SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
การจัดทำาหน่วยการเรียนรู้
                               รายวิชาศิลปะ
                         ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ٢
                              สาระที่ 2 ดนตรี
ชื่อหน่วยการเรียนรู้ที่ ٨ ดนตรีกับชีวิตประจำาวัน
เป้าหมายการเรียนรู้
      สาระสำาคัญ
      ดนตรีไทยนั้นผูกพันกับวิถีการดำาเนินชีวิตของคนไทย และสังคม
ไทย มาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน กล่าวได้วาเกี่ยวข้องกับชีวิตคนไทย
                                              ่
ตั้งแต่เกิดจนตาย และพิธีการต่าง ๆ ทีต้องเกี่ยวข้องกับดนตรีไทย
                                         ่

ตัวชี้วัด
       ศ 2.٢ ม.2/6 ประเมินพัฒนาการทักษะทางดนตรีของตนเอง หลัง
จากการฝึกปฏิบัติ
       ศ 2.٢ ม.2/7 ระบุงานอาชีพต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับดนตรีและบทบาท
ของดนตรีในธุรกิจบันเทิง

     คุณลักษณะ
        1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
        2. ซื่อสัตย์สุจริต
        3. มีวินย ั
        4. ใฝ่เรียนรู้
        5. อยู่อย่างพอเพียง
        6. มุ่งมั่นในการทำางาน
        7. รักความเป็นไทย
        8. มีจิตสาธารณะ
หลักฐานที่เป็นผลการเรียนรู้
                 เป้าหมาย                    หลักฐานที่เป็นผลการ
                                                   เรียนรู้
สาระสำาคัญ
       ดนตรีไทยนั้นผูกพันกับวิถีการดำาเนิน        1. ทดสอบประเมิน
ชีวิตของคนไทย และสังคมไทย มาตั้งแต่                  ผลก่อนเรียน
อดีตจนถึงปัจจุบัน กล่าวได้ว่าเกี่ยวข้องกับ        2. ทำาใบงาน
ชีวิตคนไทยตั้งแต่เกิดจนตาย และพิธีการต่าง         3. การนำาเสนอผล
ๆ ทีต้องเกี่ยวข้องกับดนตรีไทย
     ่                                               งาน
                                                  4. การแสดงความ
                                                     คิดเห็น
ศ 2.٢ ม.2/6 ประเมินพัฒนาการทักษะทาง               1. ใบความรู้
ดนตรีของตนเอง หลังจากการฝึกปฏิบัติ                2. ใบงาน
 ศ 2.٢ ม.2/7 ระบุงานอาชีพต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง     3. ซักถามปัญหา
กับดนตรีและบทบาทของดนตรีในธุรกิจบันเทิง           4. สรุปความรู้
      คุณลักษณะ
         1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์              1. รายงานการสังเกต
         2. ซื่อสัตย์สุจริต                     พฤติกรรม
         3. มีวินัย                             2. สังเกตพฤติกรรม
         4. ใฝ่เรียนรู้                         ด้านคุณธรรมพื้นฐาน
         5. อยู่อย่างพอเพียง
         6. มุงมั่นในการทำางาน
              ่
         7. รักความเป็นไทย
         8. มีจิตสาธารณะ
การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
    หน่วยการเรียนรู้ที่ ٨
      สาระที่ 2 ดนตรี




     การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
           หน่วยการเรียนรู้ที่ ٨
      เรื่อง ดนตรีกับชีวิตประจำาวัน
หลักฐาน                 กิจกรรม                      สือ/อุปกรณ์
                                                       ่            ชั่วโ
                                                                    มง
          ١.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้            - เพลงลูกทุ่ง    1
          ٢.นักเรียนและครูร่วมอภิปราย               เพลงไทย
          หลังจากที่นักเรียนได้ศึกษารูป             เพลงสากล
          แบบของเพลงสากล และเพลง                    - กรับ ฉาบ
          ไทยแล้ว นักเรียนสามารถอธิบาย              โหม่ง
          ได้ว่ารูปแบบของเพลง และความ               - เครื่องเล่น
          แตกต่างของเพลงแต่ละประเภท                 CD
          เป็นอย่างไร โดยครูเป็นคนยก
          ตัวอย่างให้นักเรียนฟัง
          ٣.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา
          ว่าลักษณะของเพลงส่วนใหญ่เกิด
          ขึ้นชีวิตจริง และเกิดขึ้นตั้งแต่
          โบราณสืบทอดกันมาจนถึงทุกวัน
          นี้ ดังนั้นเพลงที่มีอยู่ในปัจจุบันนี้มี
          อยู่มากมาย นักเรียนสามารถ
          อธิบายได้หรือเปล่าว่าลักษณะ
          ของเพลง ประเภทของเพลงเป็น
          อย่างไร
          ٤.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 6 กลุ่ม
          เท่าๆ กัน แล้วให้แต่ละกลุ่ม ฟัง
          เพลงเหมือนกันทุกกลุ่ม แล้วให้
          แต่ละกลุ่มแยกประเภทของเพลง
          ออกมาว่า เพลงที่ฟังเป็นเพลง
          ประเภทใด โดยครูคอยให้คำา
          ปรึกษา
          ٥.ครูให้นักเรียนที่เป็นตัวแทนของ
          แต่ละกลุ่มออกมารายงาน พร้อม
          เปิดเพลงไปทีละเพลง พร้อม
          รายงานเนื้อหา ลักษณะของเพลง
          รูปแบบของเพลง ให้เพื่อนฟัง
          หน้าชั้นเรียน โดยครูคอยให้คำา
          ปรึกษา
          ٦.นักเรียนและครูร่วมกันสรุป
เนื้อหาของเพลง การเลือกฟัง
          เพลง การวิเคราะห์เนื้อหาของ
          เพลง ซึ่งเป็นส่วนสำาคัญต่อการฟัง
          เพลง และการสังเกตเพลงที่
          นักเรียนฟัง ดังนั้นก็มีส่วนในการ
          สังเกตแล้วนำามาบรรเลงหรือร้อง
          ต่อไป โดยครูสรุป


หลักฐาน              กิจกรรม                   สื่อ/อุปกรณ์     ชั่วโ
                                                                มง
          ١.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้     - C.D เพลงใน        1
          ٢.นักเรียนและครูร่วมอภิปราย        พิธี และเพลง
          หลังจากที่นักเรียนได้ศึกษารูป      ทั่วไป
          แบบของเพลงสากล และเพลง             - กรับ ฉาบ
          ไทยแล้ว นักเรียนสามารถ             โหม่ง
          อธิบายได้ว่ารูปแบบของเพลง          - เครื่องเล่น CD
          และความแตกต่างของเพลง              - ใบงาน เรื่อง
          แต่ละประเภทเป็นอย่างไร โดย         ดนตรีกับชีวิต
          ครูเป็นคนยกตัวอย่างให้             ประจำาวัน
          นักเรียนฟัง
          ٣.นักเรียนและครูร่วมกัน
          สนทนาว่าลักษณะของเพลง
          ส่วนใหญ่เกิดขึ้นชีวิตจริง และ
          เกิดขึ้นตั้งแต่โบราณสืบทอด
          กันมาจนถึงทุกวันนี้ ดังนั้น
          เพลงที่มีอยู่ในปัจจุบันนี้มีอยู่
          มากมาย นักเรียนสามารถ
          อธิบายได้หรือเปล่าว่าลักษณะ
          ของเพลง ประเภทของเพลง
          เป็นอย่างไร
          ٤.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 4
          กลุ่มเท่าๆ กัน แล้วให้แต่ละ
          กลุ่ม แล้วให้แต่ละกลุ่มไป
          ศึกษาดนตรีที่ใช้ในพิธีต่างๆ
โดยให้จดบันทึกมาส่งครูให้
          เรียบร้อย
          ٥.หลังจากที่นักเรียนได้ไป
          ศึกษาดนตรีที่ใช้ในชีวิตประจำา
          วันว่ามีอะไรบ้าง จากนั้นครูให้
          นักเรียนที่เป็นตัวแทนของ
          แต่ละกลุ่มออกมารายงาน
          ลักษณะของเพลงที่ใช้ในชีวิต
          ประจำาวัน ให้เพื่อนฟังหน้าชั้น
          เรียน โดยครูคอยให้คำาปรึกษา
          ٦.นักเรียนและครูร่วมกันสรุป
          เนื้อหาของเพลง การเลือกฟัง
          เพลง การวิเคราะห์เนื้อหาของ
          เพลง ซึ่งเป็นส่วนสำาคัญต่อ
          การฟังเพลง และการสังเกต
          เพลงที่นักเรียนฟัง ดังนั้นก็มี
          ส่วนในการสังเกตแล้วนำามา
          บรรเลงหรือร้องต่อไป โดยครู
          สรุป


หลักฐาน               กิจกรรม                  สื่อ/อุปกรณ์     ชั่วโ
                                                                มง
          ١.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้      - C.D เพลง         1
          ٢.นักเรียนและครูร่วมอภิปราย         ลูกทุ่ง ลูกกรุง
          หลังจากที่นักเรียนได้ศึกษารูป       และอื่นๆ
          แบบของเพลงสากล และเพลง              - กรับ ฉาบ
          ไทยแล้ว นักเรียนสามารถ              โหม่ง
          อธิบายได้ว่ารูปแบบของเพลง ที่       - เครื่องเล่น
          ใช้ในเชิงธุรกิจว่าลักษณะของ         CD
          เพลงเป็นอย่างไร
          ٣.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 6 กลุ่ม
          เท่าๆ กัน แล้วให้แต่ละกลุ่ม แล้ว
          ให้แต่ละกลุ่มไปศึกษาประเภท
          ของเพลงที่ใช้ในเชิงธุรกิจว่ามีรูป
แบบอย่างไร โดยให้จดบันทึกมา
              ส่งครูให้เรียบร้อย
              ٤.ครูให้นักเรียนที่เป็นตัวแทน
              ของแต่ละกลุ่มออกมารายงาน
              ลักษณะของเพลงที่ใช้ในชีวิต
              ประจำาวันที่อยู่ในเชิงธุรกิจว่าเป็น
              อย่างไร โดยให้แต่ละกลุ่ม
              รายงานหน้าชั้นเรียน ให้เพื่อน
              ฟังหน้าชั้นเรียน โดยครูคอยให้
              คำาปรึกษา
              ٥.นักเรียนและครูร่วมกันสรุป
              เนื้อหาของเพลง การเลือกฟัง
              เพลง การวิเคราะห์เนื้อหาของ
              เพลง และสามารถอธิบายถึง
              เพลงที่อยู่ในเชิงธุรกิจ โดยครู
              คอยให้คำาแนะนำา จากนั้นครูได้
              อธิบายเพิ่มเติมเพื่อให้นักเรียน
              เข้าใจหลักของการเลือกใช้เพลง
              และวิเคราะห์ลักษณะของเพลงที่
              เกี่ยวกับธุรกิจได้




                           แผนการจัดการเรียนรู้
                                หน่วยที่ ٨
                      เรื่อง ดนตรีกับชีวิตประจำาวัน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปศึกษา                         ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ٢
วิชา ศิลปะ                                       เวลาเรียน ٣ ชั่วโมง
หน่วยการเรียนรู้ที่ ٧ ดนตรีกับชีวิตประจำาวัน                ปีการ
ศึกษา ..........

1. สาระที่ 2 ดนตรี
2. มาตรฐานการเรียนรู้ ศ 2.2
          เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์
วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่าง
อิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำาวัน

3. ตัวชี้วัด
         ศ 2.٢ ม.2/6 ประเมินพัฒนาการทักษะทางดนตรีของตนเอง
หลังจากการฝึกปฏิบัติ
         ศ 2.٢ ม.2/7 ระบุงานอาชีพต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับดนตรีและ
บทบาทของดนตรีในธุรกิจบันเทิง

4. สาระสำาคัญ
      ดนตรีไทยนั้นผูกพันกับวิถีการดำาเนินชีวิตของคนไทย และสังคม
ไทย มาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน กล่าวได้วาเกี่ยวข้องกับชีวิตคนไทย
                                            ่
ตั้งแต่เกิดจนตาย และพิธีการต่าง ๆ ทีต้องเกี่ยวข้องกับดนตรีไทย
                                       ่

  1.1ความรู้
     1. การประเมินความสามารถทางดนตรี
     2. อาชีพทางด้านดนตรีบทบาทของดนตรีในธุรกิจบันเทิง

  1.2ทักษะกระบวนการ
     1. กระบวนความรู้ และความเข้าใจ
     2. กระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์
     3. กระบวนการกลุ่ม
     4. กระบวนการแก้ปัญหา


  1.3คุณลักษณะ
     1. ใฝ่รู้ใฝ่เรียน
     2. รักความเป็นไทย
3. มุ่งมั่นในการทำางาน
     4. มีคุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการ
     5. กระบวนการจัดการเรียนรู้

กิจกรรมการเรียนรู้ครังที่ 1 เรื่อง วิเคราะห์บทเพลง (เวลาเรียน 1
                       ้
ชั่วโมง)
        1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
        2.นักเรียนและครูร่วมอภิปรายหลังจากที่นักเรียนได้ศึกษารูป
แบบของเพลงสากล และเพลงไทยแล้ว นักเรียนสามารถอธิบายได้ว่า
รูปแบบของเพลง และความแตกต่างของเพลงแต่ละประเภทเป็นอย่างไร
โดยครูเป็นคนยกตัวอย่างให้นักเรียนฟัง
        3.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาว่าลักษณะของเพลงส่วนใหญ่
เกิดขึ้นชีวิตจริง และเกิดขึ้นตั้งแต่โบราณสืบทอดกันมาจนถึงทุกวันนี้
ดังนั้นเพลงที่มีอยู่ในปัจจุบันนี้มีอยู่มากมาย นักเรียนสามารถอธิบายได้
หรือเปล่าว่าลักษณะของเพลง ประเภทของเพลงเป็นอย่างไร
        ٤. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 6 กลุ่มเท่าๆ กัน แล้วให้แต่ละกลุ่ม
ฟังเพลงเหมือนกันทุกกลุ่ม แล้วให้แต่ละกลุ่มแยกประเภทของเพลงออก
มาว่า เพลงที่ฟังเป็นเพลงประเภทใด โดยครูคอยให้คำาปรึกษา
        5. ครูให้นักเรียนที่เป็นตัวแทนของแต่ละกลุ่มออกมารายงาน
พร้อมเปิดเพลงไปทีละเพลง พร้อมรายงานเนื้อหา ลักษณะของเพลง
รูปแบบของเพลง ให้เพื่อนฟังหน้าชั้นเรียน โดยครูคอยให้คำาปรึกษา
        ٦. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปเนื้อหาของเพลง การเลือกฟัง
เพลง การวิเคราะห์เนื้อหาของเพลง ซึ่งเป็นส่วนสำาคัญต่อการฟังเพลง
และการสังเกตเพลงที่นักเรียนฟัง ดังนั้นก็มีส่วนในการสังเกตแล้วนำามา
บรรเลงหรือร้องต่อไป โดยครูสรุป


กิจกรรมการเรียนรู้ครังที่ 2 เรื่อง ดนตรีกับชีวิตประจำาวัน (เวลาเรียน 1
                     ้
ชั่วโมง)
       1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
       2.นักเรียนและครูร่วมอภิปรายหลังจากที่นักเรียนได้ศึกษารูปแบบ
ของเพลงสากล และเพลงไทยแล้ว นักเรียนสามารถอธิบายได้ว่ารูป
แบบของเพลง และความแตกต่างของเพลงแต่ละประเภทเป็นอย่างไร
โดยครูเป็นคนยกตัวอย่างให้นักเรียนฟัง
3.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาว่าลักษณะของเพลงส่วนใหญ่
เกิดขึ้นชีวิตจริง และเกิดขึ้นตั้งแต่โบราณสืบทอดกันมาจนถึงทุกวันนี้
ดังนั้นเพลงที่มีอยู่ในปัจจุบันนี้มีอยู่มากมาย นักเรียนสามารถอธิบายได้
หรือเปล่าว่าลักษณะของเพลง ประเภทของเพลงเป็นอย่างไร
        ٤. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 4 กลุ่มเท่าๆ กัน แล้วให้แต่ละกลุ่ม
แล้วให้แต่ละกลุ่มไปศึกษาดนตรีที่ใช้ในพิธีต่างๆ โดยให้จดบันทึกมาส่ง
ครูให้เรียบร้อย
        5. หลังจากที่นักเรียนได้ไปศึกษาดนตรีที่ใช้ในชีวิตประจำาวันว่า
มีอะไรบ้าง จากนั้นครูให้นักเรียนที่เป็นตัวแทนของแต่ละกลุ่มออกมา
รายงาน ลักษณะของเพลงที่ใช้ในชีวิตประจำาวัน ให้เพื่อนฟังหน้าชั้น
เรียน โดยครูคอยให้คำาปรึกษา
        ٦. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปเนื้อหาของเพลง การเลือกฟัง
เพลง การวิเคราะห์เนื้อหาของเพลง ซึ่งเป็นส่วนสำาคัญต่อการฟังเพลง
และการสังเกตเพลงที่นักเรียนฟัง ดังนั้นก็มีส่วนในการสังเกตแล้วนำามา
บรรเลงหรือร้องต่อไป โดยครูสรุป


กิจกรรมการเรียนรู้ครังที่ 3 เรื่อง ดนตรีในธุรกิจบันเทิง (เวลา 1 ชั่วโมง)
                       ้
        1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้
        2.นักเรียนและครูร่วมอภิปรายหลังจากที่นักเรียนได้ศึกษารูป
แบบของเพลงสากล และเพลงไทยแล้ว นักเรียนสามารถอธิบายได้ว่า
รูปแบบของเพลง ที่ใช้ในเชิงธุรกิจว่าลักษณะของเพลงเป็นอย่างไร
        ٣. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 6 กลุ่มเท่าๆ กัน แล้วให้แต่ละกลุ่ม
แล้วให้แต่ละกลุ่มไปศึกษาประเภทของเพลงที่ใช้ในเชิงธุรกิจว่ามีรูป
แบบอย่างไร โดยให้จดบันทึกมาส่งครูให้เรียบร้อย
        4. ครูให้นักเรียนที่เป็นตัวแทนของแต่ละกลุ่มออกมารายงาน
ลักษณะของเพลงที่ใช้ในชีวิตประจำาวันที่อยู่ในเชิงธุรกิจว่าเป็นอย่างไร
โดยให้แต่ละกลุ่มรายงานหน้าชั้นเรียน ให้เพื่อนฟังหน้าชั้นเรียน โดย
ครูคอยให้คำาปรึกษา
        5. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปเนื้อหาของเพลง การเลือกฟัง
เพลง การวิเคราะห์เนื้อหาของเพลง และสามารถอธิบายถึงเพลงที่อยู่ใน
เชิงธุรกิจ โดยครูคอยให้คำาแนะนำา จากนั้นครูได้อธิบายเพิ่มเติมเพื่อให้
นักเรียนเข้าใจหลักของการเลือกใช้เพลง และวิเคราะห์ลักษณะของ
เพลงที่เกี่ยวกับธุรกิจได้
       6. สื่ออุปกรณ์และแหล่งเรียนรู้
1. ใบความรู้
          2. ใบงาน
          3. แผนภาพ
          4. คำาถาม
          5. สถานการณ์/ เหตุการณ์
          6. ของจริง/เครื่องดนตรี
          7. อุปกรณ์การเล่นดนตรี
          8. อุปกรณ์ในการจัดบอร์ด
          9. อินเทอร์เน็ต เว็บไซต์
          10. หนังสือเรียน เอกสารความรู้
7. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
     7.1 วิธีการวัดและเครื่องมือวัด
เป้าหมายการเรียนรู้              วิธีการวัด     เครื่องมือวัด
สาระสำาคัญ
      ดนตรีไทยนั้นผูกพันกับวิถี      1. ทดสอบ          1. แบบทดสอบ
การดำาเนินชีวิตของคนไทย และ          ประเมินผลก่อน     ประเมินผลก่อน
สังคมไทย มาตั้งแต่อดีตจนถึง          เรียน             เรียน
ปัจจุบัน กล่าวได้ว่าเกี่ยวข้องกับ    2. ตรวจใบงาน      2. แบบประเมิน
ชีวิตคนไทยตั้งแต่เกิดจนตาย           3. การนำาเสนอ     ใบงาน
และพิธีการต่าง ๆ ที่ต้องเกี่ยวข้อง   ผลงาน             3. แบบประเมิน
กับดนตรีไทย                                            การนำาเสนอผล
                                                       งาน
ศ 2.1 ม.2/6 ประเมินพัฒนาการ          ١. ใบงาน เรื่อง   – แบบประเมิน
ทักษะทางดนตรีของตนเอง หลัง           ดนตรีกับชีวิต     ใบงาน
จากการฝึกปฏิบัติ                     ประจำาวัน         – แบบประเมิน
                                                       การปฏิบัติงาน
                                                       กลุ่ม
ศ 2.1 ม.2/7 ระบุงานอาชีพต่าง                 -         – แบบประเมิน
ๆ ที่เกี่ยวข้องกับดนตรีและบทบาท                        ใบงาน
ของดนตรีในธุรกิจบันเทิง                                – แบบประเมิน
                                                       การปฏิบัติงาน
                                                       กลุ่ม
                                                       – แบบประเมิน
                                                       การนำาเสนอผล
                                                       งาน
                                                       – แบบประเมิน
                                                       ผลงานงาน/ชิ้น
                                                       งาน
                                                       – แบบทดสอบ
                                                       ประเมินผลหลัง
                                                       เรียน
คุณลักษณะ                            1. รายงานการ      1. แบบประเมิน
1.ใฝ่รู้ใฝ่เรียน                     สังเกตพฤติกรรม    พฤติกรรมด้าน
2.รักความเป็นไทย                     2. สังเกต         การปฏิบัติตน
3.มุ่งมั่นในการทำางาน                พฤติกรรมด้าน      2. แบบประเมิน
4.มีคุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการ          คุณธรรมพื้นฐาน    พฤติกรรมด้าน
                                                       คุณธรรมพื้น
                                                       ฐาน
7.2 เกณฑ์การวัด
   7.2.1 ข้อสอบปรนัย เลือกคำาตอบได้ถูกข้อละ 1 คะแนน
   7.2.2 แบบประเมินการปฏิบัติงานกลุ่ม
     1. การกำาหนด / เป้าหมายร่วมกัน
     2. การแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ
     3. การปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
     4. การประเมินและปรับปรุงผลงาน
   7.2.3 แบบประเมินก่อนนำาเสนอผลงาน
     1. เนื้อหา
     2. กลวิธีนำาเสนอ
     3. ขั้นตอนการนำาเสนอ
     4. การใช้ภาษา
     5. ตอบคำาถาม / เวลา
   7.2.4 แบบตรวจผลงานเขียนแผนผังความคิด
     1. ความคิดรวบยอด
     2. ความคิดรอง
     3. ความคิดย่อย
     4. การเชื่อมโยงความคิด
     5. ความสวยงาม
   7.2.5 แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
     1. ความตั้งใจ
     2. ความร่วมมือ
     3. ความมีวินัย
     4. คุณภาพของผลงาน
     5. การนำาเสนอผลงาน
   7.2.6 แบบประเมินใบงาน
     1. การสรุปเป็นองค์ความรู้
     2. เนื้อหาถูกต้อง ครบถ้วน
     3. การบันทึกข้อมูล
     4. การอภิปราย
     5. การสนทนาซักถาม
7.2.7 แบบประเมินผลงาน / ชิ้นงาน
          1. ความคิดสร้างสรรค์
          2. ความประณีตสวยงาม
          3. ความสะอาด
          4. ความแข็งแรงคงทน
          5. ทำางานเสร็จทันเวลา
        7.2.8 การสอบถามนักเรียนเกี่ยวกับการวิเคราะห์แผนภาพ
          1. คำาตอบเป็นคำาตอบในเชิงบวกได้ 1 คะแนน
          2. คำาตอบเป็นคำาตอบในเชิงลบได้ 0 คะแนน
        7.2.9 แบบประเมินพฤติกรรมด้านการปฏิบัติตน
          1. ความกระตือรือร้น
          2. ความร่วมมือ
          3. ความรับผิดชอบ
          4. การเคารพกติกา
          5. ความกล้าแสดงออก
        7.2.10 แบบประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรมพื้นฐาน
          1. ความขยัน
          2. ความมีวินัย
          3. ความสะอาด
          4. ความสามัคคี
          5. ความมีนำ้าใจ




8. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
8.1 ผลการจัดการเรียนรู้ ( นักเรียนทั้งหมด 40 คน )
               นักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินระดับดี........คน คิดเป็นร้อย
ละ...........
               นักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินระดับปานกลาง.......คน คิด
เป็นร้อยละ.................
               นักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับปรับปรุง........คน
คิดเป็นร้อยละ.............
       8.2 ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................
            8.3 ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการ
สอน
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................
            8.4 การปรับปรุงและพัฒนา
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................


                                                 ลงชื่อ…………………………………………

(.................................................................)
ครู วิทยฐานะครูชำานาญ
การ




9. ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................



                                            ลงชื่อ........................................
...ผูตรวจสอบ
     ้

           (......................................................)
                                            หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ




       10. ความเห็นของผู้บริหารโรงเรียน
..................
………………………………………………………………………....................
.............................................................................................
.............................................................................................
.............................................................................................
.....................................................................................




           ลงชื่อ.................................................. ผูตรวจสอบ
                                                                      ้

( ..............................................)
                                          ผู้อำานวยการ
โรงเรียน.................................

More Related Content

What's hot

คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
อำนาจ ศรีทิม
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
อำนาจ ศรีทิม
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
อำนาจ ศรีทิม
 
Food m1
Food m1Food m1
Food m1
umpan
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
Yatphirun Phuangsuwan
 
6. หลักสูตรศิลปะ
6. หลักสูตรศิลปะ6. หลักสูตรศิลปะ
6. หลักสูตรศิลปะ
nang_phy29
 
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
พิพัฒน์ ตะภา
 
กำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะกำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะ
Yatphirun Phuangsuwan
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward
parichat441
 
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
Yatphirun Phuangsuwan
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศกลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
Yatphirun Phuangsuwan
 

What's hot (20)

คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
 
Food m1
Food m1Food m1
Food m1
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
 
หลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลาย
หลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลายหลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลาย
หลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลาย
 
6. หลักสูตรศิลปะ
6. หลักสูตรศิลปะ6. หลักสูตรศิลปะ
6. หลักสูตรศิลปะ
 
องค์ประกอบดนตรี
องค์ประกอบดนตรีองค์ประกอบดนตรี
องค์ประกอบดนตรี
 
วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
 
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
 
กำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะกำหนดการสอนศิลปะ
กำหนดการสอนศิลปะ
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward
 
บทความ วิเคราะห์ เพลง
บทความ   วิเคราะห์ เพลงบทความ   วิเคราะห์ เพลง
บทความ วิเคราะห์ เพลง
 
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศกลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าแคนแคน
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าแคนแคนบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าแคนแคน
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าแคนแคน
 
Elements
ElementsElements
Elements
 
THAI DANCE
THAI  DANCETHAI  DANCE
THAI DANCE
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรีเอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรี
 

Viewers also liked (6)

บทที่ ๙ ของที่ระลึก
บทที่ ๙ ของที่ระลึกบทที่ ๙ ของที่ระลึก
บทที่ ๙ ของที่ระลึก
 
ใบความรู้ ที่ 1
ใบความรู้ ที่ 1ใบความรู้ ที่ 1
ใบความรู้ ที่ 1
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
 
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
 
รายวิชา นาฏศิลป์ 2 รหัส ศ22104 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
รายวิชา นาฏศิลป์ 2 รหัส ศ22104 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2รายวิชา นาฏศิลป์ 2 รหัส ศ22104 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
รายวิชา นาฏศิลป์ 2 รหัส ศ22104 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
 
การเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทย
การเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทยการเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทย
การเทียบเสียงตัวอักษรภาษาอังกฤษกับไทย
 

Similar to สาระที่ 2 หน่วยที่ 8

บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลางบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
ฏิวัตต์ สันทาลุนัย
 
บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ
บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ
บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ
Sasithon AnnAnn
 
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
Kruanchalee
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถม
Pignoi Chimpong
 
Ppp ผ่านแล้ว
Ppp ผ่านแล้วPpp ผ่านแล้ว
Ppp ผ่านแล้ว
Ubonpan Sornsakul
 
Ppp ผ่านแล้ว
Ppp ผ่านแล้วPpp ผ่านแล้ว
Ppp ผ่านแล้ว
Ubonpan Sornsakul
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 i live in bua yai
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 i live in bua yaiแผนการจัดการเรียนรู้ที่1 i live in bua yai
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 i live in bua yai
jutatip3059
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e soundแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
pantiluck
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 phonics i, o and u sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 phonics i, o and u soundแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 phonics i, o and u sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 phonics i, o and u sound
pantiluck
 
งานคอมพอตตต ล่าสุด2
งานคอมพอตตต ล่าสุด2งานคอมพอตตต ล่าสุด2
งานคอมพอตตต ล่าสุด2
AomSirilakKhawsanlee
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
suchinmam
 

Similar to สาระที่ 2 หน่วยที่ 8 (20)

บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลางบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
 
Asean Lesson Plan
Asean Lesson PlanAsean Lesson Plan
Asean Lesson Plan
 
บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ
บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ
บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ
 
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถม
 
ใบงานวิชาดนตรี ม.5
ใบงานวิชาดนตรี ม.5ใบงานวิชาดนตรี ม.5
ใบงานวิชาดนตรี ม.5
 
กิจกรรมฐาน
กิจกรรมฐานกิจกรรมฐาน
กิจกรรมฐาน
 
Ppp ผ่านแล้ว
Ppp ผ่านแล้วPpp ผ่านแล้ว
Ppp ผ่านแล้ว
 
Ppp ผ่านแล้ว
Ppp ผ่านแล้วPpp ผ่านแล้ว
Ppp ผ่านแล้ว
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 i live in bua yai
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 i live in bua yaiแผนการจัดการเรียนรู้ที่1 i live in bua yai
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 i live in bua yai
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e soundแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 phonics i, o and u sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 phonics i, o and u soundแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 phonics i, o and u sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 phonics i, o and u sound
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย
 
ค่าย
ค่ายค่าย
ค่าย
 
Eis science lesson plan grade 1
Eis science lesson plan grade 1Eis science lesson plan grade 1
Eis science lesson plan grade 1
 
เทคนิตการสอนดนตรี.pptx
เทคนิตการสอนดนตรี.pptxเทคนิตการสอนดนตรี.pptx
เทคนิตการสอนดนตรี.pptx
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
 
หน่วยที่๗
หน่วยที่๗หน่วยที่๗
หน่วยที่๗
 
งานคอมพอตตต ล่าสุด2
งานคอมพอตตต ล่าสุด2งานคอมพอตตต ล่าสุด2
งานคอมพอตตต ล่าสุด2
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 

สาระที่ 2 หน่วยที่ 8

  • 1. การจัดทำาหน่วยการเรียนรู้ รายวิชาศิลปะ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ٢ สาระที่ 2 ดนตรี ชื่อหน่วยการเรียนรู้ที่ ٨ ดนตรีกับชีวิตประจำาวัน เป้าหมายการเรียนรู้ สาระสำาคัญ ดนตรีไทยนั้นผูกพันกับวิถีการดำาเนินชีวิตของคนไทย และสังคม ไทย มาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน กล่าวได้วาเกี่ยวข้องกับชีวิตคนไทย ่ ตั้งแต่เกิดจนตาย และพิธีการต่าง ๆ ทีต้องเกี่ยวข้องกับดนตรีไทย ่ ตัวชี้วัด ศ 2.٢ ม.2/6 ประเมินพัฒนาการทักษะทางดนตรีของตนเอง หลัง จากการฝึกปฏิบัติ ศ 2.٢ ม.2/7 ระบุงานอาชีพต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับดนตรีและบทบาท ของดนตรีในธุรกิจบันเทิง คุณลักษณะ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินย ั 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทำางาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ
  • 2. หลักฐานที่เป็นผลการเรียนรู้ เป้าหมาย หลักฐานที่เป็นผลการ เรียนรู้ สาระสำาคัญ ดนตรีไทยนั้นผูกพันกับวิถีการดำาเนิน 1. ทดสอบประเมิน ชีวิตของคนไทย และสังคมไทย มาตั้งแต่ ผลก่อนเรียน อดีตจนถึงปัจจุบัน กล่าวได้ว่าเกี่ยวข้องกับ 2. ทำาใบงาน ชีวิตคนไทยตั้งแต่เกิดจนตาย และพิธีการต่าง 3. การนำาเสนอผล ๆ ทีต้องเกี่ยวข้องกับดนตรีไทย ่ งาน 4. การแสดงความ คิดเห็น ศ 2.٢ ม.2/6 ประเมินพัฒนาการทักษะทาง 1. ใบความรู้ ดนตรีของตนเอง หลังจากการฝึกปฏิบัติ 2. ใบงาน ศ 2.٢ ม.2/7 ระบุงานอาชีพต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง 3. ซักถามปัญหา กับดนตรีและบทบาทของดนตรีในธุรกิจบันเทิง 4. สรุปความรู้ คุณลักษณะ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 1. รายงานการสังเกต 2. ซื่อสัตย์สุจริต พฤติกรรม 3. มีวินัย 2. สังเกตพฤติกรรม 4. ใฝ่เรียนรู้ ด้านคุณธรรมพื้นฐาน 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุงมั่นในการทำางาน ่ 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ
  • 3. การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ ٨ สาระที่ 2 ดนตรี การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ ٨ เรื่อง ดนตรีกับชีวิตประจำาวัน
  • 4. หลักฐาน กิจกรรม สือ/อุปกรณ์ ่ ชั่วโ มง ١.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ - เพลงลูกทุ่ง 1 ٢.นักเรียนและครูร่วมอภิปราย เพลงไทย หลังจากที่นักเรียนได้ศึกษารูป เพลงสากล แบบของเพลงสากล และเพลง - กรับ ฉาบ ไทยแล้ว นักเรียนสามารถอธิบาย โหม่ง ได้ว่ารูปแบบของเพลง และความ - เครื่องเล่น แตกต่างของเพลงแต่ละประเภท CD เป็นอย่างไร โดยครูเป็นคนยก ตัวอย่างให้นักเรียนฟัง ٣.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา ว่าลักษณะของเพลงส่วนใหญ่เกิด ขึ้นชีวิตจริง และเกิดขึ้นตั้งแต่ โบราณสืบทอดกันมาจนถึงทุกวัน นี้ ดังนั้นเพลงที่มีอยู่ในปัจจุบันนี้มี อยู่มากมาย นักเรียนสามารถ อธิบายได้หรือเปล่าว่าลักษณะ ของเพลง ประเภทของเพลงเป็น อย่างไร ٤.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 6 กลุ่ม เท่าๆ กัน แล้วให้แต่ละกลุ่ม ฟัง เพลงเหมือนกันทุกกลุ่ม แล้วให้ แต่ละกลุ่มแยกประเภทของเพลง ออกมาว่า เพลงที่ฟังเป็นเพลง ประเภทใด โดยครูคอยให้คำา ปรึกษา ٥.ครูให้นักเรียนที่เป็นตัวแทนของ แต่ละกลุ่มออกมารายงาน พร้อม เปิดเพลงไปทีละเพลง พร้อม รายงานเนื้อหา ลักษณะของเพลง รูปแบบของเพลง ให้เพื่อนฟัง หน้าชั้นเรียน โดยครูคอยให้คำา ปรึกษา ٦.นักเรียนและครูร่วมกันสรุป
  • 5. เนื้อหาของเพลง การเลือกฟัง เพลง การวิเคราะห์เนื้อหาของ เพลง ซึ่งเป็นส่วนสำาคัญต่อการฟัง เพลง และการสังเกตเพลงที่ นักเรียนฟัง ดังนั้นก็มีส่วนในการ สังเกตแล้วนำามาบรรเลงหรือร้อง ต่อไป โดยครูสรุป หลักฐาน กิจกรรม สื่อ/อุปกรณ์ ชั่วโ มง ١.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ - C.D เพลงใน 1 ٢.นักเรียนและครูร่วมอภิปราย พิธี และเพลง หลังจากที่นักเรียนได้ศึกษารูป ทั่วไป แบบของเพลงสากล และเพลง - กรับ ฉาบ ไทยแล้ว นักเรียนสามารถ โหม่ง อธิบายได้ว่ารูปแบบของเพลง - เครื่องเล่น CD และความแตกต่างของเพลง - ใบงาน เรื่อง แต่ละประเภทเป็นอย่างไร โดย ดนตรีกับชีวิต ครูเป็นคนยกตัวอย่างให้ ประจำาวัน นักเรียนฟัง ٣.นักเรียนและครูร่วมกัน สนทนาว่าลักษณะของเพลง ส่วนใหญ่เกิดขึ้นชีวิตจริง และ เกิดขึ้นตั้งแต่โบราณสืบทอด กันมาจนถึงทุกวันนี้ ดังนั้น เพลงที่มีอยู่ในปัจจุบันนี้มีอยู่ มากมาย นักเรียนสามารถ อธิบายได้หรือเปล่าว่าลักษณะ ของเพลง ประเภทของเพลง เป็นอย่างไร ٤.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 4 กลุ่มเท่าๆ กัน แล้วให้แต่ละ กลุ่ม แล้วให้แต่ละกลุ่มไป ศึกษาดนตรีที่ใช้ในพิธีต่างๆ
  • 6. โดยให้จดบันทึกมาส่งครูให้ เรียบร้อย ٥.หลังจากที่นักเรียนได้ไป ศึกษาดนตรีที่ใช้ในชีวิตประจำา วันว่ามีอะไรบ้าง จากนั้นครูให้ นักเรียนที่เป็นตัวแทนของ แต่ละกลุ่มออกมารายงาน ลักษณะของเพลงที่ใช้ในชีวิต ประจำาวัน ให้เพื่อนฟังหน้าชั้น เรียน โดยครูคอยให้คำาปรึกษา ٦.นักเรียนและครูร่วมกันสรุป เนื้อหาของเพลง การเลือกฟัง เพลง การวิเคราะห์เนื้อหาของ เพลง ซึ่งเป็นส่วนสำาคัญต่อ การฟังเพลง และการสังเกต เพลงที่นักเรียนฟัง ดังนั้นก็มี ส่วนในการสังเกตแล้วนำามา บรรเลงหรือร้องต่อไป โดยครู สรุป หลักฐาน กิจกรรม สื่อ/อุปกรณ์ ชั่วโ มง ١.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ - C.D เพลง 1 ٢.นักเรียนและครูร่วมอภิปราย ลูกทุ่ง ลูกกรุง หลังจากที่นักเรียนได้ศึกษารูป และอื่นๆ แบบของเพลงสากล และเพลง - กรับ ฉาบ ไทยแล้ว นักเรียนสามารถ โหม่ง อธิบายได้ว่ารูปแบบของเพลง ที่ - เครื่องเล่น ใช้ในเชิงธุรกิจว่าลักษณะของ CD เพลงเป็นอย่างไร ٣.ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 6 กลุ่ม เท่าๆ กัน แล้วให้แต่ละกลุ่ม แล้ว ให้แต่ละกลุ่มไปศึกษาประเภท ของเพลงที่ใช้ในเชิงธุรกิจว่ามีรูป
  • 7. แบบอย่างไร โดยให้จดบันทึกมา ส่งครูให้เรียบร้อย ٤.ครูให้นักเรียนที่เป็นตัวแทน ของแต่ละกลุ่มออกมารายงาน ลักษณะของเพลงที่ใช้ในชีวิต ประจำาวันที่อยู่ในเชิงธุรกิจว่าเป็น อย่างไร โดยให้แต่ละกลุ่ม รายงานหน้าชั้นเรียน ให้เพื่อน ฟังหน้าชั้นเรียน โดยครูคอยให้ คำาปรึกษา ٥.นักเรียนและครูร่วมกันสรุป เนื้อหาของเพลง การเลือกฟัง เพลง การวิเคราะห์เนื้อหาของ เพลง และสามารถอธิบายถึง เพลงที่อยู่ในเชิงธุรกิจ โดยครู คอยให้คำาแนะนำา จากนั้นครูได้ อธิบายเพิ่มเติมเพื่อให้นักเรียน เข้าใจหลักของการเลือกใช้เพลง และวิเคราะห์ลักษณะของเพลงที่ เกี่ยวกับธุรกิจได้ แผนการจัดการเรียนรู้ หน่วยที่ ٨ เรื่อง ดนตรีกับชีวิตประจำาวัน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปศึกษา ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ٢
  • 8. วิชา ศิลปะ เวลาเรียน ٣ ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้ที่ ٧ ดนตรีกับชีวิตประจำาวัน ปีการ ศึกษา .......... 1. สาระที่ 2 ดนตรี 2. มาตรฐานการเรียนรู้ ศ 2.2 เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่าง อิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำาวัน 3. ตัวชี้วัด ศ 2.٢ ม.2/6 ประเมินพัฒนาการทักษะทางดนตรีของตนเอง หลังจากการฝึกปฏิบัติ ศ 2.٢ ม.2/7 ระบุงานอาชีพต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับดนตรีและ บทบาทของดนตรีในธุรกิจบันเทิง 4. สาระสำาคัญ ดนตรีไทยนั้นผูกพันกับวิถีการดำาเนินชีวิตของคนไทย และสังคม ไทย มาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน กล่าวได้วาเกี่ยวข้องกับชีวิตคนไทย ่ ตั้งแต่เกิดจนตาย และพิธีการต่าง ๆ ทีต้องเกี่ยวข้องกับดนตรีไทย ่ 1.1ความรู้ 1. การประเมินความสามารถทางดนตรี 2. อาชีพทางด้านดนตรีบทบาทของดนตรีในธุรกิจบันเทิง 1.2ทักษะกระบวนการ 1. กระบวนความรู้ และความเข้าใจ 2. กระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ 3. กระบวนการกลุ่ม 4. กระบวนการแก้ปัญหา 1.3คุณลักษณะ 1. ใฝ่รู้ใฝ่เรียน 2. รักความเป็นไทย
  • 9. 3. มุ่งมั่นในการทำางาน 4. มีคุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการ 5. กระบวนการจัดการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ครังที่ 1 เรื่อง วิเคราะห์บทเพลง (เวลาเรียน 1 ้ ชั่วโมง) 1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ 2.นักเรียนและครูร่วมอภิปรายหลังจากที่นักเรียนได้ศึกษารูป แบบของเพลงสากล และเพลงไทยแล้ว นักเรียนสามารถอธิบายได้ว่า รูปแบบของเพลง และความแตกต่างของเพลงแต่ละประเภทเป็นอย่างไร โดยครูเป็นคนยกตัวอย่างให้นักเรียนฟัง 3.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาว่าลักษณะของเพลงส่วนใหญ่ เกิดขึ้นชีวิตจริง และเกิดขึ้นตั้งแต่โบราณสืบทอดกันมาจนถึงทุกวันนี้ ดังนั้นเพลงที่มีอยู่ในปัจจุบันนี้มีอยู่มากมาย นักเรียนสามารถอธิบายได้ หรือเปล่าว่าลักษณะของเพลง ประเภทของเพลงเป็นอย่างไร ٤. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 6 กลุ่มเท่าๆ กัน แล้วให้แต่ละกลุ่ม ฟังเพลงเหมือนกันทุกกลุ่ม แล้วให้แต่ละกลุ่มแยกประเภทของเพลงออก มาว่า เพลงที่ฟังเป็นเพลงประเภทใด โดยครูคอยให้คำาปรึกษา 5. ครูให้นักเรียนที่เป็นตัวแทนของแต่ละกลุ่มออกมารายงาน พร้อมเปิดเพลงไปทีละเพลง พร้อมรายงานเนื้อหา ลักษณะของเพลง รูปแบบของเพลง ให้เพื่อนฟังหน้าชั้นเรียน โดยครูคอยให้คำาปรึกษา ٦. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปเนื้อหาของเพลง การเลือกฟัง เพลง การวิเคราะห์เนื้อหาของเพลง ซึ่งเป็นส่วนสำาคัญต่อการฟังเพลง และการสังเกตเพลงที่นักเรียนฟัง ดังนั้นก็มีส่วนในการสังเกตแล้วนำามา บรรเลงหรือร้องต่อไป โดยครูสรุป กิจกรรมการเรียนรู้ครังที่ 2 เรื่อง ดนตรีกับชีวิตประจำาวัน (เวลาเรียน 1 ้ ชั่วโมง) 1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ 2.นักเรียนและครูร่วมอภิปรายหลังจากที่นักเรียนได้ศึกษารูปแบบ ของเพลงสากล และเพลงไทยแล้ว นักเรียนสามารถอธิบายได้ว่ารูป แบบของเพลง และความแตกต่างของเพลงแต่ละประเภทเป็นอย่างไร โดยครูเป็นคนยกตัวอย่างให้นักเรียนฟัง
  • 10. 3.นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาว่าลักษณะของเพลงส่วนใหญ่ เกิดขึ้นชีวิตจริง และเกิดขึ้นตั้งแต่โบราณสืบทอดกันมาจนถึงทุกวันนี้ ดังนั้นเพลงที่มีอยู่ในปัจจุบันนี้มีอยู่มากมาย นักเรียนสามารถอธิบายได้ หรือเปล่าว่าลักษณะของเพลง ประเภทของเพลงเป็นอย่างไร ٤. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 4 กลุ่มเท่าๆ กัน แล้วให้แต่ละกลุ่ม แล้วให้แต่ละกลุ่มไปศึกษาดนตรีที่ใช้ในพิธีต่างๆ โดยให้จดบันทึกมาส่ง ครูให้เรียบร้อย 5. หลังจากที่นักเรียนได้ไปศึกษาดนตรีที่ใช้ในชีวิตประจำาวันว่า มีอะไรบ้าง จากนั้นครูให้นักเรียนที่เป็นตัวแทนของแต่ละกลุ่มออกมา รายงาน ลักษณะของเพลงที่ใช้ในชีวิตประจำาวัน ให้เพื่อนฟังหน้าชั้น เรียน โดยครูคอยให้คำาปรึกษา ٦. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปเนื้อหาของเพลง การเลือกฟัง เพลง การวิเคราะห์เนื้อหาของเพลง ซึ่งเป็นส่วนสำาคัญต่อการฟังเพลง และการสังเกตเพลงที่นักเรียนฟัง ดังนั้นก็มีส่วนในการสังเกตแล้วนำามา บรรเลงหรือร้องต่อไป โดยครูสรุป กิจกรรมการเรียนรู้ครังที่ 3 เรื่อง ดนตรีในธุรกิจบันเทิง (เวลา 1 ชั่วโมง) ้ 1.ครูแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ 2.นักเรียนและครูร่วมอภิปรายหลังจากที่นักเรียนได้ศึกษารูป แบบของเพลงสากล และเพลงไทยแล้ว นักเรียนสามารถอธิบายได้ว่า รูปแบบของเพลง ที่ใช้ในเชิงธุรกิจว่าลักษณะของเพลงเป็นอย่างไร ٣. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 6 กลุ่มเท่าๆ กัน แล้วให้แต่ละกลุ่ม แล้วให้แต่ละกลุ่มไปศึกษาประเภทของเพลงที่ใช้ในเชิงธุรกิจว่ามีรูป แบบอย่างไร โดยให้จดบันทึกมาส่งครูให้เรียบร้อย 4. ครูให้นักเรียนที่เป็นตัวแทนของแต่ละกลุ่มออกมารายงาน ลักษณะของเพลงที่ใช้ในชีวิตประจำาวันที่อยู่ในเชิงธุรกิจว่าเป็นอย่างไร โดยให้แต่ละกลุ่มรายงานหน้าชั้นเรียน ให้เพื่อนฟังหน้าชั้นเรียน โดย ครูคอยให้คำาปรึกษา 5. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปเนื้อหาของเพลง การเลือกฟัง เพลง การวิเคราะห์เนื้อหาของเพลง และสามารถอธิบายถึงเพลงที่อยู่ใน เชิงธุรกิจ โดยครูคอยให้คำาแนะนำา จากนั้นครูได้อธิบายเพิ่มเติมเพื่อให้ นักเรียนเข้าใจหลักของการเลือกใช้เพลง และวิเคราะห์ลักษณะของ เพลงที่เกี่ยวกับธุรกิจได้ 6. สื่ออุปกรณ์และแหล่งเรียนรู้
  • 11. 1. ใบความรู้ 2. ใบงาน 3. แผนภาพ 4. คำาถาม 5. สถานการณ์/ เหตุการณ์ 6. ของจริง/เครื่องดนตรี 7. อุปกรณ์การเล่นดนตรี 8. อุปกรณ์ในการจัดบอร์ด 9. อินเทอร์เน็ต เว็บไซต์ 10. หนังสือเรียน เอกสารความรู้ 7. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 7.1 วิธีการวัดและเครื่องมือวัด
  • 12. เป้าหมายการเรียนรู้ วิธีการวัด เครื่องมือวัด สาระสำาคัญ ดนตรีไทยนั้นผูกพันกับวิถี 1. ทดสอบ 1. แบบทดสอบ การดำาเนินชีวิตของคนไทย และ ประเมินผลก่อน ประเมินผลก่อน สังคมไทย มาตั้งแต่อดีตจนถึง เรียน เรียน ปัจจุบัน กล่าวได้ว่าเกี่ยวข้องกับ 2. ตรวจใบงาน 2. แบบประเมิน ชีวิตคนไทยตั้งแต่เกิดจนตาย 3. การนำาเสนอ ใบงาน และพิธีการต่าง ๆ ที่ต้องเกี่ยวข้อง ผลงาน 3. แบบประเมิน กับดนตรีไทย การนำาเสนอผล งาน ศ 2.1 ม.2/6 ประเมินพัฒนาการ ١. ใบงาน เรื่อง – แบบประเมิน ทักษะทางดนตรีของตนเอง หลัง ดนตรีกับชีวิต ใบงาน จากการฝึกปฏิบัติ ประจำาวัน – แบบประเมิน การปฏิบัติงาน กลุ่ม ศ 2.1 ม.2/7 ระบุงานอาชีพต่าง - – แบบประเมิน ๆ ที่เกี่ยวข้องกับดนตรีและบทบาท ใบงาน ของดนตรีในธุรกิจบันเทิง – แบบประเมิน การปฏิบัติงาน กลุ่ม – แบบประเมิน การนำาเสนอผล งาน – แบบประเมิน ผลงานงาน/ชิ้น งาน – แบบทดสอบ ประเมินผลหลัง เรียน คุณลักษณะ 1. รายงานการ 1. แบบประเมิน 1.ใฝ่รู้ใฝ่เรียน สังเกตพฤติกรรม พฤติกรรมด้าน 2.รักความเป็นไทย 2. สังเกต การปฏิบัติตน 3.มุ่งมั่นในการทำางาน พฤติกรรมด้าน 2. แบบประเมิน 4.มีคุณธรรมพื้นฐาน 8 ประการ คุณธรรมพื้นฐาน พฤติกรรมด้าน คุณธรรมพื้น ฐาน
  • 13. 7.2 เกณฑ์การวัด 7.2.1 ข้อสอบปรนัย เลือกคำาตอบได้ถูกข้อละ 1 คะแนน 7.2.2 แบบประเมินการปฏิบัติงานกลุ่ม 1. การกำาหนด / เป้าหมายร่วมกัน 2. การแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ 3. การปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 4. การประเมินและปรับปรุงผลงาน 7.2.3 แบบประเมินก่อนนำาเสนอผลงาน 1. เนื้อหา 2. กลวิธีนำาเสนอ 3. ขั้นตอนการนำาเสนอ 4. การใช้ภาษา 5. ตอบคำาถาม / เวลา 7.2.4 แบบตรวจผลงานเขียนแผนผังความคิด 1. ความคิดรวบยอด 2. ความคิดรอง 3. ความคิดย่อย 4. การเชื่อมโยงความคิด 5. ความสวยงาม 7.2.5 แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล 1. ความตั้งใจ 2. ความร่วมมือ 3. ความมีวินัย 4. คุณภาพของผลงาน 5. การนำาเสนอผลงาน 7.2.6 แบบประเมินใบงาน 1. การสรุปเป็นองค์ความรู้ 2. เนื้อหาถูกต้อง ครบถ้วน 3. การบันทึกข้อมูล 4. การอภิปราย 5. การสนทนาซักถาม
  • 14. 7.2.7 แบบประเมินผลงาน / ชิ้นงาน 1. ความคิดสร้างสรรค์ 2. ความประณีตสวยงาม 3. ความสะอาด 4. ความแข็งแรงคงทน 5. ทำางานเสร็จทันเวลา 7.2.8 การสอบถามนักเรียนเกี่ยวกับการวิเคราะห์แผนภาพ 1. คำาตอบเป็นคำาตอบในเชิงบวกได้ 1 คะแนน 2. คำาตอบเป็นคำาตอบในเชิงลบได้ 0 คะแนน 7.2.9 แบบประเมินพฤติกรรมด้านการปฏิบัติตน 1. ความกระตือรือร้น 2. ความร่วมมือ 3. ความรับผิดชอบ 4. การเคารพกติกา 5. ความกล้าแสดงออก 7.2.10 แบบประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรมพื้นฐาน 1. ความขยัน 2. ความมีวินัย 3. ความสะอาด 4. ความสามัคคี 5. ความมีนำ้าใจ 8. บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
  • 15. 8.1 ผลการจัดการเรียนรู้ ( นักเรียนทั้งหมด 40 คน ) นักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินระดับดี........คน คิดเป็นร้อย ละ........... นักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินระดับปานกลาง.......คน คิด เป็นร้อยละ................. นักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินระดับปรับปรุง........คน คิดเป็นร้อยละ............. 8.2 ผลการประเมินพฤติกรรมระหว่างเรียน ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................. 8.3 ปัญหาและอุปสรรคระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอน ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................. 8.4 การปรับปรุงและพัฒนา ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................. ลงชื่อ………………………………………… (.................................................................)
  • 16. ครู วิทยฐานะครูชำานาญ การ 9. ความเห็นของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................................................................. ............................................. ลงชื่อ........................................ ...ผูตรวจสอบ ้ (......................................................) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ 10. ความเห็นของผู้บริหารโรงเรียน .................. ……………………………………………………………………….................... ............................................................................................. .............................................................................................
  • 17. ............................................................................................. ..................................................................................... ลงชื่อ.................................................. ผูตรวจสอบ ้ ( ..............................................) ผู้อำานวยการ โรงเรียน.................................