SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องเครื่องดนตรีและการดูแลรักษา
                                สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

        ปัญหาและขอบเขตของปัญหา

                        กระแสสังคมข่าวสารยุคเทคโนโลยีสารสนเทศที่เกิดขึ้นพร้อมๆ กับกระแสของ
โลกาภิวั ฒ น์ ก ารแพร่ ก ระจายและการเปลี่ย นแปลงสภาพทางเศรษฐกิ จสั ง คมความเจริ ญก้ า วหน้ า ทาง
วิทยาการและเทคโนโลยีเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วเกิดผลกระทบทางด้านการศึ กษาวัฒนธรรมและชีวิตความ
เป็นอยู่ของคนในสังคม เป็นภาวการณ์ของสังคมใหม่ เรียกว่าสังคมของการเรียนรู้ ประกอบกับแนวคิดใหม่
ในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มุ่งพัฒนาคนไทย ให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์เป็นคนดี มีปัญญาและมีความเป็น
ไทย มีศักยภาพในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ (กรมวิชาการ, 2544. หน้า 4 ) โดยต้องยึดหลักความ
แตกต่ า งระหว่ า งบุ ค คลที่ ผู้ เ รี ย นทุ ก คนมี ค วามสามารถเรี ย นรู้ แ ละพั ฒ นาตนเองได้ และถื อ ว่ า ผู้ เ รี ย นมี
ความสาคัญ การจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตนเองตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพด้วย
บทบั ญ ญั ติ ที่ เ กี่ ย วกั บ การจั ด กระบวนการเรี ย นรู้ ใ ห้ ส ถานศึ ก ษาจั ด กิ จ กรรมให้ ผู้ เ รี ย นได้ เ รี ย นรู้ จ าก
ประสบการณ์จริง ฝึกปฏิบัติให้ทาได้ คิดเป็น ทาเป็น รักการอ่าน และเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง (กรมวิชาการ
,2544.หน้า 19 ) ตลอดจนส่งเสริมให้มีมาตรฐานสามารถก้าวทันเทคโนโลยีและสามารถใช้ทรัพยากรอย่าง
คุมค่า เพื่อการเรียนรู้ที่ทันสมัยเหมาะสม มีคุณภาพและประสิทธิภาพ รูปแบบการเรียนการสอนเทคโนโลยีที่
   ้
สามารถส่งข้อมูลข่าวสารได้อย่างรวดเร็ว การเรียนการสอนจาเป็นต้องเน้นการศึกษาเป็นรายบุคคลมากขึ้น
ต้องสร้างแบบแผนของการเรียนให้แต่ละบุคคลสามารถเรียนได้ด้วยตนเองมากที่สุด
                        ดังนั้นคุณภาพการศึกษาจึงเป็นรากฐานสาคัญในการพัฒนาประเทศและการพัฒนา
ทางด้านเศรษฐกิจและสังคมจะไม่บรรลุผลสาเร็จด้วยดี หากประชาชนของชาติขาดการศึกษา หรือการศึกษา
มีอยู่ในระดับต่า ซึ้งในการพัฒนาการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายได้นั้นสื่อการเรียนการสอนเป็นปัจจัยสาคัญ
อย่างหนึ่งที่จะช่วยพัฒนาการเรียนการสอนให้ไปสู่จุดมุ่งหมายที่ต้องการ (นพรัตน์ เที่ยงตรง,2533.หน้า 1)
จากหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2542 ช่วงชั้นที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระดนตรี คาดหวังไว้
ว่ า คุ ณ ภาพผู้ เ รี ย น เมื่ อ จบการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานในกลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ แ ล้ ว ผู้ เ รี ย นจะมี จิ ต ใจงดงามมี
สุนทรีย ภาพ รัก ความสวยงาม เป็ นระเบี ย บ รับรู้อย่ างพิ นิจพิ เคราะห์ เห็นคุณค่าความส าคัญของศิล ปะ
ธรรมชาติสิ่งแวดล้อม ตลอดจน ศิลปวัฒนธรรมอันเป็นมรดกทางภูมิปัญญาของคนในชาติ สามารถค้นพบ
ศักยภาพความสนใจของตนเองอันเป็นพื้นฐานในการศึ กษาต่อ หรือประกอบอาชีพทางศิลปะ มีจินตนาการ
ความคิดสร้างสรรค์ มีความเชื่อมั่นพัฒนาตนเองได้ และแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ มีสมาธิในการทางาน มี
ระเบียบวินัย ความรับผิดชอบ สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข (กรมวิชาการ,2545.หน้า 3)
จากการเรียนการสอนที่ผ่านมาประสบปัญหาคือ หนังสือคู่มือการสอนมีน้อย สื่อของจริง
มีราคาแพง เนื้อหาของบทเรียนซึ่งยากต่อครูผู้สอนที่ไม่มีความรู้ด้านดนตรีโดยเฉพาะ รวมทั้งไม่มีครูวุฒิ
ดนตรีเฉพาะ ดังนั้นรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่จะทานักเรียนเกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ
เครื่องดนตรีและการดูแลรักษา จึงต้องคานึงถึงวัย วุฒิภาวะ และความแตกต่างระหว่างบุคคล สื่อการสอน
จึงเป็นสิ่งสาคัญอย่างหนึ่งที่จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจบทเรียนได้ตามความต้องการของผู้สอน
การใช้สื่อการเรียนการสอน ชุดการสอน ตลอดจนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่ายสามารถใช้
แหล่งข้อมูลการเรียนรู้ได้พร้อมกัน (กฤษมันต์ วัฒนาณรงค์ ,2538.หน้า 100-101) บทเรียนคอมพิวเตอร์
ช่ ว ยสอนเป็ น สื่ อ การศึ ก ษาอเนกทั ศ น์ ส ามารถน าเสนอได้ ทุ ก รู ป แบบทั้ ง ข้ อ ความ รู ป ภาพกราฟิ ก
ภาพเคลื่อนไหว เสียง นอกจากนี้ยังมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ เรียนได้อย่างเหมาะสมจึงมีบทบาทกับการเรียนการ
สอนในยุคปัจจุบันที่ยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ (บูรณะ สมชัย,2542 หน้า 13)
                   ด้วยเหตุนี้ผู้ศึกษาจึงเห็นความจาเป็นในการนาสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์มาใช้ใน
กิจกรรมการเรียนการสอนสาระศิลปะ (สาขาดนตรี) เรื่องเครื่องดนตรีและการดูแลรักษา สาหรับนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เพื่อให้นักเรียนสามารถสร้างความเข้าใจ เกิดการเรียนรู้เนื้อหาด้วยตนเองอย่าง
รวดเร็ว และก่อเกิดการเรียนรู้ ความเข้าใจอันเป็นสู่กระบวนการเรียนรู้ที่แท้จริง

            วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า
                1. เพื่อพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องเครื่องดนตรีและการดูแลรักษา
ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80
                2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนและหลังเรียนด้วยบทเรียน
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
                3. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอร์
                                                                               ่
ช่วยสอนเรื่อง เครื่องดนตรีและการดูแลรักษา

           ความสาคัญของการศึกษาค้นคว้า
               1. ได้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สาระดนตรี เรื่องเครื่องดนตรีและการดูแล
รักษา สามารถนาไปใช้สอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
               2. เป็นแนวทางในการสร้างและพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสาหรับ
สาระอื่น ๆ ต่อไป

            ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า
            1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
                 1.1 ประชากร ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเทอดไทย
1.2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 / 3 จานวน 38 คน
ซึ่งได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบเจาะจง
               2. ขอบเขตด้านเนื้อหา
                            เนื้อหาที่ใช้ในการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนนี้เป็นเนื้อหา
เกี่ยวกับเครื่องดนตรีและการดูแลรักษา ซึ่งจาแนกออกเป็น 5 หัวข้อ ดังนี้
                   1. ที่มาและประวัติดนตรีไทย
                   2. เครื่องดนตรีไทย
                   3. ประวัติดนตรีสากล
                   4. เครื่องดนตรีสากล
                   5. การดูแลรักษา

           นิยามศัพท์เฉพาะ
                   1. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หมายถึง บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ผู้
ศึกษาสร้างขึ้น ประกอบด้วย วัตถุประสงค์ แบบทดสอบก่อนเรียน บทเรียน แบบฝึกหัด และ
แบบทดสอบหลังเรียน ซึ่งนาเสนอข้อความ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว และเสียงบรรยายประกอบ อันจะทา
ให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจเนื้อหา
                   2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ค่าเฉลี่ยผลต่างของคะแนนแบบทดสอบ
ก่อนเรียนและคะแนนแบบทดสอบหลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/3 ที่ศึกษาจากบทเรียน
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
                   3. แบบสอบถามความคิดเห็น หมายถึง เครื่องมือที่ใช้วัดความคิดเห็นของ
นักเรียนที่มีต่อการเรียนจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ผู้ศึกษาสร้างขึ้นในรูปแบบของมาตราส่วน
ประมาณค่า 5 ระดับ ตามทฤษฏีของลิคอร์ท (Likert Scale) ประกอบด้วยระดับความคิดเห็นมากที่สุด
มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด
                   4. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน หมายถึง หลักสูตรแกนกลางที่มีลักษณะ
เป็นกรอบและแนวทางในการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เป็นไปตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร
                   5. กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หมายถึง กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นการ
ส่งเสริมให้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีจินตนาการทางศิลปะ ชื่นชมความงาม สุนทรียภาพ ความมีคุณค่า
ซึ่งมีผลต่อคุณภาพชีวิตมนุษย์ ประกอบด้วย 3 สาระคือ
                           1. สาระทัศนศิลป์
                           2. สาระดนตรี
                           3. สารนาฏศิลป์
6. นักเรียน หมายถึง นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 /3 โรงเรียนบ้านเทอด
ไทย อาเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย ที่เรียนจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
              7. ประสิทธิภาพ หมายถึง เกณฑ์ที่ผู้ศึกษาใช้มาตรฐานในการพิจารณาหา
ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
              7.1 80 ตัวแรก หมายถึง ค่าเฉลี่ยร้อยละ 80 ของคะแนนแบบทดสอบก่อน
                  ของผู้เรียนทาได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
              7.2 80 ตัวหลัง หมายถึง ค่าเฉลี่ยร้อยละ 80 ของคะแนนแบบทดสอบหลัง
                  ของผู้เรียนที่เรียนบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนทาได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

            สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า
                 1. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องเครื่องดนตรีและการดูแลรักษา ที่สร้าง
ขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80
                 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย
สอน เรื่องเครื่องดนตรีและการดูแลรักษา หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน
                 3. ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่อง เครื่อง
ดนตรีและการดูแลรักษา อยู่ในระดับมาก

        2.2 รูปแบบ เทคนิค วิธีการแก้ปัญหาหรือพัฒนา
                การศึกษาครั้งนี้ เป็นการศึกษาค้นคว้าตามกระบวนการของการวิจัยและพัฒนา
(Research and Davelopment) ผู้ศึกษาได้ทาการสร้างและหาประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
สาระศิลปะ สาขาดนตรี เรื่องเครื่องดนตรีและการดูแลรักษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีขั้นตอนการ
ดาเนินการดังนี้
                   1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า
                   2. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า
                   3. การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า
                   4. การเก็บรวบรวมข้อมูล
                   5. การวิเคราะห์ข้อมูล

       ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า
            1. ประชากร ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านเทอดไทย
            2. กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 / 3 จานวน 38 คน ซึ่ง
ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling)
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า
                    เครื่องมือที่ใช้การศึกษาค้นคว้าประกอบด้วย
                              1. การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สาระศิลปะ (สาขาดนตรี)
เรื่องเครื่องดนตรีและการดูแลรักษา สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่ผู้ศึกษาสร้างขึ้น
                              2. แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน กลุ่มสาระศิลปะ สาระดนตรี
เรื่องเครื่องดนตรีและการดูแลรักษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่ผู้ศึกษาสร้างขึ้น เป็นแบบปรนัยชนิด 4
ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ
                              3. แบบฝึกหัดท้ายบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็นเกม โดยแบ่งเป็น
2 หัวข้อ คือ ดนตรีไทยและดนตรีสากลจานวน 6 ชุด
                              4. แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์
ช่วยสอน สาระศิลปะ (สาขาดนตรี) เรื่องเครื่องดนตรีและการดูแลรักษา สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา
ปีที่ 4

         การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า
                 ผู้ศึกษาได้ดาเนินการสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สาระศิลปะ (สาขาดนตรี) เรื่อง
เครื่องดนตรีและการดูแลรักษา สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ตามเนื้อหาที่กาหนดในกลุ่มสาระ
ซึ่งมีรายละเอียดในการศึกษา แบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอนดังนี้
                 ขั้นตอนที่ 1
                          การสารวจสภาพปัญหา
                 ขั้นตอนที่ 2
                          การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
                 ขั้นตอนที่ 3
                          การทดลองใช้และหาประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
สรุปขั้นตอนการสร้างและหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาขาดนตรี เรื่องเครื่องดนตรีและการดูแลรักษา
                  สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

    ศึกษาและวิเคราะห์หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544
                สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระศิลปะ

                    เลือกเนื้อหาวิชาตามความสาคัญ

            นาเนื้อหาไปเขียนสคริป ผังงาน และสตอรี่บอร์ด

                      เลือกโปรแกรมคอมพิวเตอร์

     สร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโดยโปรแกรม Authorware 7

                  นาบทเรียนให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ
                                         ปรับปรุงแก้ไข

      นาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนไปทดลองกับนักเรียน 1 คน
                                      ปรับปรุงแก้ไข

      นาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนไปทดลองกับนักเรียน 3 คน
                                    ปรับปรุงแก้ไข

 นาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนไปทดลองกับกลุ่มตัวอย่าง 38 คน

           ประเมินประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
การเก็บรวบรวมข้อมูล
                การศึกษาในครั้งนี้ได้ดาเนินการทดลองโดยใช้แบบแผนการทดลอง แบบกลุ่ม
เดียวสอบก่อนเรียนและหลังเรียน และเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้ศึกษาดาเนินการทอลองและเก็บข้อมูลอื่น ๆ
ด้วยตนเองโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนและแบบสอบถามความคิดเห็นนักเรียนที่ผู้ศึกษาสร้างขึ้น
ดาเนินการเก็บข้อมูล ดังนี้
            1. ติดต่อครูประจาชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/3 โรงเรียนบ้านเทอดไทย เรื่องขอทดลอง
ใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อหาประสิทธิภาพเครื่องมือ
            2. นาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่สร้างเสร็จสมบูรณ์ไปทาการทดลองกับนักเรียนกลุ่ม
                ตัวอย่าง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/3 โรงเรียนบ้านเทอดไทย
จานวน 38 คน
            3. ดาเนินการเรียนการสอน จานวน 1 คาบ/สัปดาห์ รวม 3 ชั่วโมง ชั่วโมงละ
60 นาที
            4. ติดตามเก็บข้อมูลดังนี้
                    4.1. แบบทดสอบก่อนเรียน
                    4.2. ในระหว่างเรียนให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด
                    4.3. แบบทดสอบหลังเรียน
                    4.4. นาแบบสอบถามความคิดเห็นให้นักเรียนประเมินบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

         การวิเคราะห์ข้อมูล
             ผู้ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนดังนี้
                   1. การวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
                   2. การวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อน - หลังเรียนจาก
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
                   3. การวิเคราะห์ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
         2.3 การนารูปแบบเทคนิควิธีการแก้ปัญหาหรือพัฒนาไปใช้ในการแก้ปัญหาหรือพัฒนาและผลที่
เกิดขึ้น
                   การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สาระศิลปะ (สาขาดนตรี) เรื่องเครื่อง
ดนตรีและการดูแลรักษา สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ผู้ศึกษาได้ดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้
             1. การสร้างและหาประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สาระศิลปะ (สาขา
ดนตรี) เรื่องเครื่องดนตรีและการดูแลรักษา สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
             2. เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อน - หลังเรียนจากบทเรียน
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนสาระศิลปะ (สาขาดนตรี) เรื่องเครื่องดนตรีและการดูแลรักษา สาหรับนักเรียนชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 4
           3. ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สาระศิลปะ
(สาขาดนตรี) เรื่องเครื่องดนตรีและการดูแลรักษา สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

        ผลการศึกษาค้นคว้า
                 1. การสร้างและหาประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สาระศิลปะ
(สาขาดนตรี) เรื่องเครื่องดนตรีและการดูแลรักษา สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
                 การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
                 เนื้อหาที่ใช้ในการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนนี้เป็นเนื้อหาเกี่ยวกับเครื่อง
ดนตรีและการดูแลรักษา ซึ่งจาแนกออกเป็น 5 หัวข้อ ดังนี้
                      1. ที่มาและประวัติดนตรีไทย
                      2. เครื่องดนตรีไทย
                      3. ประวัติดนตรีสากล
                      4. เครื่องดนตรีสากล
                      5. การดูแลรักษา
                 2. ผลการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง เครื่องดนตรีและการดูแลรักษาของ
นักเรียนก่อน เรียนและหลังเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

  ที่                ก่อนเรียน                          หลังเรียน                    หมายเหตุ
   1                     5                                  8
   2                     2                                  6
   3                     5                                  7
   4                     4                                  7
   5                     7                                  8
   6                     4                                  7
   7                     3                                  8
   8                     5                                  7
   9                     3                                  8
  10                     3                                  7
  11                     6                                  7
  12                     7                                  9
ที่    ก่อนเรียน   หลังเรียน   หมายเหตุ
   13         8           9
   14         -           -       ขาดเรียน
   15         7           8
   16         3           7
   17         2           8
   18         6           7
   19         -           -       ขาดเรียน
   20         4           7
   21         3           8
   22         6           8
   23         4           8
   24         4           6
   25         4           8
   26         3           9
   27         4           7
   28         3           7
   29         4           8
   30         5           7
   31         5           7
   32         2           8
   33         5           7
   34         4           8
   35         4           6
   36         2           4
   37         2           7
   38         4           8
   39         3           7
   40         2           7
คะแนน        157        280
  รวม
 เฉลี่ย     4.13        7.36
ที่               ก่อนเรียน                       หลังเรียน                 หมายเหตุ
คะแนน                   380                            380
  เต็ม
ร้อยละ                 41.31                           73.68

       ผลวิเคราะห์ปรากฏว่า บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนกลุ่มสาระศิลปะ (สาขาดนตรี) เรื่องเครื่อง
ดนตรีและการดูแลรักษา มีประสิทธิภาพ 41.31/73.68

                 3. ผลการประเมินความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

                                                                         ผลการประเมิน
ข้อที่                           ข้อความ
                                                                      ระดับความเหมาะสม
  1      วิธีสอนในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสามารถอธิบายเนื้อหา               มาก
         ให้เข้าใจได้
  2      นักเรียนรู้สึกพอใจกิจกรรมในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน              ปานกลาง
  3      เนื้อหาของบทเรียนมีความเหมะสมกับระดับของนักเรียน                    มาก
  4      ความเหมาะสมของเวลาที่ใช้ในการเรียนบทเรียนคอมพิวเตอร์                มาก
         ช่วยสอน
  5      ความพอใจรูปแบบของตัวอักษรที่ใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย              มากที่สุด
         สอน
  6      ความเหมาะสมของขนาดตัวอักษรที่ใช้ในบทเรียนคอมพิวเตอร์              ปานกลาง
         ช่วยสอน
  7      ความสวยงามของสีตัวอักษรที่ใช้ในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย                มาก
         สอน
  8      ความเหมาะสม ความสอดคล้องของภาพประกอบในบทเรียน                      มากที่สุด
         คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 9       ความเหมาะสม ของสีพื้นในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน                  ปานกลาง
 10      ความเหมาะสมของภาพเคลื่อนไหวประกอบในบทเรียน                        มากที่สุด
         คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 11      ความชัดเจนของเสียงที่ใช้ประกอบในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย             มากที่สุด
         สอน
ผลการประเมิน
ข้อที่                           ข้อความ
                                                                      ระดับความเหมาะสม
 12      ความสอดคล้องของเสียงประกอบที่ใช้ประกอบบทเรียน                     ปานกลาง
         คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 13      นักเรียนได้มีส่วนร่วมในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน                  มากที่สุด
 14      สามารถย้อนกลับ เข้า-ออก บทเรียนได้ในระหว่างเรียน                    มาก
 15      มีแบบฝึกและการวัดอย่างต่อเนื่องในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย           มากที่สุด
         สอน
 16      ระดับความยากง่ายของแบบฝึกหัดเหมาะสมกับนักเรียน                    มากที่สุด
 17       การแจ้งผลการเรียน การให้ข้อมูลย้อนกลับอย่างเหมาะสมและ              มาก
         เป็นประโยชน์
 18      นักเรียนชอบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน                              มากที่สุด
 19      นักเรียนได้รับประโยชน์จากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน                  มาก
 20       นักเรียนต้องการให้มีการผลิตบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนใน           มากที่สุด
         รายวิชานี้อีก


           จากตารางพบว่า ผลการสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
         กลุ่มสาระศิลปะ (สาขาดนตรี) เรื่องเครื่องดนตรีและการดูแลรักษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ในภาพรวมมีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาแต่ละรายการ พบว่า มีการแสดงความคิดเห็นใน
ระดับมากที่สุดที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดคือ นักเรียนต้องการให้มีการผลิตบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนใน
รายวิชานี้อีก (78.94)
         2.4 ข้อเสนอเชิงนโยบายในการแก้ปัญหาและพัฒนาในอนาคต
                  จากการศึกษาด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสาระศิลปะ (สาขาดนตรี) เรื่อง
เครื่องดนตรีและการดูแลรักษา สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ผู้ศึกษาขอเสนอแนะดังนี้
         1. ควรมีการจัดระเบียบข้อมูลและเก็บรวบรวมข้อมูลบทเรียนคอมพิวเตอร์ให้เป็นระเบียบ
เพื่อป้องกันการสูญหาย
         2. ควรมีการสอนคอมพิวเตอร์เบื้องต้นให้แก่นักเรียน เพื่อสร้างความคุ้นเคยกับการเรียน
จากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
         3. ควรทาการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในสาระอื่น ๆ ในการ
พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนควรออกแบบเทคนิควิธีการให้นักเรียนเกิดปฏิสัมพันธ์กับบทเรียนมาก
ที่สุด

More Related Content

What's hot

โครงร างโครงงานคอม602
โครงร างโครงงานคอม602โครงร างโครงงานคอม602
โครงร างโครงงานคอม602Scott Tape
 
ใบงานที่ 2 - 8
ใบงานที่ 2 - 8ใบงานที่ 2 - 8
ใบงานที่ 2 - 8PluemSupichaya
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
โครงงาน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 (ฉบับชั่วคราว)
โครงงาน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 (ฉบับชั่วคราว)โครงงาน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 (ฉบับชั่วคราว)
โครงงาน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 (ฉบับชั่วคราว)tangmo77
 
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมPrasert Boon
 
แผนการจัดการเรียนรู้การทำบัตรอวยพร
แผนการจัดการเรียนรู้การทำบัตรอวยพรแผนการจัดการเรียนรู้การทำบัตรอวยพร
แผนการจัดการเรียนรู้การทำบัตรอวยพรPoom Pho
 
โครงงาน เรื่อง ขนมวง
โครงงาน เรื่อง ขนมวงโครงงาน เรื่อง ขนมวง
โครงงาน เรื่อง ขนมวงThanakorn Chanamai
 
2562 final-project pitsunan.Thiti
2562 final-project pitsunan.Thiti2562 final-project pitsunan.Thiti
2562 final-project pitsunan.ThitiBaiboonfanjackyjack
 
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี Mana Suksa
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์jumboguide
 
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006Thidarat Termphon
 
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_nnnsb
 
เค้าโครงร่างจ๋า
เค้าโครงร่างจ๋าเค้าโครงร่างจ๋า
เค้าโครงร่างจ๋าJah Jadeite
 
Key9 saman genetics_kruwichaitu
Key9 saman genetics_kruwichaituKey9 saman genetics_kruwichaitu
Key9 saman genetics_kruwichaituWichai Likitponrak
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อnarinchoti
 

What's hot (20)

Test58
Test58Test58
Test58
 
โครงร างโครงงานคอม602
โครงร างโครงงานคอม602โครงร างโครงงานคอม602
โครงร างโครงงานคอม602
 
ใบงานที่ 2 - 8
ใบงานที่ 2 - 8ใบงานที่ 2 - 8
ใบงานที่ 2 - 8
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
 
โครงงาน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 (ฉบับชั่วคราว)
โครงงาน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 (ฉบับชั่วคราว)โครงงาน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 (ฉบับชั่วคราว)
โครงงาน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับที่ 19 (ฉบับชั่วคราว)
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
 
แผนการจัดการเรียนรู้การทำบัตรอวยพร
แผนการจัดการเรียนรู้การทำบัตรอวยพรแผนการจัดการเรียนรู้การทำบัตรอวยพร
แผนการจัดการเรียนรู้การทำบัตรอวยพร
 
โครงงาน เรื่อง ขนมวง
โครงงาน เรื่อง ขนมวงโครงงาน เรื่อง ขนมวง
โครงงาน เรื่อง ขนมวง
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
2562 final-project pitsunan.Thiti
2562 final-project pitsunan.Thiti2562 final-project pitsunan.Thiti
2562 final-project pitsunan.Thiti
 
แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี แผนปฏิบัติการประจำปี
แผนปฏิบัติการประจำปี
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
โครงงานเพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร 02006
 
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
 
เค้าโครงร่างจ๋า
เค้าโครงร่างจ๋าเค้าโครงร่างจ๋า
เค้าโครงร่างจ๋า
 
Plan 4
Plan 4Plan 4
Plan 4
 
Key9 saman genetics_kruwichaitu
Key9 saman genetics_kruwichaituKey9 saman genetics_kruwichaitu
Key9 saman genetics_kruwichaitu
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 

Similar to การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5kruwaeo
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6  สาระที่ 2 หน่วยที่ 6
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6 khomkrit2511
 
Supattra s
Supattra sSupattra s
Supattra speerapit
 
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..Wiwat Ch
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8  สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8 khomkrit2511
 
เทคนิตการสอนดนตรี.pptx
เทคนิตการสอนดนตรี.pptxเทคนิตการสอนดนตรี.pptx
เทคนิตการสอนดนตรี.pptxNaphatwarunAinsuwan1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4dechathon
 

Similar to การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (20)

Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5
 
7บทที่3
7บทที่3 7บทที่3
7บทที่3
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6  สาระที่ 2 หน่วยที่ 6
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๔
 
Supattra s
Supattra sSupattra s
Supattra s
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
 
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
 
11
1111
11
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
5
55
5
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8  สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
 
เทคนิตการสอนดนตรี.pptx
เทคนิตการสอนดนตรี.pptxเทคนิตการสอนดนตรี.pptx
เทคนิตการสอนดนตรี.pptx
 
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
 

การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน

  • 1. การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องเครื่องดนตรีและการดูแลรักษา สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ปัญหาและขอบเขตของปัญหา กระแสสังคมข่าวสารยุคเทคโนโลยีสารสนเทศที่เกิดขึ้นพร้อมๆ กับกระแสของ โลกาภิวั ฒ น์ ก ารแพร่ ก ระจายและการเปลี่ย นแปลงสภาพทางเศรษฐกิ จสั ง คมความเจริ ญก้ า วหน้ า ทาง วิทยาการและเทคโนโลยีเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วเกิดผลกระทบทางด้านการศึ กษาวัฒนธรรมและชีวิตความ เป็นอยู่ของคนในสังคม เป็นภาวการณ์ของสังคมใหม่ เรียกว่าสังคมของการเรียนรู้ ประกอบกับแนวคิดใหม่ ในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มุ่งพัฒนาคนไทย ให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์เป็นคนดี มีปัญญาและมีความเป็น ไทย มีศักยภาพในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ (กรมวิชาการ, 2544. หน้า 4 ) โดยต้องยึดหลักความ แตกต่ า งระหว่ า งบุ ค คลที่ ผู้ เ รี ย นทุ ก คนมี ค วามสามารถเรี ย นรู้ แ ละพั ฒ นาตนเองได้ และถื อ ว่ า ผู้ เ รี ย นมี ความสาคัญ การจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตนเองตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพด้วย บทบั ญ ญั ติ ที่ เ กี่ ย วกั บ การจั ด กระบวนการเรี ย นรู้ ใ ห้ ส ถานศึ ก ษาจั ด กิ จ กรรมให้ ผู้ เ รี ย นได้ เ รี ย นรู้ จ าก ประสบการณ์จริง ฝึกปฏิบัติให้ทาได้ คิดเป็น ทาเป็น รักการอ่าน และเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง (กรมวิชาการ ,2544.หน้า 19 ) ตลอดจนส่งเสริมให้มีมาตรฐานสามารถก้าวทันเทคโนโลยีและสามารถใช้ทรัพยากรอย่าง คุมค่า เพื่อการเรียนรู้ที่ทันสมัยเหมาะสม มีคุณภาพและประสิทธิภาพ รูปแบบการเรียนการสอนเทคโนโลยีที่ ้ สามารถส่งข้อมูลข่าวสารได้อย่างรวดเร็ว การเรียนการสอนจาเป็นต้องเน้นการศึกษาเป็นรายบุคคลมากขึ้น ต้องสร้างแบบแผนของการเรียนให้แต่ละบุคคลสามารถเรียนได้ด้วยตนเองมากที่สุด ดังนั้นคุณภาพการศึกษาจึงเป็นรากฐานสาคัญในการพัฒนาประเทศและการพัฒนา ทางด้านเศรษฐกิจและสังคมจะไม่บรรลุผลสาเร็จด้วยดี หากประชาชนของชาติขาดการศึกษา หรือการศึกษา มีอยู่ในระดับต่า ซึ้งในการพัฒนาการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายได้นั้นสื่อการเรียนการสอนเป็นปัจจัยสาคัญ อย่างหนึ่งที่จะช่วยพัฒนาการเรียนการสอนให้ไปสู่จุดมุ่งหมายที่ต้องการ (นพรัตน์ เที่ยงตรง,2533.หน้า 1) จากหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2542 ช่วงชั้นที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระดนตรี คาดหวังไว้ ว่ า คุ ณ ภาพผู้ เ รี ย น เมื่ อ จบการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานในกลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ แ ล้ ว ผู้ เ รี ย นจะมี จิ ต ใจงดงามมี สุนทรีย ภาพ รัก ความสวยงาม เป็ นระเบี ย บ รับรู้อย่ างพิ นิจพิ เคราะห์ เห็นคุณค่าความส าคัญของศิล ปะ ธรรมชาติสิ่งแวดล้อม ตลอดจน ศิลปวัฒนธรรมอันเป็นมรดกทางภูมิปัญญาของคนในชาติ สามารถค้นพบ ศักยภาพความสนใจของตนเองอันเป็นพื้นฐานในการศึ กษาต่อ หรือประกอบอาชีพทางศิลปะ มีจินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ มีความเชื่อมั่นพัฒนาตนเองได้ และแสดงออกอย่างสร้างสรรค์ มีสมาธิในการทางาน มี ระเบียบวินัย ความรับผิดชอบ สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข (กรมวิชาการ,2545.หน้า 3)
  • 2. จากการเรียนการสอนที่ผ่านมาประสบปัญหาคือ หนังสือคู่มือการสอนมีน้อย สื่อของจริง มีราคาแพง เนื้อหาของบทเรียนซึ่งยากต่อครูผู้สอนที่ไม่มีความรู้ด้านดนตรีโดยเฉพาะ รวมทั้งไม่มีครูวุฒิ ดนตรีเฉพาะ ดังนั้นรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่จะทานักเรียนเกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ เครื่องดนตรีและการดูแลรักษา จึงต้องคานึงถึงวัย วุฒิภาวะ และความแตกต่างระหว่างบุคคล สื่อการสอน จึงเป็นสิ่งสาคัญอย่างหนึ่งที่จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจบทเรียนได้ตามความต้องการของผู้สอน การใช้สื่อการเรียนการสอน ชุดการสอน ตลอดจนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่ายสามารถใช้ แหล่งข้อมูลการเรียนรู้ได้พร้อมกัน (กฤษมันต์ วัฒนาณรงค์ ,2538.หน้า 100-101) บทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่ ว ยสอนเป็ น สื่ อ การศึ ก ษาอเนกทั ศ น์ ส ามารถน าเสนอได้ ทุ ก รู ป แบบทั้ ง ข้ อ ความ รู ป ภาพกราฟิ ก ภาพเคลื่อนไหว เสียง นอกจากนี้ยังมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ เรียนได้อย่างเหมาะสมจึงมีบทบาทกับการเรียนการ สอนในยุคปัจจุบันที่ยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ (บูรณะ สมชัย,2542 หน้า 13) ด้วยเหตุนี้ผู้ศึกษาจึงเห็นความจาเป็นในการนาสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์มาใช้ใน กิจกรรมการเรียนการสอนสาระศิลปะ (สาขาดนตรี) เรื่องเครื่องดนตรีและการดูแลรักษา สาหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เพื่อให้นักเรียนสามารถสร้างความเข้าใจ เกิดการเรียนรู้เนื้อหาด้วยตนเองอย่าง รวดเร็ว และก่อเกิดการเรียนรู้ ความเข้าใจอันเป็นสู่กระบวนการเรียนรู้ที่แท้จริง วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้า 1. เพื่อพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องเครื่องดนตรีและการดูแลรักษา ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อนและหลังเรียนด้วยบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน 3. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่มีตอบทเรียนคอมพิวเตอร์ ่ ช่วยสอนเรื่อง เครื่องดนตรีและการดูแลรักษา ความสาคัญของการศึกษาค้นคว้า 1. ได้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สาระดนตรี เรื่องเครื่องดนตรีและการดูแล รักษา สามารถนาไปใช้สอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. เป็นแนวทางในการสร้างและพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสาหรับ สาระอื่น ๆ ต่อไป ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1.1 ประชากร ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเทอดไทย
  • 3. 1.2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 / 3 จานวน 38 คน ซึ่งได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบเจาะจง 2. ขอบเขตด้านเนื้อหา เนื้อหาที่ใช้ในการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนนี้เป็นเนื้อหา เกี่ยวกับเครื่องดนตรีและการดูแลรักษา ซึ่งจาแนกออกเป็น 5 หัวข้อ ดังนี้ 1. ที่มาและประวัติดนตรีไทย 2. เครื่องดนตรีไทย 3. ประวัติดนตรีสากล 4. เครื่องดนตรีสากล 5. การดูแลรักษา นิยามศัพท์เฉพาะ 1. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หมายถึง บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ผู้ ศึกษาสร้างขึ้น ประกอบด้วย วัตถุประสงค์ แบบทดสอบก่อนเรียน บทเรียน แบบฝึกหัด และ แบบทดสอบหลังเรียน ซึ่งนาเสนอข้อความ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว และเสียงบรรยายประกอบ อันจะทา ให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจเนื้อหา 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง ค่าเฉลี่ยผลต่างของคะแนนแบบทดสอบ ก่อนเรียนและคะแนนแบบทดสอบหลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/3 ที่ศึกษาจากบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน 3. แบบสอบถามความคิดเห็น หมายถึง เครื่องมือที่ใช้วัดความคิดเห็นของ นักเรียนที่มีต่อการเรียนจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ผู้ศึกษาสร้างขึ้นในรูปแบบของมาตราส่วน ประมาณค่า 5 ระดับ ตามทฤษฏีของลิคอร์ท (Likert Scale) ประกอบด้วยระดับความคิดเห็นมากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด 4. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน หมายถึง หลักสูตรแกนกลางที่มีลักษณะ เป็นกรอบและแนวทางในการจัดการศึกษา เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เป็นไปตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตร 5. กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ หมายถึง กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นการ ส่งเสริมให้มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีจินตนาการทางศิลปะ ชื่นชมความงาม สุนทรียภาพ ความมีคุณค่า ซึ่งมีผลต่อคุณภาพชีวิตมนุษย์ ประกอบด้วย 3 สาระคือ 1. สาระทัศนศิลป์ 2. สาระดนตรี 3. สารนาฏศิลป์
  • 4. 6. นักเรียน หมายถึง นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 /3 โรงเรียนบ้านเทอด ไทย อาเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย ที่เรียนจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 7. ประสิทธิภาพ หมายถึง เกณฑ์ที่ผู้ศึกษาใช้มาตรฐานในการพิจารณาหา ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 7.1 80 ตัวแรก หมายถึง ค่าเฉลี่ยร้อยละ 80 ของคะแนนแบบทดสอบก่อน ของผู้เรียนทาได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 7.2 80 ตัวหลัง หมายถึง ค่าเฉลี่ยร้อยละ 80 ของคะแนนแบบทดสอบหลัง ของผู้เรียนที่เรียนบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนทาได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 สมมติฐานของการศึกษาค้นคว้า 1. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องเครื่องดนตรีและการดูแลรักษา ที่สร้าง ขึ้นมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย สอน เรื่องเครื่องดนตรีและการดูแลรักษา หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน 3. ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่อง เครื่อง ดนตรีและการดูแลรักษา อยู่ในระดับมาก 2.2 รูปแบบ เทคนิค วิธีการแก้ปัญหาหรือพัฒนา การศึกษาครั้งนี้ เป็นการศึกษาค้นคว้าตามกระบวนการของการวิจัยและพัฒนา (Research and Davelopment) ผู้ศึกษาได้ทาการสร้างและหาประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สาระศิลปะ สาขาดนตรี เรื่องเครื่องดนตรีและการดูแลรักษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีขั้นตอนการ ดาเนินการดังนี้ 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า 2. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า 3. การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า 4. การเก็บรวบรวมข้อมูล 5. การวิเคราะห์ข้อมูล ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า 1. ประชากร ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนบ้านเทอดไทย 2. กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 / 3 จานวน 38 คน ซึ่ง ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling)
  • 5. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า เครื่องมือที่ใช้การศึกษาค้นคว้าประกอบด้วย 1. การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สาระศิลปะ (สาขาดนตรี) เรื่องเครื่องดนตรีและการดูแลรักษา สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่ผู้ศึกษาสร้างขึ้น 2. แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน กลุ่มสาระศิลปะ สาระดนตรี เรื่องเครื่องดนตรีและการดูแลรักษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่ผู้ศึกษาสร้างขึ้น เป็นแบบปรนัยชนิด 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ 3. แบบฝึกหัดท้ายบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็นเกม โดยแบ่งเป็น 2 หัวข้อ คือ ดนตรีไทยและดนตรีสากลจานวน 6 ชุด 4. แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ ช่วยสอน สาระศิลปะ (สาขาดนตรี) เรื่องเครื่องดนตรีและการดูแลรักษา สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 4 การสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า ผู้ศึกษาได้ดาเนินการสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สาระศิลปะ (สาขาดนตรี) เรื่อง เครื่องดนตรีและการดูแลรักษา สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ตามเนื้อหาที่กาหนดในกลุ่มสาระ ซึ่งมีรายละเอียดในการศึกษา แบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การสารวจสภาพปัญหา ขั้นตอนที่ 2 การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ขั้นตอนที่ 3 การทดลองใช้และหาประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
  • 6. สรุปขั้นตอนการสร้างและหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาขาดนตรี เรื่องเครื่องดนตรีและการดูแลรักษา สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ศึกษาและวิเคราะห์หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระศิลปะ เลือกเนื้อหาวิชาตามความสาคัญ นาเนื้อหาไปเขียนสคริป ผังงาน และสตอรี่บอร์ด เลือกโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนโดยโปรแกรม Authorware 7 นาบทเรียนให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ ปรับปรุงแก้ไข นาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนไปทดลองกับนักเรียน 1 คน ปรับปรุงแก้ไข นาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนไปทดลองกับนักเรียน 3 คน ปรับปรุงแก้ไข นาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนไปทดลองกับกลุ่มตัวอย่าง 38 คน ประเมินประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
  • 7. การเก็บรวบรวมข้อมูล การศึกษาในครั้งนี้ได้ดาเนินการทดลองโดยใช้แบบแผนการทดลอง แบบกลุ่ม เดียวสอบก่อนเรียนและหลังเรียน และเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้ศึกษาดาเนินการทอลองและเก็บข้อมูลอื่น ๆ ด้วยตนเองโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนและแบบสอบถามความคิดเห็นนักเรียนที่ผู้ศึกษาสร้างขึ้น ดาเนินการเก็บข้อมูล ดังนี้ 1. ติดต่อครูประจาชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/3 โรงเรียนบ้านเทอดไทย เรื่องขอทดลอง ใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อหาประสิทธิภาพเครื่องมือ 2. นาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่สร้างเสร็จสมบูรณ์ไปทาการทดลองกับนักเรียนกลุ่ม ตัวอย่าง ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/3 โรงเรียนบ้านเทอดไทย จานวน 38 คน 3. ดาเนินการเรียนการสอน จานวน 1 คาบ/สัปดาห์ รวม 3 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 60 นาที 4. ติดตามเก็บข้อมูลดังนี้ 4.1. แบบทดสอบก่อนเรียน 4.2. ในระหว่างเรียนให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด 4.3. แบบทดสอบหลังเรียน 4.4. นาแบบสอบถามความคิดเห็นให้นักเรียนประเมินบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนดังนี้ 1. การวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 2. การวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อน - หลังเรียนจาก บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 3. การวิเคราะห์ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 2.3 การนารูปแบบเทคนิควิธีการแก้ปัญหาหรือพัฒนาไปใช้ในการแก้ปัญหาหรือพัฒนาและผลที่ เกิดขึ้น การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สาระศิลปะ (สาขาดนตรี) เรื่องเครื่อง ดนตรีและการดูแลรักษา สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ผู้ศึกษาได้ดาเนินการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้ 1. การสร้างและหาประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สาระศิลปะ (สาขา ดนตรี) เรื่องเครื่องดนตรีและการดูแลรักษา สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 2. เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนก่อน - หลังเรียนจากบทเรียน
  • 8. คอมพิวเตอร์ช่วยสอนสาระศิลปะ (สาขาดนตรี) เรื่องเครื่องดนตรีและการดูแลรักษา สาหรับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4 3. ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สาระศิลปะ (สาขาดนตรี) เรื่องเครื่องดนตรีและการดูแลรักษา สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ผลการศึกษาค้นคว้า 1. การสร้างและหาประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สาระศิลปะ (สาขาดนตรี) เรื่องเครื่องดนตรีและการดูแลรักษา สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เนื้อหาที่ใช้ในการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนนี้เป็นเนื้อหาเกี่ยวกับเครื่อง ดนตรีและการดูแลรักษา ซึ่งจาแนกออกเป็น 5 หัวข้อ ดังนี้ 1. ที่มาและประวัติดนตรีไทย 2. เครื่องดนตรีไทย 3. ประวัติดนตรีสากล 4. เครื่องดนตรีสากล 5. การดูแลรักษา 2. ผลการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้เรื่อง เครื่องดนตรีและการดูแลรักษาของ นักเรียนก่อน เรียนและหลังเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ที่ ก่อนเรียน หลังเรียน หมายเหตุ 1 5 8 2 2 6 3 5 7 4 4 7 5 7 8 6 4 7 7 3 8 8 5 7 9 3 8 10 3 7 11 6 7 12 7 9
  • 9. ที่ ก่อนเรียน หลังเรียน หมายเหตุ 13 8 9 14 - - ขาดเรียน 15 7 8 16 3 7 17 2 8 18 6 7 19 - - ขาดเรียน 20 4 7 21 3 8 22 6 8 23 4 8 24 4 6 25 4 8 26 3 9 27 4 7 28 3 7 29 4 8 30 5 7 31 5 7 32 2 8 33 5 7 34 4 8 35 4 6 36 2 4 37 2 7 38 4 8 39 3 7 40 2 7 คะแนน 157 280 รวม เฉลี่ย 4.13 7.36
  • 10. ที่ ก่อนเรียน หลังเรียน หมายเหตุ คะแนน 380 380 เต็ม ร้อยละ 41.31 73.68 ผลวิเคราะห์ปรากฏว่า บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนกลุ่มสาระศิลปะ (สาขาดนตรี) เรื่องเครื่อง ดนตรีและการดูแลรักษา มีประสิทธิภาพ 41.31/73.68 3. ผลการประเมินความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ผลการประเมิน ข้อที่ ข้อความ ระดับความเหมาะสม 1 วิธีสอนในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสามารถอธิบายเนื้อหา มาก ให้เข้าใจได้ 2 นักเรียนรู้สึกพอใจกิจกรรมในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ปานกลาง 3 เนื้อหาของบทเรียนมีความเหมะสมกับระดับของนักเรียน มาก 4 ความเหมาะสมของเวลาที่ใช้ในการเรียนบทเรียนคอมพิวเตอร์ มาก ช่วยสอน 5 ความพอใจรูปแบบของตัวอักษรที่ใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย มากที่สุด สอน 6 ความเหมาะสมของขนาดตัวอักษรที่ใช้ในบทเรียนคอมพิวเตอร์ ปานกลาง ช่วยสอน 7 ความสวยงามของสีตัวอักษรที่ใช้ในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย มาก สอน 8 ความเหมาะสม ความสอดคล้องของภาพประกอบในบทเรียน มากที่สุด คอมพิวเตอร์ช่วยสอน 9 ความเหมาะสม ของสีพื้นในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ปานกลาง 10 ความเหมาะสมของภาพเคลื่อนไหวประกอบในบทเรียน มากที่สุด คอมพิวเตอร์ช่วยสอน 11 ความชัดเจนของเสียงที่ใช้ประกอบในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย มากที่สุด สอน
  • 11. ผลการประเมิน ข้อที่ ข้อความ ระดับความเหมาะสม 12 ความสอดคล้องของเสียงประกอบที่ใช้ประกอบบทเรียน ปานกลาง คอมพิวเตอร์ช่วยสอน 13 นักเรียนได้มีส่วนร่วมในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มากที่สุด 14 สามารถย้อนกลับ เข้า-ออก บทเรียนได้ในระหว่างเรียน มาก 15 มีแบบฝึกและการวัดอย่างต่อเนื่องในบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย มากที่สุด สอน 16 ระดับความยากง่ายของแบบฝึกหัดเหมาะสมกับนักเรียน มากที่สุด 17 การแจ้งผลการเรียน การให้ข้อมูลย้อนกลับอย่างเหมาะสมและ มาก เป็นประโยชน์ 18 นักเรียนชอบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มากที่สุด 19 นักเรียนได้รับประโยชน์จากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มาก 20 นักเรียนต้องการให้มีการผลิตบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนใน มากที่สุด รายวิชานี้อีก จากตารางพบว่า ผลการสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสาระศิลปะ (สาขาดนตรี) เรื่องเครื่องดนตรีและการดูแลรักษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ในภาพรวมมีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาแต่ละรายการ พบว่า มีการแสดงความคิดเห็นใน ระดับมากที่สุดที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดคือ นักเรียนต้องการให้มีการผลิตบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนใน รายวิชานี้อีก (78.94) 2.4 ข้อเสนอเชิงนโยบายในการแก้ปัญหาและพัฒนาในอนาคต จากการศึกษาด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสาระศิลปะ (สาขาดนตรี) เรื่อง เครื่องดนตรีและการดูแลรักษา สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ผู้ศึกษาขอเสนอแนะดังนี้ 1. ควรมีการจัดระเบียบข้อมูลและเก็บรวบรวมข้อมูลบทเรียนคอมพิวเตอร์ให้เป็นระเบียบ เพื่อป้องกันการสูญหาย 2. ควรมีการสอนคอมพิวเตอร์เบื้องต้นให้แก่นักเรียน เพื่อสร้างความคุ้นเคยกับการเรียน จากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 3. ควรทาการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในสาระอื่น ๆ ในการ พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนควรออกแบบเทคนิควิธีการให้นักเรียนเกิดปฏิสัมพันธ์กับบทเรียนมาก ที่สุด