SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
สมุนไพร หมายถึง “ผลิตผลธรรมชาติ ได้จาก พืช สัตว์ และ แร่ธาตุ ที่ใช้เป็นยา หรือผสมกับสารอื่นตามตารับยา เพื่อ บาบัดโรค บารุง ร่างกาย หรือใช้เป็นยาพิษ” หากนาเอาสมุนไพรตั้งแต่สองชนิดขึ้นไปมาผสมรวมกันซึ่งจะเรียกว่า ยา ใน ตารับยา นอกจากพืชสมุนไพรแล้วยังอาจประกอบด้วยสัตว์และแร่ธาตุอีกด้วย เราเรียกพืช สัตว์ หรือแร่ธาตุที่เป็น ส่วนประกอบของยานี้ว่า เภสัชวัตถุ พืชสมุนไพรบางชนิด เช่น เร่ว กระวาน กานพลู และจันทน์เทศ เป็นต้น พืชเหล่านี้ ถ้านามาปรุงอาหารเราจะเรียกว่า เครื่องเทศ สมุนไพร เป็นเสมือนของขวัญที่ธรรมชาติมอบให้กับมวลมนุษยชาติ มนุษย์ เรารู้จักใช้สมุนไพร
สรรพคุณและส่วนที่นำมำใช้เป็นยำ 
ใบ รสขม ถ่ายพรรดึก ถ่ายกระษัย ถ่ายพิษไข้ พิษเสมหะ ขับปัสสาวะแก้ระดูขาว แก้นิ่ว ตา พอกแก้เหน็บชา แก้บวม บารุงโลหิตดับพิษโลหิต ดองสุราดื่มก่อนนอน แก้นอนไม่หลับใบ อ่อน, ดอกตูมและแก่น – มีสารกลุ่มแอนทราควิโนนหลายชนิด จึงมีฤทธิ์เป็นยาระบาย ใช้ใบ อ่อนครั้งละ 2-3 กามือ ต้มกับน้า 1-1.5 ถ้วย เติมเกลือเล็กน้อย ดื่มก่อนอาหารเช้าครั้งเดียว นอกจากนี้ยังพบสารซึ่งมีฤทธิ์กดประสาทส่วนกลาง ทาให้นอนหลับ โดยใช้วิธีนามาดองเหล้า ดื่มก่อนนอน
สรรพคุณ 
ส่วนที่ใช้เป็นยาใบและกาบใบยาไทยต้นแก้ริดสีดวงในปาก (คือปากแตกระแหงเป็นแผล ในปาก) สตรีมีครรภ์รับประทานทาให้แท้งบีบรัดมดลูกขับลมในลาใส้ อย่างแพร่หลาย นานมาแล้วโดยละลายน้ามันตะไคร้หอม 7 ส่วนผสมในแอลกอฮอล์ (70%) 93 ส่วน ฉีดพ่นหรือตาใบสดหมักในแอลกอฮอล์ในอัตราส่วน 1: 1 ทาตรงขอบประตูที่ปิดเปิด เสมอ หรือใช้ใบตะไคร้หอม
สรรพคุณและส่วนที่นำมำใช้เป็นยำ รำกและก้ำนใบ – ขับปัสสาวะ ยางขาวจากผลดิบมีเอ็นไซม์ย่อยโปรตีน ได้แก่ papain และ chymopapain ใช้ย่อยเนื้อสัตว์ให้เปื่อย นามาใช้ในอุตสาหกรรมอาหารกระป๋องในอุตสาหกรรม ยาใช้เอ็นไซม์ผลิตเป็นยาเม็ด ลดอาการบวมการอักเสบจากบาดแผล หรือการผ่าตัด ตาพอกแผลเรื้อรัง ฝี หนอง 
รูปลักษณะ ไม้ยืนต้น สูง 3 – 6 เมตร ไม่มีแก่น ต้นอวบน้า มียางขาว ใบเดี่ยว เรียงสลับ รอบต้นบริเวณยอดรูปฝ่ามือ เว้าเป็นแฉกลึก 7 แฉก ขนาดใหญ่ ดอก มีหลายประเภท คือดอกตัวผู้ ดอกตัวเมีย และดอกสมบูรณ์เพศเป็น ดอกเดี่ยว หรือช่อ 2 – 3 ดอก สีนวล ผล เป็นผลสด รูปยาวรี ทรงกระบอก หรือกลม เมล็ดสีดา
สรรพคุณและส่วนที่นำมำใช้เป็นยำ วุ้นสด – ใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง วิธีใช้ให้เลือกใช้ใบล่างสุดของต้นก่อน ล้างน้าให้สะอาด ปอกเปลือกสีเขียวออกด้วย มีดสะอาดล้างน้ายางสีเหลืองออกให้หมด เพราะอาจระคายเคืองผิวหนัง และทาให้มีอาการแพ้ได้ ฝานเป็นแผ่นบางปิดแผล หรือขูดเอาวุ้นใสปิดพอกรักษาแผลสด แผลเรื้อรัง แผลไฟไหม้น้าร้อน ลวก แผลไหม้เกรียมจากแสงแดด และรังสี ทาผิวรักษาสิวฝ้า และ ขจัดรอยแผลเป็น อาจใช้ผ้าพันแผลที่สะอาดพันทับ เปลี่ยนวุ้นใหม่วันละครั้ง เช้า-เย็น จนกว่าแผลจะหาย ใช้วุ้นสดกินรักษา แผลในกระเพาะอาหารได้ดี และใช้เป็นส่วนผสมในเครื่องสาอาง หลายประเภท เช่น แชมพูสระผม สบู่ ครีมกันแดด เป็นต้นสารที่ออกฤทธิ์เป็นกลัยโคโปรตีน ชื่อ aloctin A ซึ่งมีฤทธิ์ลด การอักเสบ และเพิ่มการเจริญทดแทนของเนื้อเยื่อบริเวณที่เป็นแผล แต่มีข้อเสีย คือ สลายตัวได้ง่ายเมื่อถูกความร้อนไม่ควร ทิ้งวุ้นสดไว้เกิน 24 ชั่วโมง น้ายางสีเหลืองจากใบ – เคี่ยวให้แห้ง เรียกว่า “ยาดา” เป็นยาระบายชนิดเพิ่มการบีบตัวของ ลาไส้ใหญ
สรรพคุณ รากมีรสเย็นจืดใช้เป็นยาขับปัสสาวะพิการเป็นยาระบาย ช่วยบารุงดวงตา แก้ตาอักเสบ ตาฟาง ตาแฉะ โดยนิยมใช้รากต้นอัญชัน ชนิดดอกสีขาว นอกจากนี้ถ้านารากมาถูฟันจะทาให้ฟันคงทน แข็งแรงและแก้อาการปวดฟันได้ดี เมล็ดใช้เป็นยาระบาย ซึ่งใช้ชนิดดอกสีนาเงินและดอกสีขาว ส่วนดอกสดนามาทาศีรษะเพื่อใช้เป็นยาปลูกผม
สรรพคุณยำไทย เหง้าของขมิ้นชันมีฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อ แบคทีเรีย เชื้อรา ลดการ อักเสบและ มีฤทธิ์ในการ ขับน้าดี น้ามัน หอมระเหยในขมิ้นชัน มีสรรพคุณบรรเทาอาการปวดท้อง ท้องอืด แน่นจุดเสียด 
วิธีใช้ อาการแพ้อักเสบ แผล ฝีพุพอง แมลงสัตว์กัดต่อยภายนอก ใช้เหง้ายาวประมาณ 2 นิ้ว ฝนกับน้า ต้มสุกทาบริเวณที่เป็น วันละ 3 ครั้ง หรือใช้ผงขมิ้นโรยทาบริเวณที่มีอาการ ผื่นคันจากแมลงสัตว์กัด ต่อยได้ อาการ ท้องอืดท้องเฟ้อ แน่น จุกเสียดและอาหารไม่ย่อย ใช้เหง้าขมิ้น ไม่ต้องปอกเปลือกหั่นเป็น ชิ้นบาง ๆ ตากแดดจัด ๆ สัก 1-2 วัน บดให้ละเอียด ผสมกับน้าผึ้งปั้นเป็นเม็ดขนาดปลายนิ้วก้อย รับประทานครั้งละ 2-3 เม็ด วันละ 3-4 ครั้ง หลังอาหารและก่อนนอนถ้ามีอาการท้องเสียให้หยุดยา ทันที
สรรพคุณ : 
กลีบเลี้ยงของดอก หรือกลีบที่เหลืออยู่ที่ผล 
1. เป็นยาลดไขมันในเส้นเลือด และช่วยลดน้าหนักด้วย 
2. ลดความดันโลหิตได้โดยไม่มีผลร้ายแต่อย่างใด 
3. น้ากระเจี๊ยบทาให้ความเหนียวข้นของเลือดลดลง 
4. ช่วยรักษาโรคเส้นโลหิตแข็งเปราะได้ดี 
5. น้ากระเจี๊ยบยังมีฤทธิ์ขับปัสสาวะ เป็นการช่วยลดความดันอีกทางหนึ่ง 
6. ช่วยย่อยอาหาร เพราะไม่เพิ่มการหลั่งของกรดในกระเพาะ 
7. เพิ่มการหลั่งน้าดีจากตับ 
8. เป็นเครื่องดื่มที่ช่วยให้ร่างกายสดชื่น เพราะมีกรดซีตริคอยู่ด้วย
- ใบ แก้โรคพยาธิตัวจี๊ด ยากัดเสมหะ แก้ไอ ขับเมือกมันในลาคอ ให้ลงสู่ทวารหนัก 
- ดอก แก้โรคนิ่วในไต แก้โรคนิ่วในกระเพราะปัสสาวะ ขัดเบา ละลายไขมันในเส้นเลือด กัดเสมหะ ขับเมือกในลาไส้ให้ลงสู่ทวารหนัก 
- ผล ลดไขมันในเส้นเลือด แก้กระหายน้า รักษาแผลในกระเพาะ 
- เมล็ด บารุงธาตุ บารุงกาลัง แก้ดีพิการ ขับปัสสาวะ ลดไขมันในเส้นเลือด 
นอกจากนี้ได้บ่งสรรพคุณโดยไม่ได้ระบุว่าใช้ส่วนใด ดังนี้คือ แก้อ่อนเพลีย บารุงกาลัง บารุงธาตุ แก้ดี พิการ แก้ปัสสาวะพิการ แก้คอแห้งกระหายน้า แก้ความดันโลหิตสูง กัดเสมหะ แก้ไอ ขับเมือกมันใน ลาไส้ ลดไขมันในเลือด บารุงโลหิต ลดอุณหภูมิในร่างกาย แก้โรคเบาหวาน แก้เส้นเลือดตีบตัน นอกจากใช้เดี่ยวๆ แล้ว ยังใช้ผสมในตารับยาร่วมกับสมุนไพรอื่น ใช้ถ่ายพยาธิตัวจี๊ด
สรรพคุณ : 
เปลือกต้น – แก้ปวดท้อง แก้ลม คุมธาตุ 
ใบ – แก้ปวดมวน 
ดอกตูม – รับประทานขับลม ใช้แต่งกลิ่น ดอกกานพลูแห้ง ที่ยังไม่ได้สกัดเอาน้ามันออก และมีกลิ่นหอมจัด มีน้ามันหอมระเหยมาก รสเผ็ด ช่วย ขับลม แก้อาการท้องอืด ท้องเฟ้อ ปวดท้อง และแน่นจุกเสียด แก้อุจจาระพิการ แก้โรคเหน็บชา แก้หืด แก้ไอ แก้น้าเหลืองเสีย แก้เลือดเสีย ขับน้าคาวปลา แก้ลม แก้ธาตุพิการ บารุงธาตุ ขับเสมหะ แก้เสมหะ เหนียว ขับผายลม ขับลมในลาไส้ แก้ท้องเสียในเด็ก แก้ปากเหม็น แก้เลือดออกตามไรฟัน แก้รามะนาด กับกลิ่นเหล้า แก้ปวดฟัน 
ผล – ใช้เป็นเครื่องเทศ เป็นตัวช่วยให้มีกลิ่นหอม 
น้ำมันหอมระเหยกำนพลู – ใช้เป็นยาชาเฉพาะแห่ง แก้ปวดฟัน ฆ่าเชื้อทางทันตกรรม เป็นยาระงับการ ชักกระตุก ทาให้ผิวหนังชา
สรรพคุณ : 
ใบ – มีสาร Asiaticoside ทายาทาแก้แผลโรคเรื้อน 
ทั้งต้นสด – เป็นยาบารุงกาลัง บารุงหัวใจ แก้อ่อนเพลีย เมื่อยล้า – รักษาแผลไฟไหม้ น้าร้อนลวก หรือมีการชอกช้าจากการกระแทก แก้พิษงูกัด – ปวดศีรษะข้างเดียว – ขับปัสสาวะ – แก้เจ็บคอ – เป็นยาห้ามเลือด ส่าแผลสด แก้โรคผิวหนัง – ลดความดัน แก้ช้าใน 
เมล็ด – แก้บิด แก้ไข้ ปวดศีรษะ

More Related Content

What's hot

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Kawang Wanni
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย porntiwa karndon
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Kawang Wanni
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Kawang Wanni
 
พืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทยพืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทยguesta30f391
 
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม สมุนไพรไม่ใช่ยาขม
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม Utai Sukviwatsirikul
 
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖Utai Sukviwatsirikul
 
พืชสมุนไพร
พืชสมุนไพรพืชสมุนไพร
พืชสมุนไพรkrittiyanee16
 
โครงงานเรื่อง อาหารไทย
โครงงานเรื่อง อาหารไทยโครงงานเรื่อง อาหารไทย
โครงงานเรื่อง อาหารไทยEakkamol Dechudom
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยsasimaphon2539
 
โครงงาน(ติดบอด)
โครงงาน(ติดบอด)โครงงาน(ติดบอด)
โครงงาน(ติดบอด)009kkk
 
สมุนไพรในรั้ววัด
สมุนไพรในรั้ววัด สมุนไพรในรั้ววัด
สมุนไพรในรั้ววัด Patcha Linsay
 
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑tommy
 
สมุนไพรไล่ยุง
สมุนไพรไล่ยุงสมุนไพรไล่ยุง
สมุนไพรไล่ยุงGuenu Nam
 
โครงงานประโยชน์ของผลไม้
โครงงานประโยชน์ของผลไม้โครงงานประโยชน์ของผลไม้
โครงงานประโยชน์ของผลไม้greatzaza007
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFWichitchai Buathong
 

What's hot (20)

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
พืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทยพืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทย
 
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม สมุนไพรไม่ใช่ยาขม
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม
 
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖
 
พืชสมุนไพร
พืชสมุนไพรพืชสมุนไพร
พืชสมุนไพร
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงานเรื่อง อาหารไทย
โครงงานเรื่อง อาหารไทยโครงงานเรื่อง อาหารไทย
โครงงานเรื่อง อาหารไทย
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย
 
โครงงาน(ติดบอด)
โครงงาน(ติดบอด)โครงงาน(ติดบอด)
โครงงาน(ติดบอด)
 
สมุนไพรในรั้ววัด
สมุนไพรในรั้ววัด สมุนไพรในรั้ววัด
สมุนไพรในรั้ววัด
 
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑
สมุนไพรไทย ตอนที่ ๑
 
สมุนไพรไล่ยุง
สมุนไพรไล่ยุงสมุนไพรไล่ยุง
สมุนไพรไล่ยุง
 
โครงงานประโยชน์ของผลไม้
โครงงานประโยชน์ของผลไม้โครงงานประโยชน์ของผลไม้
โครงงานประโยชน์ของผลไม้
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
 
สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย
สมุนไพร  ภูมิปัญญาไทยสมุนไพร  ภูมิปัญญาไทย
สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย
 
Herb
HerbHerb
Herb
 

Similar to สมุนไพรไทย

หญ้าปักกิ่ง
หญ้าปักกิ่งหญ้าปักกิ่ง
หญ้าปักกิ่งPranom Chai7
 
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทยรายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทยFreesia Gardenia
 
8.ผลิตภัณฑ์
8.ผลิตภัณฑ์8.ผลิตภัณฑ์
8.ผลิตภัณฑ์Sathit Seethaphon
 
108 คำถาม สถาบันการแพทย์ไทย
108 คำถาม สถาบันการแพทย์ไทย108 คำถาม สถาบันการแพทย์ไทย
108 คำถาม สถาบันการแพทย์ไทยจู ล่ง
 
สมุนไพรเพื่อความงาม
สมุนไพรเพื่อความงามสมุนไพรเพื่อความงาม
สมุนไพรเพื่อความงามPornpimon Gormsang
 
ประเภทต้น
ประเภทต้นประเภทต้น
ประเภทต้นNew Nan
 
ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..preeyanuch2
 
ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..preeyanuch2
 
งาน
งานงาน
งานDARAGA
 
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5primpatcha
 
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5primpatcha
 
งานนำเสนอ Nan
งานนำเสนอ Nanงานนำเสนอ Nan
งานนำเสนอ Nannannee
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)Junee Sara
 
สูตรลดความอ้วนของคุณม้า อรนภา และอีกหลายวิธี
สูตรลดความอ้วนของคุณม้า อรนภา และอีกหลายวิธีสูตรลดความอ้วนของคุณม้า อรนภา และอีกหลายวิธี
สูตรลดความอ้วนของคุณม้า อรนภา และอีกหลายวิธีSomchai Chatmaleerat
 

Similar to สมุนไพรไทย (20)

Herb
HerbHerb
Herb
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
หญ้าปักกิ่ง
หญ้าปักกิ่งหญ้าปักกิ่ง
หญ้าปักกิ่ง
 
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทยรายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
 
8.ผลิตภัณฑ์
8.ผลิตภัณฑ์8.ผลิตภัณฑ์
8.ผลิตภัณฑ์
 
108 คำถาม สถาบันการแพทย์ไทย
108 คำถาม สถาบันการแพทย์ไทย108 คำถาม สถาบันการแพทย์ไทย
108 คำถาม สถาบันการแพทย์ไทย
 
สมุนไพรเพื่อความงาม
สมุนไพรเพื่อความงามสมุนไพรเพื่อความงาม
สมุนไพรเพื่อความงาม
 
ประเภทต้น
ประเภทต้นประเภทต้น
ประเภทต้น
 
สารเคมีในชีวิตประจำวัน1
สารเคมีในชีวิตประจำวัน1สารเคมีในชีวิตประจำวัน1
สารเคมีในชีวิตประจำวัน1
 
สมุนไพร
สมุนไพรสมุนไพร
สมุนไพร
 
ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..
 
ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..
 
งาน
งานงาน
งาน
 
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
 
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
การส่งเสริมสุขภาพ หน่วย 5
 
งานนำเสนอ Nan
งานนำเสนอ Nanงานนำเสนอ Nan
งานนำเสนอ Nan
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
 
IS1_สมุนไพรลูกประคบ
IS1_สมุนไพรลูกประคบIS1_สมุนไพรลูกประคบ
IS1_สมุนไพรลูกประคบ
 
โครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมด
โครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมดโครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมด
โครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมด
 
สูตรลดความอ้วนของคุณม้า อรนภา และอีกหลายวิธี
สูตรลดความอ้วนของคุณม้า อรนภา และอีกหลายวิธีสูตรลดความอ้วนของคุณม้า อรนภา และอีกหลายวิธี
สูตรลดความอ้วนของคุณม้า อรนภา และอีกหลายวิธี
 

สมุนไพรไทย

  • 1.
  • 2. สมุนไพร หมายถึง “ผลิตผลธรรมชาติ ได้จาก พืช สัตว์ และ แร่ธาตุ ที่ใช้เป็นยา หรือผสมกับสารอื่นตามตารับยา เพื่อ บาบัดโรค บารุง ร่างกาย หรือใช้เป็นยาพิษ” หากนาเอาสมุนไพรตั้งแต่สองชนิดขึ้นไปมาผสมรวมกันซึ่งจะเรียกว่า ยา ใน ตารับยา นอกจากพืชสมุนไพรแล้วยังอาจประกอบด้วยสัตว์และแร่ธาตุอีกด้วย เราเรียกพืช สัตว์ หรือแร่ธาตุที่เป็น ส่วนประกอบของยานี้ว่า เภสัชวัตถุ พืชสมุนไพรบางชนิด เช่น เร่ว กระวาน กานพลู และจันทน์เทศ เป็นต้น พืชเหล่านี้ ถ้านามาปรุงอาหารเราจะเรียกว่า เครื่องเทศ สมุนไพร เป็นเสมือนของขวัญที่ธรรมชาติมอบให้กับมวลมนุษยชาติ มนุษย์ เรารู้จักใช้สมุนไพร
  • 3. สรรพคุณและส่วนที่นำมำใช้เป็นยำ ใบ รสขม ถ่ายพรรดึก ถ่ายกระษัย ถ่ายพิษไข้ พิษเสมหะ ขับปัสสาวะแก้ระดูขาว แก้นิ่ว ตา พอกแก้เหน็บชา แก้บวม บารุงโลหิตดับพิษโลหิต ดองสุราดื่มก่อนนอน แก้นอนไม่หลับใบ อ่อน, ดอกตูมและแก่น – มีสารกลุ่มแอนทราควิโนนหลายชนิด จึงมีฤทธิ์เป็นยาระบาย ใช้ใบ อ่อนครั้งละ 2-3 กามือ ต้มกับน้า 1-1.5 ถ้วย เติมเกลือเล็กน้อย ดื่มก่อนอาหารเช้าครั้งเดียว นอกจากนี้ยังพบสารซึ่งมีฤทธิ์กดประสาทส่วนกลาง ทาให้นอนหลับ โดยใช้วิธีนามาดองเหล้า ดื่มก่อนนอน
  • 4. สรรพคุณ ส่วนที่ใช้เป็นยาใบและกาบใบยาไทยต้นแก้ริดสีดวงในปาก (คือปากแตกระแหงเป็นแผล ในปาก) สตรีมีครรภ์รับประทานทาให้แท้งบีบรัดมดลูกขับลมในลาใส้ อย่างแพร่หลาย นานมาแล้วโดยละลายน้ามันตะไคร้หอม 7 ส่วนผสมในแอลกอฮอล์ (70%) 93 ส่วน ฉีดพ่นหรือตาใบสดหมักในแอลกอฮอล์ในอัตราส่วน 1: 1 ทาตรงขอบประตูที่ปิดเปิด เสมอ หรือใช้ใบตะไคร้หอม
  • 5. สรรพคุณและส่วนที่นำมำใช้เป็นยำ รำกและก้ำนใบ – ขับปัสสาวะ ยางขาวจากผลดิบมีเอ็นไซม์ย่อยโปรตีน ได้แก่ papain และ chymopapain ใช้ย่อยเนื้อสัตว์ให้เปื่อย นามาใช้ในอุตสาหกรรมอาหารกระป๋องในอุตสาหกรรม ยาใช้เอ็นไซม์ผลิตเป็นยาเม็ด ลดอาการบวมการอักเสบจากบาดแผล หรือการผ่าตัด ตาพอกแผลเรื้อรัง ฝี หนอง รูปลักษณะ ไม้ยืนต้น สูง 3 – 6 เมตร ไม่มีแก่น ต้นอวบน้า มียางขาว ใบเดี่ยว เรียงสลับ รอบต้นบริเวณยอดรูปฝ่ามือ เว้าเป็นแฉกลึก 7 แฉก ขนาดใหญ่ ดอก มีหลายประเภท คือดอกตัวผู้ ดอกตัวเมีย และดอกสมบูรณ์เพศเป็น ดอกเดี่ยว หรือช่อ 2 – 3 ดอก สีนวล ผล เป็นผลสด รูปยาวรี ทรงกระบอก หรือกลม เมล็ดสีดา
  • 6. สรรพคุณและส่วนที่นำมำใช้เป็นยำ วุ้นสด – ใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง วิธีใช้ให้เลือกใช้ใบล่างสุดของต้นก่อน ล้างน้าให้สะอาด ปอกเปลือกสีเขียวออกด้วย มีดสะอาดล้างน้ายางสีเหลืองออกให้หมด เพราะอาจระคายเคืองผิวหนัง และทาให้มีอาการแพ้ได้ ฝานเป็นแผ่นบางปิดแผล หรือขูดเอาวุ้นใสปิดพอกรักษาแผลสด แผลเรื้อรัง แผลไฟไหม้น้าร้อน ลวก แผลไหม้เกรียมจากแสงแดด และรังสี ทาผิวรักษาสิวฝ้า และ ขจัดรอยแผลเป็น อาจใช้ผ้าพันแผลที่สะอาดพันทับ เปลี่ยนวุ้นใหม่วันละครั้ง เช้า-เย็น จนกว่าแผลจะหาย ใช้วุ้นสดกินรักษา แผลในกระเพาะอาหารได้ดี และใช้เป็นส่วนผสมในเครื่องสาอาง หลายประเภท เช่น แชมพูสระผม สบู่ ครีมกันแดด เป็นต้นสารที่ออกฤทธิ์เป็นกลัยโคโปรตีน ชื่อ aloctin A ซึ่งมีฤทธิ์ลด การอักเสบ และเพิ่มการเจริญทดแทนของเนื้อเยื่อบริเวณที่เป็นแผล แต่มีข้อเสีย คือ สลายตัวได้ง่ายเมื่อถูกความร้อนไม่ควร ทิ้งวุ้นสดไว้เกิน 24 ชั่วโมง น้ายางสีเหลืองจากใบ – เคี่ยวให้แห้ง เรียกว่า “ยาดา” เป็นยาระบายชนิดเพิ่มการบีบตัวของ ลาไส้ใหญ
  • 7. สรรพคุณ รากมีรสเย็นจืดใช้เป็นยาขับปัสสาวะพิการเป็นยาระบาย ช่วยบารุงดวงตา แก้ตาอักเสบ ตาฟาง ตาแฉะ โดยนิยมใช้รากต้นอัญชัน ชนิดดอกสีขาว นอกจากนี้ถ้านารากมาถูฟันจะทาให้ฟันคงทน แข็งแรงและแก้อาการปวดฟันได้ดี เมล็ดใช้เป็นยาระบาย ซึ่งใช้ชนิดดอกสีนาเงินและดอกสีขาว ส่วนดอกสดนามาทาศีรษะเพื่อใช้เป็นยาปลูกผม
  • 8. สรรพคุณยำไทย เหง้าของขมิ้นชันมีฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อ แบคทีเรีย เชื้อรา ลดการ อักเสบและ มีฤทธิ์ในการ ขับน้าดี น้ามัน หอมระเหยในขมิ้นชัน มีสรรพคุณบรรเทาอาการปวดท้อง ท้องอืด แน่นจุดเสียด วิธีใช้ อาการแพ้อักเสบ แผล ฝีพุพอง แมลงสัตว์กัดต่อยภายนอก ใช้เหง้ายาวประมาณ 2 นิ้ว ฝนกับน้า ต้มสุกทาบริเวณที่เป็น วันละ 3 ครั้ง หรือใช้ผงขมิ้นโรยทาบริเวณที่มีอาการ ผื่นคันจากแมลงสัตว์กัด ต่อยได้ อาการ ท้องอืดท้องเฟ้อ แน่น จุกเสียดและอาหารไม่ย่อย ใช้เหง้าขมิ้น ไม่ต้องปอกเปลือกหั่นเป็น ชิ้นบาง ๆ ตากแดดจัด ๆ สัก 1-2 วัน บดให้ละเอียด ผสมกับน้าผึ้งปั้นเป็นเม็ดขนาดปลายนิ้วก้อย รับประทานครั้งละ 2-3 เม็ด วันละ 3-4 ครั้ง หลังอาหารและก่อนนอนถ้ามีอาการท้องเสียให้หยุดยา ทันที
  • 9. สรรพคุณ : กลีบเลี้ยงของดอก หรือกลีบที่เหลืออยู่ที่ผล 1. เป็นยาลดไขมันในเส้นเลือด และช่วยลดน้าหนักด้วย 2. ลดความดันโลหิตได้โดยไม่มีผลร้ายแต่อย่างใด 3. น้ากระเจี๊ยบทาให้ความเหนียวข้นของเลือดลดลง 4. ช่วยรักษาโรคเส้นโลหิตแข็งเปราะได้ดี 5. น้ากระเจี๊ยบยังมีฤทธิ์ขับปัสสาวะ เป็นการช่วยลดความดันอีกทางหนึ่ง 6. ช่วยย่อยอาหาร เพราะไม่เพิ่มการหลั่งของกรดในกระเพาะ 7. เพิ่มการหลั่งน้าดีจากตับ 8. เป็นเครื่องดื่มที่ช่วยให้ร่างกายสดชื่น เพราะมีกรดซีตริคอยู่ด้วย
  • 10. - ใบ แก้โรคพยาธิตัวจี๊ด ยากัดเสมหะ แก้ไอ ขับเมือกมันในลาคอ ให้ลงสู่ทวารหนัก - ดอก แก้โรคนิ่วในไต แก้โรคนิ่วในกระเพราะปัสสาวะ ขัดเบา ละลายไขมันในเส้นเลือด กัดเสมหะ ขับเมือกในลาไส้ให้ลงสู่ทวารหนัก - ผล ลดไขมันในเส้นเลือด แก้กระหายน้า รักษาแผลในกระเพาะ - เมล็ด บารุงธาตุ บารุงกาลัง แก้ดีพิการ ขับปัสสาวะ ลดไขมันในเส้นเลือด นอกจากนี้ได้บ่งสรรพคุณโดยไม่ได้ระบุว่าใช้ส่วนใด ดังนี้คือ แก้อ่อนเพลีย บารุงกาลัง บารุงธาตุ แก้ดี พิการ แก้ปัสสาวะพิการ แก้คอแห้งกระหายน้า แก้ความดันโลหิตสูง กัดเสมหะ แก้ไอ ขับเมือกมันใน ลาไส้ ลดไขมันในเลือด บารุงโลหิต ลดอุณหภูมิในร่างกาย แก้โรคเบาหวาน แก้เส้นเลือดตีบตัน นอกจากใช้เดี่ยวๆ แล้ว ยังใช้ผสมในตารับยาร่วมกับสมุนไพรอื่น ใช้ถ่ายพยาธิตัวจี๊ด
  • 11. สรรพคุณ : เปลือกต้น – แก้ปวดท้อง แก้ลม คุมธาตุ ใบ – แก้ปวดมวน ดอกตูม – รับประทานขับลม ใช้แต่งกลิ่น ดอกกานพลูแห้ง ที่ยังไม่ได้สกัดเอาน้ามันออก และมีกลิ่นหอมจัด มีน้ามันหอมระเหยมาก รสเผ็ด ช่วย ขับลม แก้อาการท้องอืด ท้องเฟ้อ ปวดท้อง และแน่นจุกเสียด แก้อุจจาระพิการ แก้โรคเหน็บชา แก้หืด แก้ไอ แก้น้าเหลืองเสีย แก้เลือดเสีย ขับน้าคาวปลา แก้ลม แก้ธาตุพิการ บารุงธาตุ ขับเสมหะ แก้เสมหะ เหนียว ขับผายลม ขับลมในลาไส้ แก้ท้องเสียในเด็ก แก้ปากเหม็น แก้เลือดออกตามไรฟัน แก้รามะนาด กับกลิ่นเหล้า แก้ปวดฟัน ผล – ใช้เป็นเครื่องเทศ เป็นตัวช่วยให้มีกลิ่นหอม น้ำมันหอมระเหยกำนพลู – ใช้เป็นยาชาเฉพาะแห่ง แก้ปวดฟัน ฆ่าเชื้อทางทันตกรรม เป็นยาระงับการ ชักกระตุก ทาให้ผิวหนังชา
  • 12. สรรพคุณ : ใบ – มีสาร Asiaticoside ทายาทาแก้แผลโรคเรื้อน ทั้งต้นสด – เป็นยาบารุงกาลัง บารุงหัวใจ แก้อ่อนเพลีย เมื่อยล้า – รักษาแผลไฟไหม้ น้าร้อนลวก หรือมีการชอกช้าจากการกระแทก แก้พิษงูกัด – ปวดศีรษะข้างเดียว – ขับปัสสาวะ – แก้เจ็บคอ – เป็นยาห้ามเลือด ส่าแผลสด แก้โรคผิวหนัง – ลดความดัน แก้ช้าใน เมล็ด – แก้บิด แก้ไข้ ปวดศีรษะ