบการจัดกิจกรรมตามหนังสือ จํานวน 6 คาบๆ
ละ 50 นาที จักกิจกรรม ณ หองปฏิบัติการวิทยาศาสตร และหองปฏิบัติการคอมพิวเตอร
68

ตามแผนการจัดการเรียนรูทีละแผน เมื่อเรียนเนื้อหาจบหมดทุกตอน ดําเนินการทดสอบ
นักเรียนทั้งกลุมทดลอง และกลุมควบคุม ดวยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
เรื่อง การถายโอนพลังงานความรอน ที่ผูวิจัยสรางขึ้น

                                   สรุปผลการวิจัย

       1. สื่อประสมที่ผูวิจัยสรางขึ้น มีประสิทธิภาพ (E1/E2) เทากับ 84.21/82.31 ซึ่งสูง
กวาเกณฑ 80/80 ที่กําหนดไว
       2. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน เรื่องการถายโอนพลังงาน
ความรอน ของนักเรียนที่จัดการเรียนการสอนโดยใชสื่อประสม สูงกวานักเรียนที่จัดการ
เรียนการสอนแบบปกติ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

                                     อภิปรายผล

         จากผลการวิจัยการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร
เรื่อง การถายโอนพลังงานความรอน สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ระหวางการ
สอนโดยใชสื่อประสม กับการสอนแบบปกติอภิปรายผลได ดังนี้
         1. จากการวิจัยพบวาประสิทธิภาพ (E1/E2) ของสื่อประสม เรื่อง การถายโอน
พลังงานความรอน สําหรับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 มีคาเทากับ 84.21/82.31 ซึงสูงกวาเกณฑ
                                                                         ่
ที่กาหนดไว คือ 80/80 เนื่องมาจากในการสรางสื่อประสม ผูวจัยไดมีการปรับปรุงแกไข
     ํ                                                     ิ
สื่อตามลําดับ โดยมีการประเมินสื่อจากผูเชี่ยวชาญ ซึ่งไดแนะนําใหแกไขในเรื่องการ
บรรยายเสียงในแตละเฟรม การใหผูเรียนไดออกจากโปรแกรมไดตลอดเวลาตาม
ศักยภาพ การใชคําสั่งเชื่อมโยงในหนาหลักบางหนา ผูวิจัยไดทําการปรับปรุงแกไขตาม
คําแนะนํากอนนําไปทดลองหาประสิทธิภาพสื่อกับนักเรียนที่ไมใชกลุมตัวอยาง ผลการ
หาประสิทธิภาพอยูในระดับที่สูงกวาเกณฑที่กําหนด ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ
อภิมุข ลี้พงษกล (2552, หนา 74) ไดพัฒนากิจกรรมการเรียนรูโดยใชสื่อประสม กลุม
               ุ                                             
สาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เรื่อง แสง ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนแกนเทาโสกน้ําขุน
69

สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาขอนแกน เขต 2 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2550 พบวา
สื่อประสมมีประสิทธิภาพเทากับ 82.78/80.17 ซึ่งเปนไปตามเกณฑที่ตั้งไว 80/80 และ
งานวิจัยของ ศศลักษณ สมชื่อ (2552, หนา 133) ไดศึกษาผลการจัดการเรียนรูดานการคิด
วิเคราะหกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่อง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ภาคเรียนที่ 1
ปการศึกษา 2551 โดยใชสื่อประสม โรงเรียนสําโรงทาบวิทยาคม สํานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาสุรินทร เขต 1 พบวา ประสิทธิภาพของสื่อประสม เทากับ 90.60/83.01 ซึ่งสูง
กวาเกณฑมาตรฐานที่ตั้งไว คือ 80/80 และสอดคลองกับงานวิจัยของจารุนันท แกวเลิศ
(2549, หนา 55-56) ไดศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ประสิทธิภาพของสื่อประสม และ
ความพึงพอใจของนักเรียน เรื่อง หนวยของชีวิตและชีวิตพืช โดยใชสื่อประสม (บทเรียน
สําเร็จรูปและใบกิจกรรม) สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 โรงเรียนปะเหลียนผดุง
ศิษย จํานวน 44 คน พบวาสื่อประสม (บทเรียนสําเร็จรูปและใบกิจกรรม) มี
ประสิทธิภาพ 88.57/85.51 ซึ่งเปนไปตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนดไว และงานวิจัยของ
ประกอบศรี คงสาคร (2549, บทคัดยอ) ไดพัฒนาสื่อประสม เรื่อง การสรางคํา กลุมสาระ
การเรียนรูภาษาไทย สําหรับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4 พบวาสื่อประสม เรื่อง การสรางคํา
กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 มีประสิทธิภาพ 82.86/84.14
         2. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน เรื่องการถายโอน
พลังงานความรอน ของนักเรียนที่จัดการเรียนการสอนโดยใชสอประสม สูงกวานักเรียน
                                                              ื่
ที่จัดการเรียนการสอนแบบปกติ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งสอดคลองกับ
งานวิจัยของมยุรี ธินะ (2552, หนา 71-72) ไดพัฒนาความรูสึกเชิงปริภูมิของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปที่ 1 โดยใชสื่อประสม พบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร เรื่อง
ความสัมพันธระหวางรูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติของนักเรียน หลังจากใชสื่อ
ประสมแลวพบวานักเรียนมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคิดเปนรอยละ 82.20 และ
รอยละ 58.82 ซึ่งผานเกณฑขั้นต่ํา คือรอยละ 50 และงานวิจัยของ ศศลักษณ สมชื่อ
(2552, หนา 133) ไดศกษาผลการจัดการเรียนรูดานการคิดวิเคราะหกลุมสาระการเรียนรู
                      ึ
สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่องทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ของ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2551 โดยใชสื่อประสม
70

โรงเรียนสําโรงทาบวิทยาคม สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุรินทร เขต 1 พบวา นักเรียน
มีผลสัมฤทธิทางการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทาง
              ์
สถิติที่ระดับ .01 และสอดคลองกับงานวิจัยของจารุนันท แกวเลิศ (2549, หนา 55-56)
ไดศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน เรื่อง หนวยของชีวิตและชีวิตพืช โดยใช
สื่อประสม (บทเรียนสําเร็จรูปและใบกิจกรรม) สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
โรงเรียน ปะเหลียนผดุงศิษย จํานวน 44 คน ศึกษาประสิทธิภาพของสื่อประสม และ
ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน พบวาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังการใช
สื่อประสมสูงกวากอนใชสื่อประสม อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ .01 ซึ่งเปนไปตาม
วัตถุประสงคท่ตั้งไว และงานวิจัยของลี (Lee. 2001, Page 112) ที่ศึกษาประสิทธิภาพ
                ี
การใชสื่อประสมกับระบบการศึกษาในการใชภาษาอังกฤษเปนภาษาที่สอง พบวากลุม
นักเรียนที่เรียนดวยสื่อประสมกับกลุมนักเรียนเรียนโดยไมใชสื่อประสมมีคะแนน
แตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และงานวิจัยของ บราวลี่ (Brawley.
1975, Page 4208-A) ที่วิจัยผลการสอนจากชุดการสอนแบบสื่อประสม เพื่อสอนใน
เรื่องการบอกเวลา สําหรับนักเรียนที่เรียนชา โดยสรางชุดการสอน 12 ชุด ใชเวลาเรียน
15 วัน พบวากลุมนักเรียนที่เรียนจากชุดการสอนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกวากลุม
ที่เรียนจากการสอนแบบธรรมดาอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01

                                   ขอเสนอแนะ

ขอเสนอแนะในการนําสื่อประสม (บทเรียนมัลติมีเดีย และชุดกิจกรรม) ไปใช ดังนี้
        1. สื่อประสม เรื่อง การถายโอนพลังงานความรอน สําหรับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
มีประสิทธิภาพ (E1/E2) เทากับ 84.21/82.31 สมควรอยางยิ่งที่ครูผูสอนจะนําไปใช
ประกอบในการจัดการเรียนการสอนอยางคุมคา เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ของนักเรียนไดสูงขึ้นทั้งในระดับโรงเรียน ระดับทองถิ่น และระดับชาติ
        2. ครูผูสอนสามารถนําสื่อประสม เรื่อง การถายโอนพลังงานความรอน สําหรับ
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ไปใชสอนซอมเสริมใหนักเรียนที่บกพรอง หรือไมเขาใจในเรื่อง
นั้นๆ สามารถนําไปใชเปนสื่อชวยสอนเสริมนอกเวลาเรียนใหกับนักเรียนระดับชั้น
71

มัธยมศึกษาปที่ 3 เพื่อเตรียมสอบวัดผลคุณภาพระดับชาติ หรือใหนักเรียนที่สนใจได
ศึกษาคนควาดวยตนเองตามศักยภาพ หรือใชสอนแทนครูเมื่อครูลา หรือติดประชุม เปน
การสรางวินัยในชั้นเรียน และฝกนิสัยใหนักเรียนมีความซื่อสัตยตอตนเอง
         3. ในการนําสื่อประสม (บทเรียนมัลติมีเดีย และชุดกิจกรรม) ไปใชครูควรศึกษา
คูมือการใช และเตรียมความพรอมทั้งดานกิจกรรมการเรียน สือวัสดุอุปกรณลวงหนา
                                                           ่
เพื่อเปนแนวทางในการดําเนินกิจกรรม และครูควรพิจารณาความเปนไปได อาจ
เปลี่ยนแปลงไดตามความเหมาะสมของตนเองได
         4. ในขณะที่นักเรียนปฏิบติกิจกรรม ครูผูสอนตองคอยดูแลเอาใจใสอยางใกลชิด
                                  ั
ใหคําแนะนําชวยเหลือเมื่อมีปญหาคอยกระตุน และใหกําลังใจเพื่อใหนักเรียนเกิดความ
                               
สนใจที่จะเรียนรูสงผลใหการจัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
                     
         5. เวลาที่ใชในการจัดกิจกรรม ครูผูสอนควรมีความยืดหยุนไดตามความเหมาะสม
ตามความสามารถ และศักยภาพของนักเรียน แตไมควรยืดหยุนมากเกินไป เพราะอาจทํา
ใหนักเรียนเบื่อหนาย
         6. ควรมีการพัฒนาสื่อประสม เรื่อง การถายโอนพลังงานความรอน อยางตอเนื่อง
เพราะเทคโนโลยีดานการสื่อสาร และการศึกษามีความทันสมัยขึ้นเรื่อยๆ อยางไมหยุดยั้ง

ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยครั้งตอไป
         1. ควรพัฒนาสื่อประสมในเรื่องอื่นๆ ในระดับชั้นตางๆ เชน สารและสมบัติของ
สาร ซึ่งนักเรียนมีผลการประเมินคุณภาพระดับชาติต่ําเชนกัน หรือเรื่องอื่นๆ ตาม
ศักยภาพ
         2. ควรวิจัยเปรียบเทียบการสอนโดยใชสื่อประสมกับการสอนโดยวิธีอื่น
         3. ควรวิจัยศึกษาผลการเรียนรูดานความรู โดยใชแบบทดสอบที่เปนปรนัย และ
อัตนัยควบคูกับการประเมิน เพื่อชวยใหการวัดและประเมินผลการเรียนรูมความชัดเจน
                                                                       ี
ยิ่งขึ้น

More Related Content

What's hot

โครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจล
โครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจลโครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจล
โครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจลjellyjel
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001Thidarat Termphon
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์Jiraporn
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยNick Nook
 
โครงงานIs3
โครงงานIs3โครงงานIs3
โครงงานIs3Arisa Srising
 
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกพัน พัน
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมGolfzie Loliconer
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดpitsanu duangkartok
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 
โครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะโครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะPang Pond
 
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555Nattapon
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์paifahnutya
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2LeoBlack1017
 

What's hot (20)

ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
โครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจล
โครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจลโครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจล
โครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจล
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
โครงงานIs3
โครงงานIs3โครงงานIs3
โครงงานIs3
 
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
บทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4.ผลการดำเนินงานบทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
โครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะโครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะ
 
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 

Viewers also liked

2บทคัดย่อ
2บทคัดย่อ2บทคัดย่อ
2บทคัดย่อkrupornpana55
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรมkrupornpana55
 
3กิติกรรมประกาศ
3กิติกรรมประกาศ3กิติกรรมประกาศ
3กิติกรรมประกาศkrupornpana55
 
ภาคผนวก ข 6.6
ภาคผนวก ข 6.6ภาคผนวก ข 6.6
ภาคผนวก ข 6.6krupornpana55
 
ภาคผนวก ก
ภาคผนวก กภาคผนวก ก
ภาคผนวก กkrupornpana55
 
ภาคผนวก ข.6.3
ภาคผนวก ข.6.3ภาคผนวก ข.6.3
ภาคผนวก ข.6.3krupornpana55
 
ภาคผนวก ข 6.2
ภาคผนวก ข 6.2ภาคผนวก ข 6.2
ภาคผนวก ข 6.2krupornpana55
 
ภาคผนวก ค วิเคราะห์ผล
ภาคผนวก ค  วิเคราะห์ผลภาคผนวก ค  วิเคราะห์ผล
ภาคผนวก ค วิเคราะห์ผลkrupornpana55
 
ภาคผนวก ข 6.4
ภาคผนวก ข 6.4ภาคผนวก ข 6.4
ภาคผนวก ข 6.4krupornpana55
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรมkrupornpana55
 
4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัยkrupornpana55
 
ภาคผนวก ข.6.1docx
ภาคผนวก ข.6.1docxภาคผนวก ข.6.1docx
ภาคผนวก ข.6.1docxkrupornpana55
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 

Viewers also liked (19)

2บทคัดย่อ
2บทคัดย่อ2บทคัดย่อ
2บทคัดย่อ
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 
3กิติกรรมประกาศ
3กิติกรรมประกาศ3กิติกรรมประกาศ
3กิติกรรมประกาศ
 
ภาคผนวก ข 6.6
ภาคผนวก ข 6.6ภาคผนวก ข 6.6
ภาคผนวก ข 6.6
 
7บทที่3
7บทที่3 7บทที่3
7บทที่3
 
ภาคผนวก ก
ภาคผนวก กภาคผนวก ก
ภาคผนวก ก
 
6บทที่2
6บทที่2 6บทที่2
6บทที่2
 
1ปก
1ปก1ปก
1ปก
 
ภาคผนวก ข.6.3
ภาคผนวก ข.6.3ภาคผนวก ข.6.3
ภาคผนวก ข.6.3
 
8บทที่4
8บทที่4 8บทที่4
8บทที่4
 
ภาคผนวก ข 6.2
ภาคผนวก ข 6.2ภาคผนวก ข 6.2
ภาคผนวก ข 6.2
 
ภาคผนวก ค วิเคราะห์ผล
ภาคผนวก ค  วิเคราะห์ผลภาคผนวก ค  วิเคราะห์ผล
ภาคผนวก ค วิเคราะห์ผล
 
ภาคผนวก ข 6.4
ภาคผนวก ข 6.4ภาคผนวก ข 6.4
ภาคผนวก ข 6.4
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย
 
5บทที่1
5บทที่1 5บทที่1
5บทที่1
 
4สารบัญ
4สารบัญ4สารบัญ
4สารบัญ
 
ภาคผนวก ข.6.1docx
ภาคผนวก ข.6.1docxภาคผนวก ข.6.1docx
ภาคผนวก ข.6.1docx
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 

Similar to 9บทที่5

สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02Wes Yod
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02witthawat silad
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01witthawat silad
 
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาMko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาNanzzy Sutthanont
 
แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียkrupornpana55
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาan1030
 
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ JeeraJaree Srithai
 
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างBest practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างsomdetpittayakom school
 
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างBest practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างsomdetpittayakom school
 
Mko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยาMko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยาNanzzy Sutthanont
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2Aroonswat
 
รายงานการพัฒนาและผลการใช้เอกสารประกอบการเรียนวิชาเคมีเบื้องต้น ม.3
รายงานการพัฒนาและผลการใช้เอกสารประกอบการเรียนวิชาเคมีเบื้องต้น ม.3รายงานการพัฒนาและผลการใช้เอกสารประกอบการเรียนวิชาเคมีเบื้องต้น ม.3
รายงานการพัฒนาและผลการใช้เอกสารประกอบการเรียนวิชาเคมีเบื้องต้น ม.3Jariya Jaiyot
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องPochchara Tiamwong
 
10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.nang_phy29
 
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผลมโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผลNU
 
วิจัยคืออะไร
วิจัยคืออะไรวิจัยคืออะไร
วิจัยคืออะไรrujirapyo1
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องPochchara Tiamwong
 
การศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลการศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลdtschool
 

Similar to 9บทที่5 (20)

สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
 
Abstarct
AbstarctAbstarct
Abstarct
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
 
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาMko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
 
แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดีย
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษา
 
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
 
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างBest practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
 
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างBest practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
 
Mko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยาMko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยา
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
 
รายงานการพัฒนาและผลการใช้เอกสารประกอบการเรียนวิชาเคมีเบื้องต้น ม.3
รายงานการพัฒนาและผลการใช้เอกสารประกอบการเรียนวิชาเคมีเบื้องต้น ม.3รายงานการพัฒนาและผลการใช้เอกสารประกอบการเรียนวิชาเคมีเบื้องต้น ม.3
รายงานการพัฒนาและผลการใช้เอกสารประกอบการเรียนวิชาเคมีเบื้องต้น ม.3
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
 
R wichuta
R wichutaR wichuta
R wichuta
 
10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.
 
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผลมโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
 
วิจัยคืออะไร
วิจัยคืออะไรวิจัยคืออะไร
วิจัยคืออะไร
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
 
การศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลการศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกล
 

More from krupornpana55

รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล กิจกรรมต่างๆ krupornpana55
 
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนการคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนkrupornpana55
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4krupornpana55
 
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...krupornpana55
 
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวโฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวkrupornpana55
 
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมบอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมkrupornpana55
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวkrupornpana55
 
บอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกบอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกkrupornpana55
 
คุณลักษณะ
คุณลักษณะคุณลักษณะ
คุณลักษณะkrupornpana55
 
การสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายการสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายkrupornpana55
 
5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็กkrupornpana55
 
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตยkrupornpana55
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4krupornpana55
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วมkrupornpana55
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุมkrupornpana55
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่าkrupornpana55
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วมkrupornpana55
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุมkrupornpana55
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่าkrupornpana55
 

More from krupornpana55 (20)

รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
 
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนการคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
 
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
 
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวโฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
 
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมบอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
 
บอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกบอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลก
 
คุณลักษณะ
คุณลักษณะคุณลักษณะ
คุณลักษณะ
 
การสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายการสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่าย
 
5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก
 
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
 

9บทที่5

  • 1. บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ การวิจัยครั้งนี้ เปนการวิจยเชิงทดลอง (Experimental Research) โดยมีวัตถุประสงค ั เพื่อสรางสื่อประสมใหมีประสิทธิภาพ (E1/E2) ตามเกณฑ 80/80 และเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหวางการสอนโดยใชสอประสมและการสอนแบบปกติ ื่ เรื่อง การถายโอนพลังงานความรอน สําหรับนักเรียนชันมัธยมศึกษาปที่ 1 ้ ตัวแปรที่ใชในการวิจัย ตัวแปรตน ไดแก การจัดการเรียนการสอน 2 แบบ คือ การสอนโดยใชสื่อประสม กับการสอนแบบปกติ ตัวแปรตาม ไดแก ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน เรื่อง การถายโอนพลังงานความรอน กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ ผูวจัยไดทําการสุมอยางงายโดยวิธีการจับฉลากจากประชากร นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ิ ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2554 จํานวน 54 คน ซึ่งแบงเปนกลุมทดลองที่สอนโดยใชสื่อ ประสม จํานวน 27 คนกับกลุมควบคุมที่สอนแบบปกติ จํานวน 27 คน เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ไดแก สื่อประสม เรื่อง การถายโอนพลังงานความรอน ที่มีประสิทธิภาพ (E1/E2) เทากับ 81.73/84.17 ซึ่งสูงกวาเกณฑ 80/80 ที่กําหนดไว แผนการจัดการเรียนรูเรื่อง การถายโอนพลังงานความรอน มีคาความสอดคลอง (IOC)  กับจุดประสงคการเรียนรูเทากับ 1.00 และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถายโอนพลังงานความรอน พบวาขอสอบทั้งฉบับจํานวน 40 ขอ ใชเวลา 50 นาที มีคาความเชื่อมั่น (Alpha) เทากับ 0.81 วิธีดาเนินการทดลอง ผูวิจัยไดจัดการเรียนการสอนโดยใชประสมที่ประกอบดวย ํ บทเรียนมัลติมีเดีย Power Point ประกอบการเรียนการสอน และเอกสารสื่อประสม เรื่อง การถายโอนพลังงานความรอน กับนักเรียนกลุมทดลอง จํานวน 6 คาบๆ ละ 50 นาที จัดกิจกรรม ณ หองปฏิบัติการวิทยาศาสตร และหองปฏิบัติการคอมพิวเตอร ตาม แผนการจัดการเรียนรู สําหรับ กลุมควบคุมผูวิจัยจัดการเรียนการสอนแบบปกติ ใช  หนังสือเรียน และวัสดุ อุปกรณ ประกอบการจัดกิจกรรมตามหนังสือ จํานวน 6 คาบๆ ละ 50 นาที จักกิจกรรม ณ หองปฏิบัติการวิทยาศาสตร และหองปฏิบัติการคอมพิวเตอร
  • 2. 68 ตามแผนการจัดการเรียนรูทีละแผน เมื่อเรียนเนื้อหาจบหมดทุกตอน ดําเนินการทดสอบ นักเรียนทั้งกลุมทดลอง และกลุมควบคุม ดวยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถายโอนพลังงานความรอน ที่ผูวิจัยสรางขึ้น สรุปผลการวิจัย 1. สื่อประสมที่ผูวิจัยสรางขึ้น มีประสิทธิภาพ (E1/E2) เทากับ 84.21/82.31 ซึ่งสูง กวาเกณฑ 80/80 ที่กําหนดไว 2. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน เรื่องการถายโอนพลังงาน ความรอน ของนักเรียนที่จัดการเรียนการสอนโดยใชสื่อประสม สูงกวานักเรียนที่จัดการ เรียนการสอนแบบปกติ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 อภิปรายผล จากผลการวิจัยการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร เรื่อง การถายโอนพลังงานความรอน สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ระหวางการ สอนโดยใชสื่อประสม กับการสอนแบบปกติอภิปรายผลได ดังนี้ 1. จากการวิจัยพบวาประสิทธิภาพ (E1/E2) ของสื่อประสม เรื่อง การถายโอน พลังงานความรอน สําหรับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 มีคาเทากับ 84.21/82.31 ซึงสูงกวาเกณฑ ่ ที่กาหนดไว คือ 80/80 เนื่องมาจากในการสรางสื่อประสม ผูวจัยไดมีการปรับปรุงแกไข ํ ิ สื่อตามลําดับ โดยมีการประเมินสื่อจากผูเชี่ยวชาญ ซึ่งไดแนะนําใหแกไขในเรื่องการ บรรยายเสียงในแตละเฟรม การใหผูเรียนไดออกจากโปรแกรมไดตลอดเวลาตาม ศักยภาพ การใชคําสั่งเชื่อมโยงในหนาหลักบางหนา ผูวิจัยไดทําการปรับปรุงแกไขตาม คําแนะนํากอนนําไปทดลองหาประสิทธิภาพสื่อกับนักเรียนที่ไมใชกลุมตัวอยาง ผลการ หาประสิทธิภาพอยูในระดับที่สูงกวาเกณฑที่กําหนด ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ อภิมุข ลี้พงษกล (2552, หนา 74) ไดพัฒนากิจกรรมการเรียนรูโดยใชสื่อประสม กลุม ุ  สาระการเรียนรูวิทยาศาสตร เรื่อง แสง ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 โรงเรียนแกนเทาโสกน้ําขุน
  • 3. 69 สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาขอนแกน เขต 2 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2550 พบวา สื่อประสมมีประสิทธิภาพเทากับ 82.78/80.17 ซึ่งเปนไปตามเกณฑที่ตั้งไว 80/80 และ งานวิจัยของ ศศลักษณ สมชื่อ (2552, หนา 133) ไดศึกษาผลการจัดการเรียนรูดานการคิด วิเคราะหกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่อง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2551 โดยใชสื่อประสม โรงเรียนสําโรงทาบวิทยาคม สํานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาสุรินทร เขต 1 พบวา ประสิทธิภาพของสื่อประสม เทากับ 90.60/83.01 ซึ่งสูง กวาเกณฑมาตรฐานที่ตั้งไว คือ 80/80 และสอดคลองกับงานวิจัยของจารุนันท แกวเลิศ (2549, หนา 55-56) ไดศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ประสิทธิภาพของสื่อประสม และ ความพึงพอใจของนักเรียน เรื่อง หนวยของชีวิตและชีวิตพืช โดยใชสื่อประสม (บทเรียน สําเร็จรูปและใบกิจกรรม) สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 1 โรงเรียนปะเหลียนผดุง ศิษย จํานวน 44 คน พบวาสื่อประสม (บทเรียนสําเร็จรูปและใบกิจกรรม) มี ประสิทธิภาพ 88.57/85.51 ซึ่งเปนไปตามเกณฑมาตรฐานที่กําหนดไว และงานวิจัยของ ประกอบศรี คงสาคร (2549, บทคัดยอ) ไดพัฒนาสื่อประสม เรื่อง การสรางคํา กลุมสาระ การเรียนรูภาษาไทย สําหรับชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 4 พบวาสื่อประสม เรื่อง การสรางคํา กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 มีประสิทธิภาพ 82.86/84.14 2. ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน เรื่องการถายโอน พลังงานความรอน ของนักเรียนที่จัดการเรียนการสอนโดยใชสอประสม สูงกวานักเรียน ื่ ที่จัดการเรียนการสอนแบบปกติ อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งสอดคลองกับ งานวิจัยของมยุรี ธินะ (2552, หนา 71-72) ไดพัฒนาความรูสึกเชิงปริภูมิของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 1 โดยใชสื่อประสม พบวา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร เรื่อง ความสัมพันธระหวางรูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติของนักเรียน หลังจากใชสื่อ ประสมแลวพบวานักเรียนมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคิดเปนรอยละ 82.20 และ รอยละ 58.82 ซึ่งผานเกณฑขั้นต่ํา คือรอยละ 50 และงานวิจัยของ ศศลักษณ สมชื่อ (2552, หนา 133) ไดศกษาผลการจัดการเรียนรูดานการคิดวิเคราะหกลุมสาระการเรียนรู ึ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่องทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2551 โดยใชสื่อประสม
  • 4. 70 โรงเรียนสําโรงทาบวิทยาคม สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาสุรินทร เขต 1 พบวา นักเรียน มีผลสัมฤทธิทางการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียน แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทาง ์ สถิติที่ระดับ .01 และสอดคลองกับงานวิจัยของจารุนันท แกวเลิศ (2549, หนา 55-56) ไดศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน เรื่อง หนวยของชีวิตและชีวิตพืช โดยใช สื่อประสม (บทเรียนสําเร็จรูปและใบกิจกรรม) สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียน ปะเหลียนผดุงศิษย จํานวน 44 คน ศึกษาประสิทธิภาพของสื่อประสม และ ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียน พบวาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนหลังการใช สื่อประสมสูงกวากอนใชสื่อประสม อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ .01 ซึ่งเปนไปตาม วัตถุประสงคท่ตั้งไว และงานวิจัยของลี (Lee. 2001, Page 112) ที่ศึกษาประสิทธิภาพ ี การใชสื่อประสมกับระบบการศึกษาในการใชภาษาอังกฤษเปนภาษาที่สอง พบวากลุม นักเรียนที่เรียนดวยสื่อประสมกับกลุมนักเรียนเรียนโดยไมใชสื่อประสมมีคะแนน แตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และงานวิจัยของ บราวลี่ (Brawley. 1975, Page 4208-A) ที่วิจัยผลการสอนจากชุดการสอนแบบสื่อประสม เพื่อสอนใน เรื่องการบอกเวลา สําหรับนักเรียนที่เรียนชา โดยสรางชุดการสอน 12 ชุด ใชเวลาเรียน 15 วัน พบวากลุมนักเรียนที่เรียนจากชุดการสอนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกวากลุม ที่เรียนจากการสอนแบบธรรมดาอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .01 ขอเสนอแนะ ขอเสนอแนะในการนําสื่อประสม (บทเรียนมัลติมีเดีย และชุดกิจกรรม) ไปใช ดังนี้ 1. สื่อประสม เรื่อง การถายโอนพลังงานความรอน สําหรับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 มีประสิทธิภาพ (E1/E2) เทากับ 84.21/82.31 สมควรอยางยิ่งที่ครูผูสอนจะนําไปใช ประกอบในการจัดการเรียนการสอนอยางคุมคา เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนไดสูงขึ้นทั้งในระดับโรงเรียน ระดับทองถิ่น และระดับชาติ 2. ครูผูสอนสามารถนําสื่อประสม เรื่อง การถายโอนพลังงานความรอน สําหรับ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ไปใชสอนซอมเสริมใหนักเรียนที่บกพรอง หรือไมเขาใจในเรื่อง นั้นๆ สามารถนําไปใชเปนสื่อชวยสอนเสริมนอกเวลาเรียนใหกับนักเรียนระดับชั้น
  • 5. 71 มัธยมศึกษาปที่ 3 เพื่อเตรียมสอบวัดผลคุณภาพระดับชาติ หรือใหนักเรียนที่สนใจได ศึกษาคนควาดวยตนเองตามศักยภาพ หรือใชสอนแทนครูเมื่อครูลา หรือติดประชุม เปน การสรางวินัยในชั้นเรียน และฝกนิสัยใหนักเรียนมีความซื่อสัตยตอตนเอง 3. ในการนําสื่อประสม (บทเรียนมัลติมีเดีย และชุดกิจกรรม) ไปใชครูควรศึกษา คูมือการใช และเตรียมความพรอมทั้งดานกิจกรรมการเรียน สือวัสดุอุปกรณลวงหนา ่ เพื่อเปนแนวทางในการดําเนินกิจกรรม และครูควรพิจารณาความเปนไปได อาจ เปลี่ยนแปลงไดตามความเหมาะสมของตนเองได 4. ในขณะที่นักเรียนปฏิบติกิจกรรม ครูผูสอนตองคอยดูแลเอาใจใสอยางใกลชิด ั ใหคําแนะนําชวยเหลือเมื่อมีปญหาคอยกระตุน และใหกําลังใจเพื่อใหนักเรียนเกิดความ  สนใจที่จะเรียนรูสงผลใหการจัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น  5. เวลาที่ใชในการจัดกิจกรรม ครูผูสอนควรมีความยืดหยุนไดตามความเหมาะสม ตามความสามารถ และศักยภาพของนักเรียน แตไมควรยืดหยุนมากเกินไป เพราะอาจทํา ใหนักเรียนเบื่อหนาย 6. ควรมีการพัฒนาสื่อประสม เรื่อง การถายโอนพลังงานความรอน อยางตอเนื่อง เพราะเทคโนโลยีดานการสื่อสาร และการศึกษามีความทันสมัยขึ้นเรื่อยๆ อยางไมหยุดยั้ง ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยครั้งตอไป 1. ควรพัฒนาสื่อประสมในเรื่องอื่นๆ ในระดับชั้นตางๆ เชน สารและสมบัติของ สาร ซึ่งนักเรียนมีผลการประเมินคุณภาพระดับชาติต่ําเชนกัน หรือเรื่องอื่นๆ ตาม ศักยภาพ 2. ควรวิจัยเปรียบเทียบการสอนโดยใชสื่อประสมกับการสอนโดยวิธีอื่น 3. ควรวิจัยศึกษาผลการเรียนรูดานความรู โดยใชแบบทดสอบที่เปนปรนัย และ อัตนัยควบคูกับการประเมิน เพื่อชวยใหการวัดและประเมินผลการเรียนรูมความชัดเจน ี ยิ่งขึ้น