SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
เรื่อง ประวัติความเป็นมาและคุณค่าของดนตรี
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ดนตรี (ศ 32101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
ช่วงชั้นที่ 3 เวลาเรียน 1 ชั่วโมง
ครูผู้สอน นายอภิชิต กลีบม่วง โรงเรียนโดมประดิษฐ์วิทยา
มาตรฐาน ศ 2.1 เข้าใจ และแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิจารณ์คุณค่า ถ่ายทอด
ความรู้สึก ความคิดต่อดนตรี อย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
มาตรฐานช่วงชั้น ศ 2.1.1 เข้าใจเห็นคุณค่า ความสาคัญรู้ประวัติความเป็นมาของดนตรี ระบุได้ว่าดนตรี
มีอิทธิพลต่อจิตใจและความรู้สึกอย่างไร
1. สาระสาคัญ
ดนตรีมีประวัติความเป็นมาที่ช้านานไม่สามารถระบุได้ว่ามีกาเนิดเกิดขึ้นเมื่อใด แต่ดนตรีมีพัฒนาการ
และวิวัฒนาการมีความสาคัญ ทั้งด้านศาสนา การเมือง และการดารงชีวิต
2. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
นักเรียนสามารถบอกประวัติความเป็นมา คุณค่าและความสาคัญของดนตรี กับชีวิตประจาวัน
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
3.1 จุดประสงค์ปลายทาง
บอกคุณค่าและความสาคัญของดนตรีกับชีวิต
3.2 จุดประสงค์นาทาง
3.2.1 สามารถอธิบายประวัติความเป็นมาของดนตรีได้
3.2.2 สามารถอธิบายความหมาย ความสาคัญและบอกประโยชน์ของดนตรีที่มีอิทธิพล
ต่อจิตใจและความรู้สึกได้
4. สาระการเรียนรู้
4.1. ประวัติความเป็นมาของดนตรี
4.2. ความสาคัญ คุณค่าและ ประโยชน์ของดนตรี
5. กิจกรรมการเรียนการสอน / กระบวนการจัดการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ 1
ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
5.1 แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ และให้นักเรียนทาแบบทดสอบ ก่อนเรียน / หลังเรียน
5.2 นักเรียนฟังเพลงประกอบวีดีทัศน์ แบบมีดนตรีประกอบ และแบบไม่มีดนตรี
ประกอบ
ขั้นสอน
5.3 นักเรียนวิเคราะห์ความแตกต่างของบทเพลง ระหว่างแบบมีดนตรีประกอบ และแบบไม่
มีดนตรีประกอบ
5.4 นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น จากการชมวีดิทัศน์ ที่มีดนตรีและแบบไม่มีดนตรี
5.5 นักเรียนร่วมกันอภิปรายถึงเสียงดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดงว่ามีผลต่อความรู้สึก
ของตนเองอย่างไร
5.6 นักเรียนศึกษาเนื้อหาสาระจากใบความรู้เรื่องประวัติความเป็นมา และความรู้เบื้องต้น
เกี่ยวกับดนตรี
5.7 ครูอธิบายและสรุปเพิ่มเติมจากใบความรู้เรื่องประวัติความเป็นมา และความรู้เบื้องต้น
เกี่ยวกับดนตรี
ขั้นสรุป
5.8 ครูอธิบายเพิ่มเติมและชี้แจงให้เห็นถึงประโยชน์ และคุณค่าที่นาไปใช้กับชีวิตประจาวัน
5.9 นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน / หลังเรียน
6. พฤติกรรมที่ต้องการเน้น
6.1 พฤติกรรมตนเอง
- มีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา ขยันหมั่นเพียร มีความเป็นระบบ ระเบียบ สะอาด
6.2 พฤติกรรมต่อผู้อื่น
- เสียสละ ไม่เห็นแก่ตัว เคารพสิทธิของผู้อื่น
6.3 พฤติกรรมต่อส่วนรวม
- เคารพกฎ กติกา มารยาท เป็นผู้นาผู้ตามที่ดี
7. กระบวนการวัดและการประเมินผล
จุดประสงค์
การเรียนรู้
(นาทาง)
วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน
1,2 สอบข้อเขียน/ปรนัย แบบทดสอบ เกณฑ์การผ่าน ร้อยละ 80
8. สื่อการเรียนรู้ / นวัตกรรมการสอน
8.1 เอกสารประกอบการสอน ใบความรู้ที่ 1
8.2 แถบบันทึกเสียงเพลง
9. แหล่งการเรียนรู้
9.1 ห้องเรียนดนตรี
9.2 ห้องสมุด
9.3 รายการทีวี
9.4 ข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต ตามเว็บไซด์ความรู้ด้านดนตรี เช่น www.dontrithai.com
10. ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
…………………………………………………………………………………………………….……………
………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………………………………….
11. แนวทางการนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
- ผู้สอนนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
หลักความพอประมาณ หลักความมีเหตุผล หลักสร้างภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
1. ครูศึกษาหลักสูตร มาตรฐานการ
เรียนรู้ วิเคราะห์ตัวชี้วัด สาระการ
เรียนรู้แกนกลาง
2. เวลาในการจัดกิจกรรมการเรียน
มีความเหมาะสม
3.ครูสืบค้นข้อมูลเรื่องการให้
เหตุผลจากคู่มือครู หนังสือ และ
อินเตอร์เน็ต
4. ครูเตรียมใบความรู้ ใบงาน ให้
พอเหมาะกับจานวนนักเรียน/
กิจกรรมทั้งหมด
5. ครูเตรียมความรู้ สื่อ แหล่ง
เรียนรู้ได้เหมาะสมกับบริบทของ
โรงเรียน
1. จัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับ
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
2. เตรียมความพร้อมในการจัดการ
เรียนรู้
3. มีสื่ออุปกรณ์ที่สอดคล้องกับการ
เรียนรู้
1. ครูจัดการเรียนรู้ได้ตรงตาม
หลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู้
วิเคราะห์ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้
แกนกลาง
2. ครูมีความพร้อมและความมั่นใจ
ในการจัดการเรียนรู้
3. ครูสามารถแก้ปัญหาในการ
จัดการเรียนการสอน
4. ครูมีความเป็นกัลยาณมิตร เอื้อ
อาทรและยอมรับฟังความคิดเห็น
ของนักเรียน
5. ครูวางแผนการสอนและเตรียม
วัสดุอุปกรณ์ให้พร้อม
ความรู้
ประวัติความเป็นมาและคุณค่าของดนตรี
คุณธรรม
1. มีความใฝ่รู้ใฝ่เรียน
2. มีความมุ่งมั่นในการทางานเป็นทีม
3. รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
4. มีการช่วยเหลือ ร่วมมือ
5. ตรงต่อเวลา
6. มีความรับผิดชอบ
7. รักษ์ความเป็นไทย
- ผู้เรียนได้เรียนรู้หลักคิดและฝึกปฏิบัติ ตามหลัก 3 ห่วง 2 เงื่อน ดังนี้
หลักพอประมาณ
๑. แบ่งเวลาในการปฏิบัติ
กิจกรรมได้อย่างเหมาะสมใช้
สถานที่ ใช้สื่อการเรียนรู้ และ
วัสดุอุปกรณ์ได้อย่างคุ้มค่า ใช้
ทักษะความสามารถ ในการทา
กิจกรรมได้เหมาะสมกับ
ศักยภาพของตนของ
หลักมีเหตุผล
เพื่อให้มีความรู้เรื่องนาฏศิลป์ไทยและการ
เขียนผังมโนทัศน์นาสิ่งที่ได้เรียนรู้บูรณาการ
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้มี
ความรู้ ความสามารถและทักษะในการ
ทางานและในการทาผังมโนทัศน์ เพื่อให้มี
ทักษะการคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหา ประเมิน
คุณค่าและนาเสนอผลงานด้วยผังมโนทัศน์
รวมทั้งเพื่อให้มีความสามารถในการทางาน
ร่วมกับผู้อื่น
หลักการสร้างภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
๑. มีการวางแผนในการทางานเป็น
กลุ่ม มีลักษณะการเป็นผู้นา
และผู้ตามที่ดี ปรับตัวในการ
ทางานร่วมกับเพื่อนได้ยอมรับ
ฟังความคิดเห็นของผู้อื่นรู้จัก
การแก้ปัญหาเพื่อการปรับปรุง
และพัฒนาต่อไป
ความรู้
ประวัติความเป็นมาและคุณค่าของดนตรี
คุณธรรม
1. มีความใฝ่รู้ใฝ่เรียน
2. มีความมุ่งมั่นในการทางานเป็นทีม
3. รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
4. มีการช่วยเหลือ ร่วมมือ
5. ตรงต่อเวลา
6. มีความรับผิดชอบ
7. รักษ์ความเป็นไทย
- ผลลัพธ์ (KPA) ที่เกิดกับผู้เรียนจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ด้าน
การวัด
อยู่อย่างพอเพียง --- สมดุลและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ
วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม
ความรู้
(K)
- นักเรียนรู้จักใช้สื่อ
วัสดุอุปกรณ์ และการ
ใช้ทรัพยากรได้อย่าง
เหมาะสม เช่น ใบ
ความรู้ ใบงาน
คอมพิวเตอร์ เวลา คน
เป็นต้น
- นักเรียนศึกษาใน
เอกสารใบงาน ใบ
ความรู้
- นักเรียนนาความรู้ที่ได้
ไปใช้ประกอบการ
ตัดสินใจ การวางแผน
และการ ทางานให้เกิด
ประโยชน์กับตนเอง
ครอบครัว ชุมชนและ
สังคม
- นาความรู้ ไปใช้ในการ
คิดวิเคราะห์เปรียบเทียบ
ข้อมูลเชิงปริมาณและเชิง
คุณภาพและการบริหาร
จัดการสิ่งแวดล้อมที่อยู่
รอบตัว โรงเรียน ชุมชน
และสังคม
- มีความรู้ความเข้าใจ
และใช้การให้เหตุผล
เพื่อสนับสนุนความจริง
และความเชื่ออย่างมี
วิจารณญาณ
ทักษะ
(P)
- นักเรียนปฏิบัติตาม
ขั้นตอน ที่กาหนดไว้ใน
ใบงานได้ถูกต้อง
- นักเรียนใช้สื่อ วัสดุ
อุปกรณ์การเรียนได้
ถูกต้อง
-นักเรียนสามารถ
บริหารจัดการทรัพยากร
ได้อย่างสมเหตุสมผล
- มีทักษะการทางาน
ร่วมกับผู้อื่น
- นักเรียนมีทักษะที่เกิด
จากการเรียนรู้และ
สามารถนาไป
ประยุกต์ใช้กับตนเอง
ครอบครัว ชุมชนและ
สังคมได้
- มีทักษะในการปรับตัว
ให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม
- เกิดทักษะการบริหาร
จัดการและการดูแลรักษา
สิ่งแวดล้อม
- นักเรียนนาทักษะ
กระบวนการที่ได้ไปใช้
ในการดาเนิน
ชีวิตประจาวัน
- การร่วมมือ ช่วยเหลือ
ซึ่งกันและกันภายใน
กลุ่ม
ค่านิยม
(A)
- นักเรียนใช้วัสดุ
อุปกรณ์และทรัพยากร
อย่างประหยัดและ
คุ้มค่าสมเหตุสมผล
- นักเรียนมีระเบียบวินัย
รักการทางาน
- มีความรับผิดชอบ
- เกิดความสามัคคีมี
น้าใจ รู้จักแบ่งปันผู้อื่น
-การให้ความร่วมมือ
และการแสดงความ
คิดเห็น
- ตระหนักและเห็นคุณค่า
ของสิ่งแวดล้อม และมี
เหตุผลในการอนุรักษ์ไว้
-รู้จักใช้ทรัพยากร
สิ่งแวดล้อมอย่างคุ้มค่า
- เกิดความร่วมมือใน
การทางานร่วมกัน
12. ความเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………...............................
.......................................................................................................................................................................
ลงชื่อ…………………………………….
(นายจันทรัสม์ ไชยสัตย์ )
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………...................................
......................................................................................................................................................................
ลงชื่อ…………………………………….
(นางกาญจนา วงค์ไชยา)
หัวหน้าฝ่ายวิชาการ
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………...................................
......................................................................................................................................................................
ลงชื่อ…………………………………….
(นางสาวสุวิมล หมายมั่น)
รองผู้อานวยการโรงเรียนโดมประดิษฐ์วิทยา
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………...............................................................................
.......................................................................................................................................................................
ลงชื่อ……………………………………..
(นายมนัส โฉมฉลวย)
ผู้อานวยการโรงเรียนโดมประดิษฐ์วิทยา
13. บันทึกผลหลังการเรียนรู้
13.1 ผลการเรียน
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
13.2 พฤติกรรมนักเรียน
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
13.3 เทคนิคการสอน /กระบวนการสอน
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
13.4 การใช้สื่อ
…………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………
13.5 ปัญหาและอุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………….
13.6 การปรับปรุงแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………….
ลงชื่อ …………………………….
(นายอภิชิต กลีบม่วง)
ครูผู้ช่วย โรงเรียนโดมประดิษฐ์วิทยา
วันที่.............เดือน ....................... พ.ศ..........
ใบความรู้ที่ 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ดนตรี (ศ 32101) ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
ประกอบแผนการสอนที่ 1 เรื่อง ประวัติความเป็นมาและคุณค่าของดนตรี จานวน 1 ชั่วโมง
……………………………………………………………………………………………………..
ประวัติความเป็นมา และความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับดนตรี
ดนตรีเกิดขึ้นเมื่อใดไม่มีหลักฐานยืนยันแน่ชัดผู้เชี่ยวชาญทางด้านดนตรีหลายท่านสันนิษฐานว่า
ดนตรีเกิดขึ้นมาพร้อมกับมนุษย์ จุดเริ่มต้นของดนตรีน่าจะมาจากเสียงที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เช่น เสียงลม
พัด เสียงฟ้าร้อง เสียงน้าตก เสียงต้นไม้เสียดสีกัน เสียงร้องของสัตว์ เสียงวัตถุกระทบกัน เสียงตบมือ เสียง
ร้อง เสียงอุทาน เสียงตะโกนของมนุษย์ เป็นต้น ต่อมามนุษย์ได้นาเสียงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติมา
ปรับปรุง จัดระบบ และเรียบเรียงให้ผสมกลมกลืนกัน เกิดความไพเราะสวยงามทางด้านเสียง
มนุษย์ทุกชาติทุกภาษาต่างก็มีดนตรี หรือบรรเลงดนตรีด้วยกันทั้งนั้นตั้งแต่คนป่าจนถึงชาติที่เจริญเป็น
ที่สุดต่างก็มีดนตรีเป็นเอกลักษณะและเป็นวัฒนธรรมของตนสันนิษฐานว่าระยะแรกดนตรีมีใช้เพื่อประกอบ
พิธีทางศาสนา และพัฒนาการมาเรื่อย ๆ จนเป็นสิ่งหนึ่งที่มนุษย์ทุกคนได้ใช้เป็นส่วนหนึ่งของชีวิต ตั้งแต่เกิด
จนกระทั่งตาย
ความหมายของดนตรี
นักปราชญ์ทางด้านดนตรีได้ให้ความหมายของดนตรีไว้หลายอย่าง ๆ เช่น
ดนตรี คือ “ศิลปะของการใช้เสียงตามแนวความคิดทางดนตรี ( Musical Idia ) ของผู้ประพันธ์”
ดนตรี คือ เสียงที่นามาเรียบเรียงให้ผสมกลมกลืนกัน มีทานอง มีจังหวะ และมีการประสานเสียงต่าง
ๆ เข้าด้วยกันตามหลักวิชาดนตรีโดยมีจุดประสงค์เพื่อให้มีความไพเราะน่าฟัง
ดนตรี คือ เสียงที่นามาเรียบเรียงให้ผสมกลมกลืนกัน เกิดความไพเราะ สวยงาม ผู้ฟังแล้วเกิดอารมณ์
และความรู้สึกตามลีลาของดนตรี
คุณค่าและประโยชน์ของดนตรี
ดนตรีเป็นสิ่งที่มีบทบาทกับมนุษย์เราอย่างมาก ตั้งแต่เกิดจนกระทั่งตาย ดนตรีเข้ามาเกี่ยวข้องกับชีวิต
ทุกวันและทุกวัย อาจแยกประโยชน์และคุณค่าเป็นข้อ ๆ ดังนี้
1. สามารถทาให้เราสนุกสนานเบิกบานใจ
2. ลดความตึงเครียดของคนเราได้
3. สามารถนาความรู้ความสามารถทางด้านดนตรีไปประกอบอาชีพ
4. นาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจาวัน
5. ใช้เล่นเพื่อความบันเทิง
6. ใช้เป็นสื่อกลางเพื่อสร้างไมตรี
7. ใช้ประกอบการแสดงและกิจกรรมต่าง ๆ
8. ใช้ประกอบพิธีทางศาสนา
9. ใช้เป็นดนตรีบาบัด คนป่วยเนื่องจากสภาพจิตใจ เป็นต้น
เสียงของดนตรี
ดนตรีคืองานทางศิลปะที่มนุษย์สร้างขึ้นโดยอาศัยเสียงเป็นสื่อถ่ายทอดความรู้สึกของศิลปิน
เสียงดนตรีเป็นที่มีความงามที่ถูกนามาเรียบเรียงขึ้นเป็นบทเพลงอย่างมีศิลปะหรืออาจกล่าวได้อีกนัยหนึ่งว่า
“ดนตรี” ก็คือ เสียงที่นามาเรียบเรียงให้ผสมกลมกลืนกัน มีทานอง มีจังหวะและมีการประสานเสียงต่าง ๆ เข้า
ด้วยกันตามหลักวิชาดนตรีโดยมีจุดประสงค์เพื่อให้มีความไพเราะน่าฟัง
ความแตกต่างระหว่างเสียงดนตรีกับเสียงอื่น ๆ คือ เสียงดนตรีเป็นเสียงที่ประดิษฐ์ขึ้นโดยอาศัยความ
งดงามของเสียง ศิลปินผู้ประดิษฐ์เสียงได้สอดใส่อารมณ์ลงไปในเสียง ส่วนอื่น ๆ ที่ไม่ใช่เสียงดนตรีนั้น เป็น
เพียงเสียงที่ขาดคุณสมบัติทางศิลปะ เช่น เสียงแตรรถยนต์ที่ดังอยู่ตามท้องถนน เสียงจ้อกแจ้กจอแจในตลาด
เป็นต้น
แบบทดสอบก่อน / หลังเรียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ดนตรี (ศ 32101) ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
ประกอบแผนการสอนที่ 1 เรื่อง ประวัติและความเป็นมาของดนตรี จานวน 1 ชั่วโมง
คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาหรือข้อความให้สมบูรณ์ถูกต้อง
1. ดนตรี หมายถึง
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
2. ดนตรีเกิดมาเมื่อใด
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………................................................................................
3. ดนตรีมีประโยชน์ ต่อมนุษย์อย่างไร
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………................................................................................
4. เสียง ระเบิด เป็นเสียงดนตรี หรือไม่…………………………………………………………......................
เพราะเหตุใด……………………………………………………………………………………..................
………………………………………………………………………………………………………………
…..………………………………………………………………………….................................................
5. นักเรียนคิดว่า ดนตรีไทย มีความสาคัญต่อประเทศไทยอย่างไร
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
เฉลยแบบทดสอบก่อน / หลังเรียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ดนตรี (ศ 32101) ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
ประกอบแผนการสอนที่ 1 เรื่อง ประวัติและความเป็นมาของดนตรี จานวน 1 ชั่วโมง
…………………………………………………………………………………………………..
1. ตอบ ดนตรี คือ เสียงที่นามาเรียบเรียงให้ผสมกลมกลืนกัน มีทานอง มีจังหวะ และมีการประสานเสียงต่าง
ๆ เข้าด้วยกันตามหลักวิชาดนตรีโดยมีจุดประสงค์เพื่อให้มีความไพเราะน่าฟัง
2 ตอบ ดนตรีเกิดขึ้นเมื่อใดไม่มีหลักฐานยืนยันแน่ชัด ผู้เชี่ยวชาญทางด้านดนตรีหลายท่านสันนิษฐานว่า
ดนตรีเกิดขึ้นมาพร้อมกับมนุษย์ จุดเริ่มต้นของดนตรีน่าจะมาจากเสียงที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ต่อมา
มนุษย์ได้นาเสียงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติมาปรับปรุง จัดระบบ และเรียบเรียงให้ผสมกลมกลืนกัน
เกิดความไพเราะสวยงามทางด้านเสียง
3. ตอบ ดนตรีเป็นสิ่งที่มีบทบาทกับมนุษย์เราอย่างมาก ตั้งแต่เกิดจนกระทั่งตาย ดนตรีเข้ามาเกี่ยวข้องกับชีวิต
ทุกวันและทุกวัย อาจแยกประโยชน์และคุณค่าเป็นข้อ ๆ ดังนี้
1 สามารถทาให้เราสนุกสนานเบิกบานใจ
2 ลดความตึงเครียดของคนเราได้
3 สามารถนาความรู้ความสามารถทางด้านดนตรีไปประกอบอาชีพ
4 นาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจาวัน
5 ใช้เล่นเพื่อความบันเทิง
4. ตอบ เสียงระเบิด ไม่ถือว่าเป็นเสียงดนตรี เพราะไม่ใช่เสียงที่นามาเรียบเรียงให้เกิดความไพเราะสวย งาม
5 ตอบ ดนตรีไทย มีความสาคัญต่อประเทศไทย เพราะ ดนตรีเป็นเอกลักษณ์อย่างหนึ่งของไทย เป็น
วัฒนธรรมประเพณีไทย ที่บอกให้รู้ถึงความเป็นไทย

More Related Content

What's hot

นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)Panomporn Chinchana
 
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)WoraWat Somwongsaa
 
แบบสอบถามละครเวที
แบบสอบถามละครเวทีแบบสอบถามละครเวที
แบบสอบถามละครเวทีPhattira Klinlakhar
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตsripayom
 
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)Panomporn Chinchana
 
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 2 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 2 พร้อมเฉลยข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 2 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 2 พร้อมเฉลยKhunnawang Khunnawang
 
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลยข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลยKhunnawang Khunnawang
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1Kruthai Kidsdee
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบworapanthewaha
 
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตก
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตกแบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตก
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตกpeter dontoom
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2teerachon
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3teerachon
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557Panomporn Chinchana
 
แผนนาฏศิลป์ 1
แผนนาฏศิลป์ 1แผนนาฏศิลป์ 1
แผนนาฏศิลป์ 10898230029
 
เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557peter dontoom
 
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะSuriyawaranya Asatthasonthi
 
การผสมวงดนตรีไทย
การผสมวงดนตรีไทยการผสมวงดนตรีไทย
การผสมวงดนตรีไทยพัน พัน
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 

What's hot (20)

นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
 
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
 
แบบสอบถามละครเวที
แบบสอบถามละครเวทีแบบสอบถามละครเวที
แบบสอบถามละครเวที
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
 
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 2 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 2 พร้อมเฉลยข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 2 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 2 พร้อมเฉลย
 
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลยข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตก
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตกแบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตก
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตก
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
นาฏยศัพท์ ภาษาท่า ม.1 ปี 2557
 
แผนนาฏศิลป์ 1
แผนนาฏศิลป์ 1แผนนาฏศิลป์ 1
แผนนาฏศิลป์ 1
 
เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557
 
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ศิลปะ
 
การผสมวงดนตรีไทย
การผสมวงดนตรีไทยการผสมวงดนตรีไทย
การผสมวงดนตรีไทย
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 

Viewers also liked

ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3Kruanchalee
 
หลักสูตรก..ดนตรีพื้นเมือง 53
หลักสูตรก..ดนตรีพื้นเมือง 53หลักสูตรก..ดนตรีพื้นเมือง 53
หลักสูตรก..ดนตรีพื้นเมือง 53bongkotkan
 
ข้อสอบ O-Net ม.6 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะการงานอาชีพและเทคโนโลยี ปีการศึก...
ข้อสอบ O-Net ม.6 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะการงานอาชีพและเทคโนโลยี ปีการศึก...ข้อสอบ O-Net ม.6 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะการงานอาชีพและเทคโนโลยี ปีการศึก...
ข้อสอบ O-Net ม.6 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะการงานอาชีพและเทคโนโลยี ปีการศึก...Darunee Ongmin
 
แบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้น
แบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้นแบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้น
แบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้นChamp Woy
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2Yatphirun Phuangsuwan
 
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55Yatphirun Phuangsuwan
 
โครงงานเรื่องจิตรกรรม
โครงงานเรื่องจิตรกรรมโครงงานเรื่องจิตรกรรม
โครงงานเรื่องจิตรกรรมPrachern Laorit
 
โครงงานสีน้ำจากแป้งธรรมชาติ มมว.
โครงงานสีน้ำจากแป้งธรรมชาติ มมว.โครงงานสีน้ำจากแป้งธรรมชาติ มมว.
โครงงานสีน้ำจากแป้งธรรมชาติ มมว.Bunnaruenee
 
แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101atthaniyamai2519
 
แบบฟอร์ม แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน
แบบฟอร์ม แฟ้มสะสมผลงานนักเรียนแบบฟอร์ม แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน
แบบฟอร์ม แฟ้มสะสมผลงานนักเรียนธนิสร ยางคำ
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้thanapisit marakul na ayudhya
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์Kobwit Piriyawat
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 

Viewers also liked (16)

ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3
 
หลักสูตรก..ดนตรีพื้นเมือง 53
หลักสูตรก..ดนตรีพื้นเมือง 53หลักสูตรก..ดนตรีพื้นเมือง 53
หลักสูตรก..ดนตรีพื้นเมือง 53
 
ข้อสอบ O-Net ม.6 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะการงานอาชีพและเทคโนโลยี ปีการศึก...
ข้อสอบ O-Net ม.6 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะการงานอาชีพและเทคโนโลยี ปีการศึก...ข้อสอบ O-Net ม.6 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะการงานอาชีพและเทคโนโลยี ปีการศึก...
ข้อสอบ O-Net ม.6 วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะการงานอาชีพและเทคโนโลยี ปีการศึก...
 
แบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้น
แบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้นแบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้น
แบบทดสอบวิชาการถ่ายภาพเบื้องต้น
 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2กลุ่มสาระการเรียนรู้  ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ศ ๒๑๑๐๑ของพี่ทัศ2
 
Elements
ElementsElements
Elements
 
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
 
โครงงานเรื่องจิตรกรรม
โครงงานเรื่องจิตรกรรมโครงงานเรื่องจิตรกรรม
โครงงานเรื่องจิตรกรรม
 
โครงงานสีน้ำจากแป้งธรรมชาติ มมว.
โครงงานสีน้ำจากแป้งธรรมชาติ มมว.โครงงานสีน้ำจากแป้งธรรมชาติ มมว.
โครงงานสีน้ำจากแป้งธรรมชาติ มมว.
 
แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101แผนพอเพียงอ21101
แผนพอเพียงอ21101
 
Generation
GenerationGeneration
Generation
 
แบบฟอร์ม แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน
แบบฟอร์ม แฟ้มสะสมผลงานนักเรียนแบบฟอร์ม แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน
แบบฟอร์ม แฟ้มสะสมผลงานนักเรียน
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทฤษฎีความรู้ Tok วิทยาศาสตร์ ม.1 ขึ้นเว็บไซต์
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง

สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8  สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8 khomkrit2511
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9  สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9 khomkrit2511
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 7
สาระที่ 2 หน่วยที่ 7  สาระที่ 2 หน่วยที่ 7
สาระที่ 2 หน่วยที่ 7 khomkrit2511
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6  สาระที่ 2 หน่วยที่ 6
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6 khomkrit2511
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backwardparichat441
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมPignoi Chimpong
 
บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ
บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ
บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ Sasithon AnnAnn
 
เทคนิตการสอนดนตรี.pptx
เทคนิตการสอนดนตรี.pptxเทคนิตการสอนดนตรี.pptx
เทคนิตการสอนดนตรี.pptxNaphatwarunAinsuwan1
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้10871885581
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลางบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลางฏิวัตต์ สันทาลุนัย
 
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการาเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่ 1kruruttika
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 phonics i, o and u sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 phonics i, o and u soundแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 phonics i, o and u sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 phonics i, o and u soundpantiluck
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e soundแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e soundpantiluck
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง (20)

สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8  สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9  สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 7
สาระที่ 2 หน่วยที่ 7  สาระที่ 2 หน่วยที่ 7
สาระที่ 2 หน่วยที่ 7
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6  สาระที่ 2 หน่วยที่ 6
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถม
 
Asean Lesson Plan
Asean Lesson PlanAsean Lesson Plan
Asean Lesson Plan
 
บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ
บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ
บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ
 
08chap6
08chap608chap6
08chap6
 
เทคนิตการสอนดนตรี.pptx
เทคนิตการสอนดนตรี.pptxเทคนิตการสอนดนตรี.pptx
เทคนิตการสอนดนตรี.pptx
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1
 
Sci 2009 03
Sci 2009 03Sci 2009 03
Sci 2009 03
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลางบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
 
interactive M 4
interactive M 4interactive M 4
interactive M 4
 
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่  1แผนการจัดการาเรียนรู้ที่  1
แผนการจัดการาเรียนรู้ที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 phonics i, o and u sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 phonics i, o and u soundแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 phonics i, o and u sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 phonics i, o and u sound
 
หลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลาย
หลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลายหลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลาย
หลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลาย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e soundแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 phonics a and e sound
 

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ประวัติความเป็นมาและคุณค่าของดนตรี กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ดนตรี (ศ 32101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ช่วงชั้นที่ 3 เวลาเรียน 1 ชั่วโมง ครูผู้สอน นายอภิชิต กลีบม่วง โรงเรียนโดมประดิษฐ์วิทยา มาตรฐาน ศ 2.1 เข้าใจ และแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิจารณ์คุณค่า ถ่ายทอด ความรู้สึก ความคิดต่อดนตรี อย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน มาตรฐานช่วงชั้น ศ 2.1.1 เข้าใจเห็นคุณค่า ความสาคัญรู้ประวัติความเป็นมาของดนตรี ระบุได้ว่าดนตรี มีอิทธิพลต่อจิตใจและความรู้สึกอย่างไร 1. สาระสาคัญ ดนตรีมีประวัติความเป็นมาที่ช้านานไม่สามารถระบุได้ว่ามีกาเนิดเกิดขึ้นเมื่อใด แต่ดนตรีมีพัฒนาการ และวิวัฒนาการมีความสาคัญ ทั้งด้านศาสนา การเมือง และการดารงชีวิต 2. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง นักเรียนสามารถบอกประวัติความเป็นมา คุณค่าและความสาคัญของดนตรี กับชีวิตประจาวัน 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 จุดประสงค์ปลายทาง บอกคุณค่าและความสาคัญของดนตรีกับชีวิต 3.2 จุดประสงค์นาทาง 3.2.1 สามารถอธิบายประวัติความเป็นมาของดนตรีได้ 3.2.2 สามารถอธิบายความหมาย ความสาคัญและบอกประโยชน์ของดนตรีที่มีอิทธิพล ต่อจิตใจและความรู้สึกได้ 4. สาระการเรียนรู้ 4.1. ประวัติความเป็นมาของดนตรี 4.2. ความสาคัญ คุณค่าและ ประโยชน์ของดนตรี
  • 2. 5. กิจกรรมการเรียนการสอน / กระบวนการจัดการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ 1 ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน 5.1 แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ และให้นักเรียนทาแบบทดสอบ ก่อนเรียน / หลังเรียน 5.2 นักเรียนฟังเพลงประกอบวีดีทัศน์ แบบมีดนตรีประกอบ และแบบไม่มีดนตรี ประกอบ ขั้นสอน 5.3 นักเรียนวิเคราะห์ความแตกต่างของบทเพลง ระหว่างแบบมีดนตรีประกอบ และแบบไม่ มีดนตรีประกอบ 5.4 นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น จากการชมวีดิทัศน์ ที่มีดนตรีและแบบไม่มีดนตรี 5.5 นักเรียนร่วมกันอภิปรายถึงเสียงดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดงว่ามีผลต่อความรู้สึก ของตนเองอย่างไร 5.6 นักเรียนศึกษาเนื้อหาสาระจากใบความรู้เรื่องประวัติความเป็นมา และความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับดนตรี 5.7 ครูอธิบายและสรุปเพิ่มเติมจากใบความรู้เรื่องประวัติความเป็นมา และความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับดนตรี ขั้นสรุป 5.8 ครูอธิบายเพิ่มเติมและชี้แจงให้เห็นถึงประโยชน์ และคุณค่าที่นาไปใช้กับชีวิตประจาวัน 5.9 นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน / หลังเรียน 6. พฤติกรรมที่ต้องการเน้น 6.1 พฤติกรรมตนเอง - มีความรับผิดชอบ ตรงต่อเวลา ขยันหมั่นเพียร มีความเป็นระบบ ระเบียบ สะอาด 6.2 พฤติกรรมต่อผู้อื่น - เสียสละ ไม่เห็นแก่ตัว เคารพสิทธิของผู้อื่น 6.3 พฤติกรรมต่อส่วนรวม - เคารพกฎ กติกา มารยาท เป็นผู้นาผู้ตามที่ดี 7. กระบวนการวัดและการประเมินผล จุดประสงค์ การเรียนรู้ (นาทาง) วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน 1,2 สอบข้อเขียน/ปรนัย แบบทดสอบ เกณฑ์การผ่าน ร้อยละ 80
  • 3. 8. สื่อการเรียนรู้ / นวัตกรรมการสอน 8.1 เอกสารประกอบการสอน ใบความรู้ที่ 1 8.2 แถบบันทึกเสียงเพลง 9. แหล่งการเรียนรู้ 9.1 ห้องเรียนดนตรี 9.2 ห้องสมุด 9.3 รายการทีวี 9.4 ข้อมูลจากอินเตอร์เน็ต ตามเว็บไซด์ความรู้ด้านดนตรี เช่น www.dontrithai.com 10. ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม …………………………………………………………………………………………………….…………… …………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………….
  • 4. 11. แนวทางการนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ - ผู้สอนนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ หลักความพอประมาณ หลักความมีเหตุผล หลักสร้างภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี 1. ครูศึกษาหลักสูตร มาตรฐานการ เรียนรู้ วิเคราะห์ตัวชี้วัด สาระการ เรียนรู้แกนกลาง 2. เวลาในการจัดกิจกรรมการเรียน มีความเหมาะสม 3.ครูสืบค้นข้อมูลเรื่องการให้ เหตุผลจากคู่มือครู หนังสือ และ อินเตอร์เน็ต 4. ครูเตรียมใบความรู้ ใบงาน ให้ พอเหมาะกับจานวนนักเรียน/ กิจกรรมทั้งหมด 5. ครูเตรียมความรู้ สื่อ แหล่ง เรียนรู้ได้เหมาะสมกับบริบทของ โรงเรียน 1. จัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด 2. เตรียมความพร้อมในการจัดการ เรียนรู้ 3. มีสื่ออุปกรณ์ที่สอดคล้องกับการ เรียนรู้ 1. ครูจัดการเรียนรู้ได้ตรงตาม หลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู้ วิเคราะห์ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ แกนกลาง 2. ครูมีความพร้อมและความมั่นใจ ในการจัดการเรียนรู้ 3. ครูสามารถแก้ปัญหาในการ จัดการเรียนการสอน 4. ครูมีความเป็นกัลยาณมิตร เอื้อ อาทรและยอมรับฟังความคิดเห็น ของนักเรียน 5. ครูวางแผนการสอนและเตรียม วัสดุอุปกรณ์ให้พร้อม ความรู้ ประวัติความเป็นมาและคุณค่าของดนตรี คุณธรรม 1. มีความใฝ่รู้ใฝ่เรียน 2. มีความมุ่งมั่นในการทางานเป็นทีม 3. รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 4. มีการช่วยเหลือ ร่วมมือ 5. ตรงต่อเวลา 6. มีความรับผิดชอบ 7. รักษ์ความเป็นไทย
  • 5. - ผู้เรียนได้เรียนรู้หลักคิดและฝึกปฏิบัติ ตามหลัก 3 ห่วง 2 เงื่อน ดังนี้ หลักพอประมาณ ๑. แบ่งเวลาในการปฏิบัติ กิจกรรมได้อย่างเหมาะสมใช้ สถานที่ ใช้สื่อการเรียนรู้ และ วัสดุอุปกรณ์ได้อย่างคุ้มค่า ใช้ ทักษะความสามารถ ในการทา กิจกรรมได้เหมาะสมกับ ศักยภาพของตนของ หลักมีเหตุผล เพื่อให้มีความรู้เรื่องนาฏศิลป์ไทยและการ เขียนผังมโนทัศน์นาสิ่งที่ได้เรียนรู้บูรณาการ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้มี ความรู้ ความสามารถและทักษะในการ ทางานและในการทาผังมโนทัศน์ เพื่อให้มี ทักษะการคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหา ประเมิน คุณค่าและนาเสนอผลงานด้วยผังมโนทัศน์ รวมทั้งเพื่อให้มีความสามารถในการทางาน ร่วมกับผู้อื่น หลักการสร้างภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี ๑. มีการวางแผนในการทางานเป็น กลุ่ม มีลักษณะการเป็นผู้นา และผู้ตามที่ดี ปรับตัวในการ ทางานร่วมกับเพื่อนได้ยอมรับ ฟังความคิดเห็นของผู้อื่นรู้จัก การแก้ปัญหาเพื่อการปรับปรุง และพัฒนาต่อไป ความรู้ ประวัติความเป็นมาและคุณค่าของดนตรี คุณธรรม 1. มีความใฝ่รู้ใฝ่เรียน 2. มีความมุ่งมั่นในการทางานเป็นทีม 3. รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 4. มีการช่วยเหลือ ร่วมมือ 5. ตรงต่อเวลา 6. มีความรับผิดชอบ 7. รักษ์ความเป็นไทย
  • 6. - ผลลัพธ์ (KPA) ที่เกิดกับผู้เรียนจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้าน การวัด อยู่อย่างพอเพียง --- สมดุลและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงในด้านต่างๆ วัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม ความรู้ (K) - นักเรียนรู้จักใช้สื่อ วัสดุอุปกรณ์ และการ ใช้ทรัพยากรได้อย่าง เหมาะสม เช่น ใบ ความรู้ ใบงาน คอมพิวเตอร์ เวลา คน เป็นต้น - นักเรียนศึกษาใน เอกสารใบงาน ใบ ความรู้ - นักเรียนนาความรู้ที่ได้ ไปใช้ประกอบการ ตัดสินใจ การวางแผน และการ ทางานให้เกิด ประโยชน์กับตนเอง ครอบครัว ชุมชนและ สังคม - นาความรู้ ไปใช้ในการ คิดวิเคราะห์เปรียบเทียบ ข้อมูลเชิงปริมาณและเชิง คุณภาพและการบริหาร จัดการสิ่งแวดล้อมที่อยู่ รอบตัว โรงเรียน ชุมชน และสังคม - มีความรู้ความเข้าใจ และใช้การให้เหตุผล เพื่อสนับสนุนความจริง และความเชื่ออย่างมี วิจารณญาณ ทักษะ (P) - นักเรียนปฏิบัติตาม ขั้นตอน ที่กาหนดไว้ใน ใบงานได้ถูกต้อง - นักเรียนใช้สื่อ วัสดุ อุปกรณ์การเรียนได้ ถูกต้อง -นักเรียนสามารถ บริหารจัดการทรัพยากร ได้อย่างสมเหตุสมผล - มีทักษะการทางาน ร่วมกับผู้อื่น - นักเรียนมีทักษะที่เกิด จากการเรียนรู้และ สามารถนาไป ประยุกต์ใช้กับตนเอง ครอบครัว ชุมชนและ สังคมได้ - มีทักษะในการปรับตัว ให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม - เกิดทักษะการบริหาร จัดการและการดูแลรักษา สิ่งแวดล้อม - นักเรียนนาทักษะ กระบวนการที่ได้ไปใช้ ในการดาเนิน ชีวิตประจาวัน - การร่วมมือ ช่วยเหลือ ซึ่งกันและกันภายใน กลุ่ม ค่านิยม (A) - นักเรียนใช้วัสดุ อุปกรณ์และทรัพยากร อย่างประหยัดและ คุ้มค่าสมเหตุสมผล - นักเรียนมีระเบียบวินัย รักการทางาน - มีความรับผิดชอบ - เกิดความสามัคคีมี น้าใจ รู้จักแบ่งปันผู้อื่น -การให้ความร่วมมือ และการแสดงความ คิดเห็น - ตระหนักและเห็นคุณค่า ของสิ่งแวดล้อม และมี เหตุผลในการอนุรักษ์ไว้ -รู้จักใช้ทรัพยากร สิ่งแวดล้อมอย่างคุ้มค่า - เกิดความร่วมมือใน การทางานร่วมกัน
  • 7. 12. ความเห็นของหัวหน้าสถานศึกษา หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………............................... ....................................................................................................................................................................... ลงชื่อ……………………………………. (นายจันทรัสม์ ไชยสัตย์ ) หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………................................... ...................................................................................................................................................................... ลงชื่อ……………………………………. (นางกาญจนา วงค์ไชยา) หัวหน้าฝ่ายวิชาการ ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………................................... ...................................................................................................................................................................... ลงชื่อ……………………………………. (นางสาวสุวิมล หมายมั่น) รองผู้อานวยการโรงเรียนโดมประดิษฐ์วิทยา ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………............................................................................... ....................................................................................................................................................................... ลงชื่อ…………………………………….. (นายมนัส โฉมฉลวย) ผู้อานวยการโรงเรียนโดมประดิษฐ์วิทยา
  • 8. 13. บันทึกผลหลังการเรียนรู้ 13.1 ผลการเรียน ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… 13.2 พฤติกรรมนักเรียน ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… 13.3 เทคนิคการสอน /กระบวนการสอน ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… 13.4 การใช้สื่อ ………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… 13.5 ปัญหาและอุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………. 13.6 การปรับปรุงแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ ……………………………. (นายอภิชิต กลีบม่วง) ครูผู้ช่วย โรงเรียนโดมประดิษฐ์วิทยา วันที่.............เดือน ....................... พ.ศ..........
  • 9. ใบความรู้ที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ดนตรี (ศ 32101) ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ประกอบแผนการสอนที่ 1 เรื่อง ประวัติความเป็นมาและคุณค่าของดนตรี จานวน 1 ชั่วโมง …………………………………………………………………………………………………….. ประวัติความเป็นมา และความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับดนตรี ดนตรีเกิดขึ้นเมื่อใดไม่มีหลักฐานยืนยันแน่ชัดผู้เชี่ยวชาญทางด้านดนตรีหลายท่านสันนิษฐานว่า ดนตรีเกิดขึ้นมาพร้อมกับมนุษย์ จุดเริ่มต้นของดนตรีน่าจะมาจากเสียงที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เช่น เสียงลม พัด เสียงฟ้าร้อง เสียงน้าตก เสียงต้นไม้เสียดสีกัน เสียงร้องของสัตว์ เสียงวัตถุกระทบกัน เสียงตบมือ เสียง ร้อง เสียงอุทาน เสียงตะโกนของมนุษย์ เป็นต้น ต่อมามนุษย์ได้นาเสียงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติมา ปรับปรุง จัดระบบ และเรียบเรียงให้ผสมกลมกลืนกัน เกิดความไพเราะสวยงามทางด้านเสียง มนุษย์ทุกชาติทุกภาษาต่างก็มีดนตรี หรือบรรเลงดนตรีด้วยกันทั้งนั้นตั้งแต่คนป่าจนถึงชาติที่เจริญเป็น ที่สุดต่างก็มีดนตรีเป็นเอกลักษณะและเป็นวัฒนธรรมของตนสันนิษฐานว่าระยะแรกดนตรีมีใช้เพื่อประกอบ พิธีทางศาสนา และพัฒนาการมาเรื่อย ๆ จนเป็นสิ่งหนึ่งที่มนุษย์ทุกคนได้ใช้เป็นส่วนหนึ่งของชีวิต ตั้งแต่เกิด จนกระทั่งตาย ความหมายของดนตรี นักปราชญ์ทางด้านดนตรีได้ให้ความหมายของดนตรีไว้หลายอย่าง ๆ เช่น ดนตรี คือ “ศิลปะของการใช้เสียงตามแนวความคิดทางดนตรี ( Musical Idia ) ของผู้ประพันธ์” ดนตรี คือ เสียงที่นามาเรียบเรียงให้ผสมกลมกลืนกัน มีทานอง มีจังหวะ และมีการประสานเสียงต่าง ๆ เข้าด้วยกันตามหลักวิชาดนตรีโดยมีจุดประสงค์เพื่อให้มีความไพเราะน่าฟัง ดนตรี คือ เสียงที่นามาเรียบเรียงให้ผสมกลมกลืนกัน เกิดความไพเราะ สวยงาม ผู้ฟังแล้วเกิดอารมณ์ และความรู้สึกตามลีลาของดนตรี คุณค่าและประโยชน์ของดนตรี ดนตรีเป็นสิ่งที่มีบทบาทกับมนุษย์เราอย่างมาก ตั้งแต่เกิดจนกระทั่งตาย ดนตรีเข้ามาเกี่ยวข้องกับชีวิต ทุกวันและทุกวัย อาจแยกประโยชน์และคุณค่าเป็นข้อ ๆ ดังนี้ 1. สามารถทาให้เราสนุกสนานเบิกบานใจ 2. ลดความตึงเครียดของคนเราได้ 3. สามารถนาความรู้ความสามารถทางด้านดนตรีไปประกอบอาชีพ 4. นาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจาวัน 5. ใช้เล่นเพื่อความบันเทิง 6. ใช้เป็นสื่อกลางเพื่อสร้างไมตรี
  • 10. 7. ใช้ประกอบการแสดงและกิจกรรมต่าง ๆ 8. ใช้ประกอบพิธีทางศาสนา 9. ใช้เป็นดนตรีบาบัด คนป่วยเนื่องจากสภาพจิตใจ เป็นต้น เสียงของดนตรี ดนตรีคืองานทางศิลปะที่มนุษย์สร้างขึ้นโดยอาศัยเสียงเป็นสื่อถ่ายทอดความรู้สึกของศิลปิน เสียงดนตรีเป็นที่มีความงามที่ถูกนามาเรียบเรียงขึ้นเป็นบทเพลงอย่างมีศิลปะหรืออาจกล่าวได้อีกนัยหนึ่งว่า “ดนตรี” ก็คือ เสียงที่นามาเรียบเรียงให้ผสมกลมกลืนกัน มีทานอง มีจังหวะและมีการประสานเสียงต่าง ๆ เข้า ด้วยกันตามหลักวิชาดนตรีโดยมีจุดประสงค์เพื่อให้มีความไพเราะน่าฟัง ความแตกต่างระหว่างเสียงดนตรีกับเสียงอื่น ๆ คือ เสียงดนตรีเป็นเสียงที่ประดิษฐ์ขึ้นโดยอาศัยความ งดงามของเสียง ศิลปินผู้ประดิษฐ์เสียงได้สอดใส่อารมณ์ลงไปในเสียง ส่วนอื่น ๆ ที่ไม่ใช่เสียงดนตรีนั้น เป็น เพียงเสียงที่ขาดคุณสมบัติทางศิลปะ เช่น เสียงแตรรถยนต์ที่ดังอยู่ตามท้องถนน เสียงจ้อกแจ้กจอแจในตลาด เป็นต้น
  • 11. แบบทดสอบก่อน / หลังเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ดนตรี (ศ 32101) ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ประกอบแผนการสอนที่ 1 เรื่อง ประวัติและความเป็นมาของดนตรี จานวน 1 ชั่วโมง คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคาหรือข้อความให้สมบูรณ์ถูกต้อง 1. ดนตรี หมายถึง ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… 2. ดนตรีเกิดมาเมื่อใด ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………................................................................................ 3. ดนตรีมีประโยชน์ ต่อมนุษย์อย่างไร ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………................................................................................ 4. เสียง ระเบิด เป็นเสียงดนตรี หรือไม่…………………………………………………………...................... เพราะเหตุใด…………………………………………………………………………………….................. ……………………………………………………………………………………………………………… …..…………………………………………………………………………................................................. 5. นักเรียนคิดว่า ดนตรีไทย มีความสาคัญต่อประเทศไทยอย่างไร …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………
  • 12. เฉลยแบบทดสอบก่อน / หลังเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ ดนตรี (ศ 32101) ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ประกอบแผนการสอนที่ 1 เรื่อง ประวัติและความเป็นมาของดนตรี จานวน 1 ชั่วโมง ………………………………………………………………………………………………….. 1. ตอบ ดนตรี คือ เสียงที่นามาเรียบเรียงให้ผสมกลมกลืนกัน มีทานอง มีจังหวะ และมีการประสานเสียงต่าง ๆ เข้าด้วยกันตามหลักวิชาดนตรีโดยมีจุดประสงค์เพื่อให้มีความไพเราะน่าฟัง 2 ตอบ ดนตรีเกิดขึ้นเมื่อใดไม่มีหลักฐานยืนยันแน่ชัด ผู้เชี่ยวชาญทางด้านดนตรีหลายท่านสันนิษฐานว่า ดนตรีเกิดขึ้นมาพร้อมกับมนุษย์ จุดเริ่มต้นของดนตรีน่าจะมาจากเสียงที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ต่อมา มนุษย์ได้นาเสียงต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติมาปรับปรุง จัดระบบ และเรียบเรียงให้ผสมกลมกลืนกัน เกิดความไพเราะสวยงามทางด้านเสียง 3. ตอบ ดนตรีเป็นสิ่งที่มีบทบาทกับมนุษย์เราอย่างมาก ตั้งแต่เกิดจนกระทั่งตาย ดนตรีเข้ามาเกี่ยวข้องกับชีวิต ทุกวันและทุกวัย อาจแยกประโยชน์และคุณค่าเป็นข้อ ๆ ดังนี้ 1 สามารถทาให้เราสนุกสนานเบิกบานใจ 2 ลดความตึงเครียดของคนเราได้ 3 สามารถนาความรู้ความสามารถทางด้านดนตรีไปประกอบอาชีพ 4 นาไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจาวัน 5 ใช้เล่นเพื่อความบันเทิง 4. ตอบ เสียงระเบิด ไม่ถือว่าเป็นเสียงดนตรี เพราะไม่ใช่เสียงที่นามาเรียบเรียงให้เกิดความไพเราะสวย งาม 5 ตอบ ดนตรีไทย มีความสาคัญต่อประเทศไทย เพราะ ดนตรีเป็นเอกลักษณ์อย่างหนึ่งของไทย เป็น วัฒนธรรมประเพณีไทย ที่บอกให้รู้ถึงความเป็นไทย