SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
วิเคราะห์เพลง เสียงแคนจากแมนชั่น
เสนอ อาจารย์ประจง ประสารฉ่า1
โดย พระมหานิรันดร์ ปญฺญาวุฑฺโฒ2
บทนา
เพลงลูกทุ่งมีความสัมพันธ์กับคนไทยตั้งแต่อดีตจวบจนปัจจุบันและเป็นที่นิยมอย่างมากในกลุ่ม คน
ไทยในชนบท เนื้อหาของเพลงลูกทุ่งมักจะสะท้อนถึงสภาพสังคมและวิถีชีวิตความเป็นอยู่ รวมทั้งวัฒนธรรม
ไทย ดังนั้นจึงอาจกล่าวได้ว่าเพลงลูกทุ่งเป็นสมบัติทางวัฒนธรรมที่สาคัญของชาติไทย
ความโดดเด่นของเพลงลูกทุ่งนอกจากจะเป็นการสะท้อนสภาพชีวิต ความเป็นอยู่ของคนในสังคมแล้ว
สิ่งที่สาคัญอีกประการหนึ่งคือภาษา ภาษาในเพลงลูกทุ่งเป็นภาษาเรียบง่ายตรงไปตรงมา ไม่สลับซับซ้อน มี
ลักษณะเดียวกับเพลงพื้นบ้าน ดังที่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (2534 : 24) มีพระ
ราชดารัสไว้ว่า
...เนื้อเพลงลูกทุ่งมักจะสะท้อนภาพชีวิตจริงของคน ปรากฏการณ์ทาง
ธรรมชาติ การเกิดสงคราม ปัญหาเศรษฐกิจและการเมืองได้เป็นอย่างดี ใช้ภาษา
ทีเรียบง่าย เข้าใจและจ่าง่าย ฟังแล้วไม่ต้องแปลความหมาย เหนือไปกว่านั้น
เพลงลูกทุ่งยังสรรหาค่าทีกระทบกระเทียบเปรียบเปรย มีส่านวนกระแนะกระ
แหนเจ็บๆ คันๆ มาเสนอได้หลายรูปแบบ เรียกได้ว่าเข้าถึงใจคนฟังได้ในเวลา
อันรวดเร็ว คุณสมบัติในข้อทีว่าบันทึกเหตุการณ์ได้ดีนี้เอง เป็นคุณสมบัติพิเศษ
ทีเพลงชนิดอืนท่าได้ไม่ดี และมีความหลากหลายเท่าเทียมกับเพลงลูกทุ่ง...
ปัจจุบันเพลงลูกทุ่งได้รับกระแสความนิยมมากขึ้น ไม่เพียงแต่ได้รับความนิยมในต่างจังหวัดเท่านั้น แต่
ยังครอบคลุมไปถึงผู้คนในเมืองทุกระดับทุกชนชั้น เห็นได้จากการใช้เครื่องสื่อสารหลาย ๆ อย่าง เช่น คลื่นวิทยุ
โทรทัศน์ อินเตอร์เน็ต youtube facebook และโลกออนไลน์อีกมากมาย จึงทาให้ประชาชนจานวนมากทั้งใน
กรุงเทพมหานครและต่างจังหวัด ได้รับรู้และรับฟังเพลงลูกทุ่งอย่างทั่วถึงและบางเพลงก็โด่งดังในชั่วข้ามคืน
๑
อาจารย์ประจาหลักสูตรสาขาวิชาการสอนภาษาไทย มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย (วศ.ก.)
๒นักศึกษาปีที่ ๔ คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาการสอนภาษาไทยมหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย (วศ.ก.)
การวิเคราะห์เพลงลูกทุ่งนี้ ผู้วิเคราะห์ได้นาบทเพลงมาใช้ในการวิเคราะห์ ๑ เพลงคือ
เพลง : เสียงแคนจากแมนชั่น
ศิลปิน : ไหมไทย ใจตะวัน
อัลบั้ม : ชุดที่ 2 นักสู้หัวใจเซิ้ง
คาร้อง/ทานอง : วีระ สุดสังข์
เรียบเรียง : ธีระพงษ์ ศักดิ์แก้ว
เพลงนี้ได้รางวัลคมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 6 ประจาปี พ.ศ. 2551 จานวน ๓ รางวัลได้แก่
๑. รางวัลนักร้องชายยอดเยี่ยม, ๒. รางวัลคาร้องยอดเยี่ยม, ๓. รางวัลเพลงยอดเยี่ยม
เนื้อร้อง ได้ยินเสียงแคน ดังลอยแล่นมาจากแมนชัน
ไผน้อพักอยู่หม่องนัน คนไกลบ้านคือเฮาบ่น้อ
ท่านองลายล่องลายเศร้า ฟังแล้วเหงาคึดฮอดแม่พ่อ
สะกิดใจให้คึดพ้อ หลายสิงทีรออยู่ในความจ่า
นับแต่ความจน พาดิ้นรนเป็นคนไกลถิน
ความทุกข์บีบให้ต้องดิ้น ยากงานบ่เซาแต่เช้าฮอดค่า
มาไกลหลายปีติดต่ออยู่ กทม. บ่ได้ฟังล่า
คืนนี้เหมือนแคนไถ่ถาม ว่าลืมทางเมือบ้านแล้วไป่
แม่นผู้ใด๋เป็นคนเป่าแคนกะส่าง
แต่คนหลอยฟัง มันช่างมีแฮงใจหลาย
คนอยู่แมนชันยังเป่าแคนหวานซ้่าบ่ย่านอาย
ยืนยันว่าเจ้าของเป็นไผ ออนซอนน้่าใจเจ้าของเสียงแคน
ลายสุดสะแนน เสียงแคนแล่นจากแมนชัน
หล่อเลี้ยงคนเหงาไกลบ้าน สู้เพือฝันบนทางยากแสน
ให้แน่นเหนียวคือปั้นข้าว คนบ้านเฮาฮักกันมันแก่น
เป่าอีกแนเด้อหมอแคน ช่วยเป็นตัวแทนกล่อมใจไกลบ้าน....
๑. เพลงลูกทุ่งกับการใช้ภาษา
๑.๑ การใช้ภาษา ในการแต่งเพลงนี้ผู้แต่งมีการใช้ภาษาถิ่นอีสานประสมกับภาษาไทยภาคกลางโดย
ทานองการร้องมีการสลับจังหวะสาเนียงร้องไทยบ้างอีสานบ้าง ดั่งบทขึ้นต้นเพลงที่เป็นภาษากลางร้องว่า “ได้
ยินเสียงแคน ดังลอยแล่นมาจากแมนชัน” และวรรคต่อมาร้องเป็นส่าเนียงอีสาน “ไผน้อพักอยู่หม่องนัน คน
ไกลบ้านคือเฮาบ่น้อ” โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้ผู้ฟังได้อรรถรสในการขับขานบอกเล่าเรื่องราวเนื้อหาอันเกี่ยวกับ
คนอีสานที่ร่อนแรมจากถิ่นเดิมเข้าสู่เมืองใหญ่ ดิ้นร้นต่อสู้หวังเพื่อให้หลุดพ้นจากความทุกข์อยาก เมื่อได้ฟัง
เพลงสาเนียงอีสาน ฟังแล้วเข้าใจง่ายและรู้สึกอบอุ่นเหมือนดั่งอยู่บ้านตน
๑.๒ การใช้คา การเลือกใช้คาในเพลงนี้ส่วนใหญ่เป็นคาเรียบง่าย มักไม่ค่อยมีคาศัพท์ยากนัก ทั้งนี้ใน
เพลงนี้ที่เป็นเพลงลูกทุ่งเฉพาะถิ่นมักมีการสอดแทรกภาษาท้องถิ่นไว้ด้วย ลักษณะดังกล่าวนี้จะช่วยให้ผู้ฟัง
ได้รับอรรถรสในการฟังอย่างเต็มที่ ดั่งท่อน Hook (ฮุค) ของเพลงนี้ร้องว่า “แม่นผู้ใด๋เป็นคนเป่าแคนกะส่าง
แต่คนหลอยฟัง มันช่างมีแฮงใจหลาย คนอยู่แมนชันยังเป่าแคนหวานซ้่าบ่ย่านอาย ยืนยันว่าเจ้าของเป็นไผ
ออนซอนน้่าใจเจ้าของเสียงแคน” เป็นการใช้คาอีสานสื่ออารมณ์ชื่นชมยกย่องและขอบคุณคนที่กาลังเป่าแคน
๑.๓ การใช้สานวน คาว่า “เสียงแคนจากแมนชั่น” ชื่อเพลงนี้เหมือนบทกวี เป็นการนาสัญลักษณ์มา
เป็นกลวิธีสื่อสารทางวรรณศิลป์ที่แสดงความรู้สึกนึกคิดของผู้ฟัง “เสียงแคนจากแมนชั่น” เพียงชื่อก็บอกเรื่อง
เล่าระหว่าแคนกับแมนชั่น(mansion) แคนคือชนบทคืออีสาน ส่วนแมนชั่น(mansion)คือเมืองหลวง สองสิ่งนี้
เหมือนขัดแย้ง แต่กลับกลมกลืนกันโดยเฉพาะโลกสมัยใหม่ที่เคลื่อนเปลี่ยนชนบทกับเมืองให้คละเคล้ากัน
สานวนเมื่อฟังแล้วจึงแปลกหู กระตุ้นให้ผู้รับคานึงถึงความหมายอีกชั้นหนึ่ง การใช้คาสื่ออารมณ์ คาแต่ละคาที่
ผู้ประพันธ์ร้อยเรียงเป็นบทเพลงลูกทุ่ง เมื่อเปล่งออกมาจะให้ความรู้สึกถึงอารมณ์ในห้วงต่างๆ ได้อย่างชัดเจน
นาเสียงทาให้เกิดสุนทรียรสทางด้านภาษาและความคิด ซึ่งเกิดจากการใช้คาต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม อันจะ
ก่อให้เกิดอารมณ์ต่างๆ แก่ผู้ฟัง การใช้คาสื่ออารมณ์ เกศราพร พรหมนิมิตกุล3 ได้แบ่งออกเป็น 8 ลักษณะ
ดังนี้
1.4.1 คาสื่ออารมณ์โศกเศร้า เสียใจ น้อยใจ การใช้คาที่แสดงถึงความโศกเศร้า เสียใจ เหงา ว้าเหว่
ผิดหวัง ส่วนใหญ่มักเกิดจาก ความรักที่ผิดหวังเป็นต้นเหตุ
1.4.2 คาสื่ออารมณ์โกรธแค้น ขุ่นเคือง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับระดับของโทสะ ความรุนแรงของความโกรธ
1.4.3 คาสื่ออารมณ์ประชดประชัน เสียดสี เยาะเย้ย อารมณ์ประชดประชันเป็นอารมณ์สืบเนื่องจาก
อารมณ์โกรธ แต่เมื่อความโกรธบรรเทาลง จึงกลายเป็นการเสียดสี เหน็บแนม
1.4.4 คาสื่ออารมณ์รัก สุข สดชื่น การใช้คาแสดงอารมณ์รัก สุข สดชื่น จะมีกลิ่นอายของความ
อบอุ่น อ่อนหวาน ห่วงใย ทาให้ผู้ฟังรู้สึกเคลิบเคลิ้มไปกับเนื้อหาของบทเพลง
1.4.5 คาสื่ออารมณ์ขบขัน สนุกสนาน คาที่สื่ออารมณ์ขบขัน สนุกสนาน ปรากฏให้เห็นเป็นรูปธรรม
โดยสามารถจินตนาการถึงท่วงท่ากิริยาอาการได้ ทาให้ได้รับความสนุก ขบขันไปกับพฤติกรรม
1.4.6 คาสื่ออารมณ์เสียดายอาลัยอาวรณ์ การใช้คาแสดงความอาลัยอาวรณ์ต่อคนรักที่ห่างกันไกล
มักจะมีถ้อยคาที่สื่อถึงความห่วงหาอาลัยในความรักที่เคยมีต่อกัน
1.4.7 คาสื่ออารมณ์ การชื่นชมยกย่องสรรเสริญมีทั้งการสรรเสริญคนรัก ครอบครัว บุพการี มีการสื่อ
อารมณ์ยกย่องสรรเสริญครู
1.4.8 คาสื่ออารมณ์สงสาร เห็นใจ มักเป็นคาที่แสดงความถ่อมตน ขอร้องวิงวอน ให้เห็นใจ
๒. อิทธิพลสังคมต่อเพลงลูกทุ่ง
๒.๑ อิทธิพลที่มีในเพลง เมื่อสังคมนิยมฟังเพลงลูกทุ่งมากขึ้น จึงมีการผสมผสานระหว่างเพลงลุกทุ่ง
กับสังคมแต่ละพื้นที่ จึงทาให้มีแนวเพลงออกมาแปลกใหม่และหลากหลาย เช่น เพลงลุกทุ่งหมอลา ลุกทุ่ง
อีสาน ลูกทุ่งใต้ ลูกทุ่งแนวสตริง ฯลฯ เป็นต้น และในขณะเดียวกันเพลงเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่สาคัญ
ประเภทหนึ่งที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้นโดยได้ประมวลเหตุการณ์ความประทับใจ ถ่ายทอดออกมาด้วยภาษาที่
ไพเราะ ปลุกเร้าอารมณ์ของผู้ฟังให้เกิดความซาบซึ้ง สะเทือนใจไปตามบทเพลง ทั้งยามรัก ยามโศก ยามคิดถึง
ยินดี ยกย่อง กล้าหาญ ข่มขวัญ หรือปลุกปลอบใจให้มีความสนุกสนาน รื่นเริง ตลอดจนเป็นการแสดงออกทาง
วัฒนธรรมและนิสัยใจคอของคนในชาติ4
บทเพลงหลายๆ เพลงที่แต่งขึ้น โวหารที่ใช้กล่าวถึงเรื่องราว สถานที่ บุคคล สิ่งของ หรืออารมณ์อย่าง
ละเอียด และอาจแทรกความรู้สึกของผู้เขียนลงไปด้วย เพื่อให้ผู้อ่านเกิดจินตภาพหรือเกิดอารมณ์คล้อยตาม
ด้วยอิทธิพลของสังคม เพลงจึงมีหลายนัย คือมีทั้งนัยตรงที่ต้องการสื่อสารแบบตรงๆตามเนื้อหา และมีหลาย
3 ความงามของภาษาในเพลงลูกทุ่ง : กรณีศึกษาเพลงฮิตติดชาร์ตลูกทุ่งมหานคร Beauty of Language in
Country Songs : Case Study of Songs Hitting the Luktung Mahanakorn Charges
4นางสาวเพิ่มพร ธนสีลังกูร, วิเคราะห์วรรณกรรมเพลงของสลา คุณวุฒิ, ปริญญามหาบัณฑิตมหาวิทยาลัย
มหาสารคาม, ๒๕๔๔, หน้า ๑.
เพลงที่มีนัยแฝงเนื้อความเสียดสีหรือแต่งเพื่อปลุกเราอารมณ์ร่วมของการต่อต้าน เกลียดชัง เรียกร้อง ใส่ร้าย
ลามกฯลฯ นั้นก็เป็นเพราะอิทธิพลของสังคมที่มีในบทเพลง
แต่ถามว่านัยตรงนัยแฝงนี้มีสิ่งที่ดีบ้างหรือไม่ แน่นอนว่าสิ่งที่สร้างสรรค์ในทางที่ดีย่อมมีมากกว่าใน
ท่านที่ไม่สร้างสรรค์ เช่นในเพลง “เสียงแคนจากแมนชั่น”ที่ผู้แต่งได้สร้างสรรค์ขึ้นหยิบยกเอาคาว่า “แน่น
เหนียวคือปั้นข้าว” โดยใช้อุปมาโวหาร คือ การแสดงการเปรียบเทียบ สิ่งที่นามาเปรียบเทียบอาจเป็นสิ่งต่างๆ
ที่อธิบายให้เข้าใจได้ยากจึงนาเอาสิ่งที่ผู้ฟังเห็นว่าง่ายมาเปรียบเทียบ ดั่งนาคาว่าปั้นข้าวเหนียว มาบอกให้เห็น
ถึงความรักสามัคคีแน่นแฟ้นเหมือนข้าวเหนียวที่ติดกันแน่ นี้จึงเป็นอิทธิพลที่ผู้แต่งนาการอุปมามาใช้ในเพลงนี้
๒.๒ ค่านิยมสังคมไทย ค่านิยมที่ปรากฏในวรรณกรรมเพลงลูกทุ่งอีสาน พ.ศ. ๒๕๓๓-๒๕๓๙ พบว่า
ค่านิยมที่ปรากฏในวรรณกรรมเพลงลูกทุ่งอีสานได้แก่ค่านิยมเกี่ยวกับครอบครัว ด้วยการเลือกคู่ครองความ
กตัญญูต่อบุพพการี ค่านิยมด้านเศรษฐกิจ นิยมคนที่มีฐานะดี ร่ารวยมั่งคั่ง ชอบความฟุ่มเฟือย ค่านิยมที่
เกี่ยวกับประเพณี ยึดมั่นในขนบธรรมเนียมประเพณี ค่านิยมเกี่ยวกับศาสนายอมรับนับถือสิ่งเหนือธรรมชาติ
และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ค่านิยมด้านการศึกษา นิยมส่งบุตรหลานให้ได้รับการศึกษา ค่านิยมเกี่ยวกับที่อยู่อาศัยรักถิ่นที่
อยู่อาศัย ค่านิยมเกี่ยวกับสตรี นิยมสตรีที่มีความสวยงาม รักเดียวใจเดียว และเป็นแม่ศรีเรือน ค่านิยมเกี่ยวกับ
นันทนาการ นิยมพักผ่อนหย่อนใจ เที่ยวงานเทศกาลต่างๆ ค่านิยมเกี่ยวกับการเมืองการปกครอง นิยมยกย่อง
พระมหากษัตริย์5
ค่านิยมการฟังเพลงลูกทุ่งมีมากขึ้นเรื่อยๆ ทั้งเพลงลุกทุ่งและสตริงปัจจุบันไม่มีเส้นพรมแดนกีดกั้น จึง
ดึงดูดความสนใจของผู้ฟัง ซึ้งดูจากวัยรุ่นปัจจุบันชอบร้องเพลงลงตามโลกออนไลน์ ชอบนักร้องที่เป็นขวัญใจ ดู
จากคอนเสิร์ตตามงานแสดงที่มีคนไปชมเยอะ ไม่ว่าจะเป็นการแสดงคณะหมอลา วงสตริงตามผับบาร์ วงใหญ่ที่
จัดตามสถานที่หรูหรา ฯลฯ และค่าเลียนแบบนักร้อง ไม่ว่าจะเป็นน้าเสีย ลีลาทาทาง การแต่งกาย และ
พฤติกรรม ฯลฯ
๒.๓ เอกลักษณ์ ชนชาติไทยตั้งแต่ยุคสุโขทัยจนมาถึงปัจจุบัน เห็นได้ว่าชนชาติไทยเป็นชนชาติที่เจ้า
บทเจ้ากลอน ไม่ว่าเป็นตาราเรียนหรือวรรณคดีที่โด่งดัง ส่วนใหญ่จะแต่งหรือประพันธ์โดย บท กาพย์ กลอน
โคลง ฉันท์ ร่าย เป็นต้น ถึงยุคที่มีดนตรีก็เป็นที่นิยมชมชอบของผู้คน จึงเป็นหนึ่งเอกลักษณ์ที่คู่สังคมไทยตราบ
นานเท่านาน
๓. อิทธิพลของเพลงลุกทุ่งต่อสังคมไทย
กล่าวได้ว่าอิทธิพลของเพลงลูกทุ่งครอบคลุมทั่วไปหลายด้าน ในที่นี้ผู้วิเคราะห์ขอแบ่งออกเป็น ด้าน
คือ
๑. ด้านธุรกิจ
ทาค่ายเพลงสร้างศิลปินและลงทุนเรื่องการจัดแสดงหรือขายผลงาน มากมายรวมถึงการปรับจ่าย
ค่าลิขสิทธิ์เพลง
ช่องรายการเพลงลูกทุ่ง เช่น ช่องไทยไชโย, FAN TV, สบายดีทีวี, Topline TV, OK TV,
ลูกทุ่งทีวีพูล, ไทยไชโย, เวทีไทย ฯลฯ เป็นต้น
รายการเพลงลูกทุ่ง เช่น ตามติดชีวิตลูกทุ่ง. ช่องไทยรัฐทีวี, คว้าไมค์คว้าแชมป์, เวทีแจ้งเกิด,
ชุมทางเสียงทอง, ออนซอนลูกทุ่ง, ชิงช้าสวรรค์ไมค์ทองคา, มาสเตอร์คีย์,
๒. ด้านอาชีพ
เพลงลูกทุ่งในยุคปัจจุบันกลายเป็นอาชีพของคนที่ใฝ่ฝันจะเป็นนักร้อง ทาให้เป็นไปได้ง่ายขึ้นกว่ายุค
ก่อน อาชีพนักร้องลูกทุ่งจึงทาให้เกิดกลุ่มอาชีพตามมาคือ อาชีพนักดนตรี นักแต่งเพลง นักเรียบเรียงคาร้อง
5 สุรพงษ์ สังฆมณี, ศึกษาค่านิยมที่ปรากฏในวรรณกรรมเพลงลูกทุ่งอีสาน พ.ศ. ๒๕๓๓ -๒๕๓๙, ปริญญา
นิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, (มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒน์มหาสารคาม๒๕๔๑), หน้า ๑๓๒.
ทานอง ห้องบันทึกเสียง ร่วมไปถึงการทาค่ายเพลง จัดทาแผ่นขาย หรือจัดการแสดง ยุคนี้จึงเป็นยุคสะดวกต่อ
คนทาเพลงเป็นอย่างยิ่ง เนื่องด้วยมีช่องทางในการโปรโมทเยอะมากกว่ายุคก่อน เช่น สถานีวิทยุ โทรทัศน์
อินเตอร์เน็ต you tube facebook และอินเตอร์เน็ตอีกมากมาย ทาให้พรมแดนแห่งการปิดกั้นถูกทาลาย
ศิลปินบางท่านอาจะไม่ได้สังกัดอยู่ค่ายใหญ่ ไม่มีผู้ให้ทุนสนับ แต่กลับดังในชั่วข้ามคืนก็มีดั่งเช่น ก้อง ห้วยไร่ ที่
ชอบแต่งร้องเพลงดีดกีตาร์ถ่ายวีดีโอ ลงโลกออนไลน์ทาให้มีคนนิยมฟังและติดตามผลงาน จนเขาได้มีโอกาสทา
เพลงแรกที่เป็นเพลงสมบูรณ์ทั้งคาร้องดนตรีและมิวสิกวีดีโอโดยไม่มีสังกัด หลังจากอัปเพลงไสว่าสิบ่ถิมกัน ลง
you tube แค่ ๒ เดือนก็มีผู้เข้าชมเพลงมากถึง 13,๕50,223 ครั้ง (views) 6 และออกข่าวบันเทิงทาง
หนังสือพิมพ์และทีวี เป็นการแจ้งเกิดอาชีพนักร้องในวงการอีกคนหนึ่ง และอีกนักร้องน้องใหม่ของค่ายยักษ์
ใหญ่ หญิงลี ศรีจุมพล ชุดที่ ๑ ที่โด่งดังคือเพลงขอใจเธอแลกเบอร์โทร เป็นเพลงลูกทุ่งที่มียอดคนเข้าชมใน
you tube เยอะที่สุดในประเทศไทยจานวน 161,๕35,452 ครั้ง (views)7 ร่วมถึงเพลงสตริงที่นาลูกทุ่งไป
ร้องผสมผสานด้วย ทาให้แนวเพลงออกมาแปลกและเข้ากันได้อย่างไพเราะลงตัว เช่น เพลงภูมิแพ้กรุงเทพ ของ
ป้าง นครินทร์ นานักร้องลูกทุ่งอย่าง ตั๊กแตน ชลดา มาร้องร่วมด้วย มีผู้เข้าชมเพลงมากถึง 109,๒01,498
ครั้ง (views) 8
you tube, facebook, อินเตอร์เน็ต จึงเป็นอีกหนึ่งช่องทางในการสร้างสรรค์ผลงานเพลงลูกทุ่งของ
นักร้องทั้งสังกัดใหญ่และไร้สังกัดจานวนไม่น้อย ได้มีโอกาสแสดงความสามารถ จึงเป็นหนึ่งบ่อเกิดแห่งอาชีพ
๓. ด้านศิลป์
คุณค่าทางศิลปะในเพลงลูกทุ่งนั้น คงไม่อาจประจักษ์ได้โดยปราศจากความเข้าใจบทบาท
ของภาษาที่เลือกเฟ้นมาเพื่อมุ่งผลของการสื่อสารไม่ต่างจากบทกวีโดยทั่วไป เมื่อคานึงถึงกลุ่มผู้รับสารซึ่งเป็น
ประชาชนในระดับล่างมากกว่ากลุ่มอื่น ผู้ประพันธ์เพลงมักเลือกถ้อยคาที่ใช้ในบทสนทนาของผู้คน และมีการ
ใช้ภาษาถิ่นเป็นส่วนประกอบบ้าง เพื่อสื่อความใกล้ชิดสนิทสนม เช่นในเนื้อหาที่มีการปรับทุกข์ตัดพ้อหรือขอ
ความเห็นใจ สาหรับผู้ศึกษาความรู้ภาษาในเชิงวัฒนธรรมและความสานึกในประสบการณ์ร่วมก็เป็นสิ่งสาคัญ
ในส่วนของผู้แต่งนั้น ผู้ประพันธ์เพลงลูกทุ่งในยุคก่อนได้รับความสนใจและการยกย่องน้อย
กว่าผู้ขับร้อง ความสนใจของคนทั่วไปต่อผู้ประพันธ์เพลงเท่าที่มีมา มักเกิดขึ้นเมื่อเป็นผู้ขับร้องด้วย ใน
ปัจจุบันไม่ว่าผู้ประพันธ์เพลงจะเป็นที่รู้จักโดยกว้างขวางหรือไม่ ความสนใจเพลงลูกทุ่งอย่างกว้างขวางก็เป็น
เหตุให้มีการส่งเสริมเพลงประเภทนี้ ดังจะเห็นการจัดกิจกรรมในหลายลักษณะที่เกี่ยวกับเพลงลูกทุ่ง เช่น การ
ประกวดร้องเพลงลูกทุ่ง การให้รางวัลนักร้องดีเด่น เพลงลูกทุ่งดีเด่น เพลงลูกทุ่งยอดนิยม ฯลฯ เห็นได้ว่า
ชื่อเสียงของผู้ประพันธ์เพลงในยุคนี้เป็นผลสืบเนื่องมาจากกิจกรรมดังกล่าว โดยเฉพาะเมื่อมีการประกาศเชิดชู
เกียรติผลงานเพลงต่อสาธารณชน บทบาทของผู้ประพันธ์จึงเผยแพร่ออกไปสู่สาธารณชน
๓.๑ การให้ความสนุกสนาน
การสื่อสารเนื้อหาทางอารมณ์ ผู้ประพันธ์เพลงสามารถสรรคามาใช้อย่างโดดเด่นเพื่อสื่อ
ความหมายอันบ่งบอกความละเอียดอ่อนทางอารมณ์ เพลงลูกทุ่งจึงมีหลายแบบ ความสนุกของเพลงจึงขึ้นอยู่
กับผู้ฟังว่าชอบเพลงแนวไหน ผู้ประพันธ์และผู้ร้องจึงมีการเล่นเสียงและการเล่นคา การใช้คาระดับภาษาปาก
การใช้คาภาษาถิ่นอีสาน
6
(ข้อมูลเมือวันที ๖ กันยายน ๒๕๕๘)
7
(ข้อมูลเมือวันที ๖ กันยายน ๒๕๕๘)
8
(ข้อมูลเมือวันที ๖ กันยายน ๒๕๕๘)
๓.๒ การสื่อความเข้าใจ
เนื้อหาที่ปลุกเร้าความคิดและอารมณ์ของคนฟัง ผู้ประพันธุ์จัดวางและนาเสนอในกรอบของ
บทเพลง ด้วยการนาคาเด่น ๆ มาใช้กับอีกบริบทหนึ่ง และการจัดองค์ประกอบของความหมาย เพื่อย้า
ความสาคัญของเนื้อหาเพลงให้สื่อทั้งความหวัง ความสูญเสีย คิดถึง และการยืนหยัดต่อสู้เป็นต้น เช่นวรรคหนึ่ง
ในเพลงเสียงแคนจากแมนชั่น ร้องว่า นับแต่ความจน พาดิ้นรนเป็นคนไกลถิน ความทุกข์บีบให้ต้องดิ้น ยาก
งานบ่เซาแต่เช้าฮอดค่า มาไกลหลายปีติดต่ออยู่ กทม. บ่ได้ฟังล่าคืนนี้เหมือนแคนไถ่ถาม ว่าลืมทางเมือบ้าน
แล้วไป่ ท่อนนี้ต้องการบอกเล่าความรู้สึก เหตุต้องจากบ้านมาทางานในเมืองใหญ่หลายปี และยังหวนคิดถึง
บ้านเกิดเมื่อได้ยินเสียงแคนที่ดังลอยล่องตามสายลม เหมือนว่าตนเองได้ฟังอยู่บ้านเกิดตนเอง นอกจากนี้ยังใช้
ความเปรียบและสัญลักษณ์ที่สร้างจากรากฐานความเป็นคนชนบท ที่มีความใกล้ชิดธรรมชาติในวัฒนธรรม
ท้องถิ่นกระตุ้นความคิดได้อย่างลุ่มลึก
๓.๓ การเป็นแบบอย่าง
หลายบทเพลงลูกทุ่งที่เป็นเสมือนแบบอย่าง ให้กาลังใจหรือบอกเล่าประสบการณ์กลั่นเป็น
เนื้อเพลงให้ความบันเทิงความเจริญใจ เสียงแคนจากแมนชั่น วีระ สุดสังข์ นักวรรณกรรมแนวหน้าของภาค
อีสานได้กลั่นจากกวีเป็นถ่ายทอดเป็นเพลงลูกทุ่ง โดยไหมไทย ใจตะวัน จึงเป็นความลงตัวที่ไพเราะสวยงานทั้ง
ด้านเนื้อหาและทานอง เป็นแบบอย่างให้นักกวีนักประพันธ์และผู้ฟังได้ทราบซึ้งถึงบทเพลงอันมีคุณค่านี้
เพลงลูกทุ่งเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ ที่มนุษย์ทุกหมู่เหล่าควรรับฟัง ดังเช่นพระราชนิพนธ์แปล ใน
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ (จากต้นฉบับของ วิลเลี่ยม เช็กเปียร์) ว่า
“ชนใดไม่มีดนตรีกาล ในสันดานเป็นคนชอบกลนัก
อีกใครฟังดนตรีไม่เห็นเพราะ เขานั้นเหมาะคิดกบฎอัปลักษณ์
ฤๅอุบายเล่ห์ร้ายขมังนัก มโนหนักมืดมัวเหมือนราตรี
อีกดวงใจย่อมด่าสกปรก ราวนรกเช่นกล่าวมานี
ไม่ควรใครไว้ใจในโลกนี้ เจ้าจงฟังดนตรีเถิดชืนใจ”

More Related Content

What's hot

บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีBlackrab Chiba
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อKruthai Kidsdee
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3teerachon
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfบทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfakke1881
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธาSantichon Islamic School
 
บันทึกข้อความขออนุญาตประชุมสามัญสภานักเรียนครั้งที่ 1/2560
บันทึกข้อความขออนุญาตประชุมสามัญสภานักเรียนครั้งที่ 1/2560บันทึกข้อความขออนุญาตประชุมสามัญสภานักเรียนครั้งที่ 1/2560
บันทึกข้อความขออนุญาตประชุมสามัญสภานักเรียนครั้งที่ 1/2560สภานักเรียน ส.ป. samutprakanstudentcouncil
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงBoomCNC
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์srkschool
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มGuntima NaLove
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)sudoooooo
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
แผนการจัดกิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์
แผนการจัดกิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์แผนการจัดกิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์
แผนการจัดกิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์Wichai Likitponrak
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 

What's hot (20)

บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
ใบ000
ใบ000ใบ000
ใบ000
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfบทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
 
บันทึกข้อความขออนุญาตประชุมสามัญสภานักเรียนครั้งที่ 1/2560
บันทึกข้อความขออนุญาตประชุมสามัญสภานักเรียนครั้งที่ 1/2560บันทึกข้อความขออนุญาตประชุมสามัญสภานักเรียนครั้งที่ 1/2560
บันทึกข้อความขออนุญาตประชุมสามัญสภานักเรียนครั้งที่ 1/2560
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
 
แผนการจัดกิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์
แผนการจัดกิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์แผนการจัดกิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์
แผนการจัดกิจกรรมผู้บำเพ็ญประโยชน์
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 

Similar to บทความ วิเคราะห์ เพลง

ความหมายของเพลงกล่อมลูก
ความหมายของเพลงกล่อมลูกความหมายของเพลงกล่อมลูก
ความหมายของเพลงกล่อมลูกThassanee Buasri
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนพัน พัน
 
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55Yatphirun Phuangsuwan
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วงแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วงอภิชิต กลีบม่วง
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9  สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9 khomkrit2511
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8  สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8 khomkrit2511
 
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55อำนาจ ศรีทิม
 
บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ
บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ
บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ Sasithon AnnAnn
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2bmbeam
 
บทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีบทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีpeter dontoom
 
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลวิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลอำนาจ ศรีทิม
 
01+hisp3+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ความเป็นไทย
01+hisp3+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ความเป็นไทย01+hisp3+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ความเป็นไทย
01+hisp3+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ความเป็นไทยPrachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ความเป็นไทย+545+dltvp3+54history p123 plan-0300
แผนการจัดการเรียนรู้ ความเป็นไทย+545+dltvp3+54history p123 plan-0300แผนการจัดการเรียนรู้ ความเป็นไทย+545+dltvp3+54history p123 plan-0300
แผนการจัดการเรียนรู้ ความเป็นไทย+545+dltvp3+54history p123 plan-0300Prachoom Rangkasikorn
 
ความเป็นไทย+545+54history p123 plan-0300
ความเป็นไทย+545+54history p123 plan-0300ความเป็นไทย+545+54history p123 plan-0300
ความเป็นไทย+545+54history p123 plan-0300Prachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู่้เรื่อง ความเป็นไทย+528+dltvhisp2+54history p123 plan-0300
แผนการจัดการเรียนรู่้เรื่อง ความเป็นไทย+528+dltvhisp2+54history p123 plan-0300แผนการจัดการเรียนรู่้เรื่อง ความเป็นไทย+528+dltvhisp2+54history p123 plan-0300
แผนการจัดการเรียนรู่้เรื่อง ความเป็นไทย+528+dltvhisp2+54history p123 plan-0300Prachoom Rangkasikorn
 

Similar to บทความ วิเคราะห์ เพลง (20)

ความหมายของเพลงกล่อมลูก
ความหมายของเพลงกล่อมลูกความหมายของเพลงกล่อมลูก
ความหมายของเพลงกล่อมลูก
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วงแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9  สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
 
สรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติวสรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติว
 
Elements
ElementsElements
Elements
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8  สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
 
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
 
บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ
บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ
บทความการใช้กิจกรรมประกอบจังหวะประกอบการสอนภาษาอังกฤษ
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2
 
Music drama
Music dramaMusic drama
Music drama
 
หน้า 1
หน้า 1หน้า 1
หน้า 1
 
บทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีบทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรี
 
Tha203 2
Tha203 2Tha203 2
Tha203 2
 
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลวิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
 
01+hisp3+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ความเป็นไทย
01+hisp3+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ความเป็นไทย01+hisp3+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ความเป็นไทย
01+hisp3+dltv54+แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง ความเป็นไทย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ความเป็นไทย+545+dltvp3+54history p123 plan-0300
แผนการจัดการเรียนรู้ ความเป็นไทย+545+dltvp3+54history p123 plan-0300แผนการจัดการเรียนรู้ ความเป็นไทย+545+dltvp3+54history p123 plan-0300
แผนการจัดการเรียนรู้ ความเป็นไทย+545+dltvp3+54history p123 plan-0300
 
ความเป็นไทย+545+54history p123 plan-0300
ความเป็นไทย+545+54history p123 plan-0300ความเป็นไทย+545+54history p123 plan-0300
ความเป็นไทย+545+54history p123 plan-0300
 
แผนการจัดการเรียนรู่้เรื่อง ความเป็นไทย+528+dltvhisp2+54history p123 plan-0300
แผนการจัดการเรียนรู่้เรื่อง ความเป็นไทย+528+dltvhisp2+54history p123 plan-0300แผนการจัดการเรียนรู่้เรื่อง ความเป็นไทย+528+dltvhisp2+54history p123 plan-0300
แผนการจัดการเรียนรู่้เรื่อง ความเป็นไทย+528+dltvhisp2+54history p123 plan-0300
 

บทความ วิเคราะห์ เพลง

  • 1. วิเคราะห์เพลง เสียงแคนจากแมนชั่น เสนอ อาจารย์ประจง ประสารฉ่า1 โดย พระมหานิรันดร์ ปญฺญาวุฑฺโฒ2 บทนา เพลงลูกทุ่งมีความสัมพันธ์กับคนไทยตั้งแต่อดีตจวบจนปัจจุบันและเป็นที่นิยมอย่างมากในกลุ่ม คน ไทยในชนบท เนื้อหาของเพลงลูกทุ่งมักจะสะท้อนถึงสภาพสังคมและวิถีชีวิตความเป็นอยู่ รวมทั้งวัฒนธรรม ไทย ดังนั้นจึงอาจกล่าวได้ว่าเพลงลูกทุ่งเป็นสมบัติทางวัฒนธรรมที่สาคัญของชาติไทย ความโดดเด่นของเพลงลูกทุ่งนอกจากจะเป็นการสะท้อนสภาพชีวิต ความเป็นอยู่ของคนในสังคมแล้ว สิ่งที่สาคัญอีกประการหนึ่งคือภาษา ภาษาในเพลงลูกทุ่งเป็นภาษาเรียบง่ายตรงไปตรงมา ไม่สลับซับซ้อน มี ลักษณะเดียวกับเพลงพื้นบ้าน ดังที่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (2534 : 24) มีพระ ราชดารัสไว้ว่า ...เนื้อเพลงลูกทุ่งมักจะสะท้อนภาพชีวิตจริงของคน ปรากฏการณ์ทาง ธรรมชาติ การเกิดสงคราม ปัญหาเศรษฐกิจและการเมืองได้เป็นอย่างดี ใช้ภาษา ทีเรียบง่าย เข้าใจและจ่าง่าย ฟังแล้วไม่ต้องแปลความหมาย เหนือไปกว่านั้น เพลงลูกทุ่งยังสรรหาค่าทีกระทบกระเทียบเปรียบเปรย มีส่านวนกระแนะกระ แหนเจ็บๆ คันๆ มาเสนอได้หลายรูปแบบ เรียกได้ว่าเข้าถึงใจคนฟังได้ในเวลา อันรวดเร็ว คุณสมบัติในข้อทีว่าบันทึกเหตุการณ์ได้ดีนี้เอง เป็นคุณสมบัติพิเศษ ทีเพลงชนิดอืนท่าได้ไม่ดี และมีความหลากหลายเท่าเทียมกับเพลงลูกทุ่ง... ปัจจุบันเพลงลูกทุ่งได้รับกระแสความนิยมมากขึ้น ไม่เพียงแต่ได้รับความนิยมในต่างจังหวัดเท่านั้น แต่ ยังครอบคลุมไปถึงผู้คนในเมืองทุกระดับทุกชนชั้น เห็นได้จากการใช้เครื่องสื่อสารหลาย ๆ อย่าง เช่น คลื่นวิทยุ โทรทัศน์ อินเตอร์เน็ต youtube facebook และโลกออนไลน์อีกมากมาย จึงทาให้ประชาชนจานวนมากทั้งใน กรุงเทพมหานครและต่างจังหวัด ได้รับรู้และรับฟังเพลงลูกทุ่งอย่างทั่วถึงและบางเพลงก็โด่งดังในชั่วข้ามคืน ๑ อาจารย์ประจาหลักสูตรสาขาวิชาการสอนภาษาไทย มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย (วศ.ก.) ๒นักศึกษาปีที่ ๔ คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาการสอนภาษาไทยมหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย (วศ.ก.)
  • 2. การวิเคราะห์เพลงลูกทุ่งนี้ ผู้วิเคราะห์ได้นาบทเพลงมาใช้ในการวิเคราะห์ ๑ เพลงคือ เพลง : เสียงแคนจากแมนชั่น ศิลปิน : ไหมไทย ใจตะวัน อัลบั้ม : ชุดที่ 2 นักสู้หัวใจเซิ้ง คาร้อง/ทานอง : วีระ สุดสังข์ เรียบเรียง : ธีระพงษ์ ศักดิ์แก้ว เพลงนี้ได้รางวัลคมชัดลึก อวอร์ด ครั้งที่ 6 ประจาปี พ.ศ. 2551 จานวน ๓ รางวัลได้แก่ ๑. รางวัลนักร้องชายยอดเยี่ยม, ๒. รางวัลคาร้องยอดเยี่ยม, ๓. รางวัลเพลงยอดเยี่ยม เนื้อร้อง ได้ยินเสียงแคน ดังลอยแล่นมาจากแมนชัน ไผน้อพักอยู่หม่องนัน คนไกลบ้านคือเฮาบ่น้อ ท่านองลายล่องลายเศร้า ฟังแล้วเหงาคึดฮอดแม่พ่อ สะกิดใจให้คึดพ้อ หลายสิงทีรออยู่ในความจ่า นับแต่ความจน พาดิ้นรนเป็นคนไกลถิน ความทุกข์บีบให้ต้องดิ้น ยากงานบ่เซาแต่เช้าฮอดค่า มาไกลหลายปีติดต่ออยู่ กทม. บ่ได้ฟังล่า คืนนี้เหมือนแคนไถ่ถาม ว่าลืมทางเมือบ้านแล้วไป่ แม่นผู้ใด๋เป็นคนเป่าแคนกะส่าง แต่คนหลอยฟัง มันช่างมีแฮงใจหลาย คนอยู่แมนชันยังเป่าแคนหวานซ้่าบ่ย่านอาย ยืนยันว่าเจ้าของเป็นไผ ออนซอนน้่าใจเจ้าของเสียงแคน ลายสุดสะแนน เสียงแคนแล่นจากแมนชัน หล่อเลี้ยงคนเหงาไกลบ้าน สู้เพือฝันบนทางยากแสน ให้แน่นเหนียวคือปั้นข้าว คนบ้านเฮาฮักกันมันแก่น เป่าอีกแนเด้อหมอแคน ช่วยเป็นตัวแทนกล่อมใจไกลบ้าน.... ๑. เพลงลูกทุ่งกับการใช้ภาษา ๑.๑ การใช้ภาษา ในการแต่งเพลงนี้ผู้แต่งมีการใช้ภาษาถิ่นอีสานประสมกับภาษาไทยภาคกลางโดย ทานองการร้องมีการสลับจังหวะสาเนียงร้องไทยบ้างอีสานบ้าง ดั่งบทขึ้นต้นเพลงที่เป็นภาษากลางร้องว่า “ได้ ยินเสียงแคน ดังลอยแล่นมาจากแมนชัน” และวรรคต่อมาร้องเป็นส่าเนียงอีสาน “ไผน้อพักอยู่หม่องนัน คน ไกลบ้านคือเฮาบ่น้อ” โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้ผู้ฟังได้อรรถรสในการขับขานบอกเล่าเรื่องราวเนื้อหาอันเกี่ยวกับ คนอีสานที่ร่อนแรมจากถิ่นเดิมเข้าสู่เมืองใหญ่ ดิ้นร้นต่อสู้หวังเพื่อให้หลุดพ้นจากความทุกข์อยาก เมื่อได้ฟัง เพลงสาเนียงอีสาน ฟังแล้วเข้าใจง่ายและรู้สึกอบอุ่นเหมือนดั่งอยู่บ้านตน ๑.๒ การใช้คา การเลือกใช้คาในเพลงนี้ส่วนใหญ่เป็นคาเรียบง่าย มักไม่ค่อยมีคาศัพท์ยากนัก ทั้งนี้ใน เพลงนี้ที่เป็นเพลงลูกทุ่งเฉพาะถิ่นมักมีการสอดแทรกภาษาท้องถิ่นไว้ด้วย ลักษณะดังกล่าวนี้จะช่วยให้ผู้ฟัง ได้รับอรรถรสในการฟังอย่างเต็มที่ ดั่งท่อน Hook (ฮุค) ของเพลงนี้ร้องว่า “แม่นผู้ใด๋เป็นคนเป่าแคนกะส่าง แต่คนหลอยฟัง มันช่างมีแฮงใจหลาย คนอยู่แมนชันยังเป่าแคนหวานซ้่าบ่ย่านอาย ยืนยันว่าเจ้าของเป็นไผ ออนซอนน้่าใจเจ้าของเสียงแคน” เป็นการใช้คาอีสานสื่ออารมณ์ชื่นชมยกย่องและขอบคุณคนที่กาลังเป่าแคน
  • 3. ๑.๓ การใช้สานวน คาว่า “เสียงแคนจากแมนชั่น” ชื่อเพลงนี้เหมือนบทกวี เป็นการนาสัญลักษณ์มา เป็นกลวิธีสื่อสารทางวรรณศิลป์ที่แสดงความรู้สึกนึกคิดของผู้ฟัง “เสียงแคนจากแมนชั่น” เพียงชื่อก็บอกเรื่อง เล่าระหว่าแคนกับแมนชั่น(mansion) แคนคือชนบทคืออีสาน ส่วนแมนชั่น(mansion)คือเมืองหลวง สองสิ่งนี้ เหมือนขัดแย้ง แต่กลับกลมกลืนกันโดยเฉพาะโลกสมัยใหม่ที่เคลื่อนเปลี่ยนชนบทกับเมืองให้คละเคล้ากัน สานวนเมื่อฟังแล้วจึงแปลกหู กระตุ้นให้ผู้รับคานึงถึงความหมายอีกชั้นหนึ่ง การใช้คาสื่ออารมณ์ คาแต่ละคาที่ ผู้ประพันธ์ร้อยเรียงเป็นบทเพลงลูกทุ่ง เมื่อเปล่งออกมาจะให้ความรู้สึกถึงอารมณ์ในห้วงต่างๆ ได้อย่างชัดเจน นาเสียงทาให้เกิดสุนทรียรสทางด้านภาษาและความคิด ซึ่งเกิดจากการใช้คาต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม อันจะ ก่อให้เกิดอารมณ์ต่างๆ แก่ผู้ฟัง การใช้คาสื่ออารมณ์ เกศราพร พรหมนิมิตกุล3 ได้แบ่งออกเป็น 8 ลักษณะ ดังนี้ 1.4.1 คาสื่ออารมณ์โศกเศร้า เสียใจ น้อยใจ การใช้คาที่แสดงถึงความโศกเศร้า เสียใจ เหงา ว้าเหว่ ผิดหวัง ส่วนใหญ่มักเกิดจาก ความรักที่ผิดหวังเป็นต้นเหตุ 1.4.2 คาสื่ออารมณ์โกรธแค้น ขุ่นเคือง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับระดับของโทสะ ความรุนแรงของความโกรธ 1.4.3 คาสื่ออารมณ์ประชดประชัน เสียดสี เยาะเย้ย อารมณ์ประชดประชันเป็นอารมณ์สืบเนื่องจาก อารมณ์โกรธ แต่เมื่อความโกรธบรรเทาลง จึงกลายเป็นการเสียดสี เหน็บแนม 1.4.4 คาสื่ออารมณ์รัก สุข สดชื่น การใช้คาแสดงอารมณ์รัก สุข สดชื่น จะมีกลิ่นอายของความ อบอุ่น อ่อนหวาน ห่วงใย ทาให้ผู้ฟังรู้สึกเคลิบเคลิ้มไปกับเนื้อหาของบทเพลง 1.4.5 คาสื่ออารมณ์ขบขัน สนุกสนาน คาที่สื่ออารมณ์ขบขัน สนุกสนาน ปรากฏให้เห็นเป็นรูปธรรม โดยสามารถจินตนาการถึงท่วงท่ากิริยาอาการได้ ทาให้ได้รับความสนุก ขบขันไปกับพฤติกรรม 1.4.6 คาสื่ออารมณ์เสียดายอาลัยอาวรณ์ การใช้คาแสดงความอาลัยอาวรณ์ต่อคนรักที่ห่างกันไกล มักจะมีถ้อยคาที่สื่อถึงความห่วงหาอาลัยในความรักที่เคยมีต่อกัน 1.4.7 คาสื่ออารมณ์ การชื่นชมยกย่องสรรเสริญมีทั้งการสรรเสริญคนรัก ครอบครัว บุพการี มีการสื่อ อารมณ์ยกย่องสรรเสริญครู 1.4.8 คาสื่ออารมณ์สงสาร เห็นใจ มักเป็นคาที่แสดงความถ่อมตน ขอร้องวิงวอน ให้เห็นใจ ๒. อิทธิพลสังคมต่อเพลงลูกทุ่ง ๒.๑ อิทธิพลที่มีในเพลง เมื่อสังคมนิยมฟังเพลงลูกทุ่งมากขึ้น จึงมีการผสมผสานระหว่างเพลงลุกทุ่ง กับสังคมแต่ละพื้นที่ จึงทาให้มีแนวเพลงออกมาแปลกใหม่และหลากหลาย เช่น เพลงลุกทุ่งหมอลา ลุกทุ่ง อีสาน ลูกทุ่งใต้ ลูกทุ่งแนวสตริง ฯลฯ เป็นต้น และในขณะเดียวกันเพลงเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่สาคัญ ประเภทหนึ่งที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้นโดยได้ประมวลเหตุการณ์ความประทับใจ ถ่ายทอดออกมาด้วยภาษาที่ ไพเราะ ปลุกเร้าอารมณ์ของผู้ฟังให้เกิดความซาบซึ้ง สะเทือนใจไปตามบทเพลง ทั้งยามรัก ยามโศก ยามคิดถึง ยินดี ยกย่อง กล้าหาญ ข่มขวัญ หรือปลุกปลอบใจให้มีความสนุกสนาน รื่นเริง ตลอดจนเป็นการแสดงออกทาง วัฒนธรรมและนิสัยใจคอของคนในชาติ4 บทเพลงหลายๆ เพลงที่แต่งขึ้น โวหารที่ใช้กล่าวถึงเรื่องราว สถานที่ บุคคล สิ่งของ หรืออารมณ์อย่าง ละเอียด และอาจแทรกความรู้สึกของผู้เขียนลงไปด้วย เพื่อให้ผู้อ่านเกิดจินตภาพหรือเกิดอารมณ์คล้อยตาม ด้วยอิทธิพลของสังคม เพลงจึงมีหลายนัย คือมีทั้งนัยตรงที่ต้องการสื่อสารแบบตรงๆตามเนื้อหา และมีหลาย 3 ความงามของภาษาในเพลงลูกทุ่ง : กรณีศึกษาเพลงฮิตติดชาร์ตลูกทุ่งมหานคร Beauty of Language in Country Songs : Case Study of Songs Hitting the Luktung Mahanakorn Charges 4นางสาวเพิ่มพร ธนสีลังกูร, วิเคราะห์วรรณกรรมเพลงของสลา คุณวุฒิ, ปริญญามหาบัณฑิตมหาวิทยาลัย มหาสารคาม, ๒๕๔๔, หน้า ๑.
  • 4. เพลงที่มีนัยแฝงเนื้อความเสียดสีหรือแต่งเพื่อปลุกเราอารมณ์ร่วมของการต่อต้าน เกลียดชัง เรียกร้อง ใส่ร้าย ลามกฯลฯ นั้นก็เป็นเพราะอิทธิพลของสังคมที่มีในบทเพลง แต่ถามว่านัยตรงนัยแฝงนี้มีสิ่งที่ดีบ้างหรือไม่ แน่นอนว่าสิ่งที่สร้างสรรค์ในทางที่ดีย่อมมีมากกว่าใน ท่านที่ไม่สร้างสรรค์ เช่นในเพลง “เสียงแคนจากแมนชั่น”ที่ผู้แต่งได้สร้างสรรค์ขึ้นหยิบยกเอาคาว่า “แน่น เหนียวคือปั้นข้าว” โดยใช้อุปมาโวหาร คือ การแสดงการเปรียบเทียบ สิ่งที่นามาเปรียบเทียบอาจเป็นสิ่งต่างๆ ที่อธิบายให้เข้าใจได้ยากจึงนาเอาสิ่งที่ผู้ฟังเห็นว่าง่ายมาเปรียบเทียบ ดั่งนาคาว่าปั้นข้าวเหนียว มาบอกให้เห็น ถึงความรักสามัคคีแน่นแฟ้นเหมือนข้าวเหนียวที่ติดกันแน่ นี้จึงเป็นอิทธิพลที่ผู้แต่งนาการอุปมามาใช้ในเพลงนี้ ๒.๒ ค่านิยมสังคมไทย ค่านิยมที่ปรากฏในวรรณกรรมเพลงลูกทุ่งอีสาน พ.ศ. ๒๕๓๓-๒๕๓๙ พบว่า ค่านิยมที่ปรากฏในวรรณกรรมเพลงลูกทุ่งอีสานได้แก่ค่านิยมเกี่ยวกับครอบครัว ด้วยการเลือกคู่ครองความ กตัญญูต่อบุพพการี ค่านิยมด้านเศรษฐกิจ นิยมคนที่มีฐานะดี ร่ารวยมั่งคั่ง ชอบความฟุ่มเฟือย ค่านิยมที่ เกี่ยวกับประเพณี ยึดมั่นในขนบธรรมเนียมประเพณี ค่านิยมเกี่ยวกับศาสนายอมรับนับถือสิ่งเหนือธรรมชาติ และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ค่านิยมด้านการศึกษา นิยมส่งบุตรหลานให้ได้รับการศึกษา ค่านิยมเกี่ยวกับที่อยู่อาศัยรักถิ่นที่ อยู่อาศัย ค่านิยมเกี่ยวกับสตรี นิยมสตรีที่มีความสวยงาม รักเดียวใจเดียว และเป็นแม่ศรีเรือน ค่านิยมเกี่ยวกับ นันทนาการ นิยมพักผ่อนหย่อนใจ เที่ยวงานเทศกาลต่างๆ ค่านิยมเกี่ยวกับการเมืองการปกครอง นิยมยกย่อง พระมหากษัตริย์5 ค่านิยมการฟังเพลงลูกทุ่งมีมากขึ้นเรื่อยๆ ทั้งเพลงลุกทุ่งและสตริงปัจจุบันไม่มีเส้นพรมแดนกีดกั้น จึง ดึงดูดความสนใจของผู้ฟัง ซึ้งดูจากวัยรุ่นปัจจุบันชอบร้องเพลงลงตามโลกออนไลน์ ชอบนักร้องที่เป็นขวัญใจ ดู จากคอนเสิร์ตตามงานแสดงที่มีคนไปชมเยอะ ไม่ว่าจะเป็นการแสดงคณะหมอลา วงสตริงตามผับบาร์ วงใหญ่ที่ จัดตามสถานที่หรูหรา ฯลฯ และค่าเลียนแบบนักร้อง ไม่ว่าจะเป็นน้าเสีย ลีลาทาทาง การแต่งกาย และ พฤติกรรม ฯลฯ ๒.๓ เอกลักษณ์ ชนชาติไทยตั้งแต่ยุคสุโขทัยจนมาถึงปัจจุบัน เห็นได้ว่าชนชาติไทยเป็นชนชาติที่เจ้า บทเจ้ากลอน ไม่ว่าเป็นตาราเรียนหรือวรรณคดีที่โด่งดัง ส่วนใหญ่จะแต่งหรือประพันธ์โดย บท กาพย์ กลอน โคลง ฉันท์ ร่าย เป็นต้น ถึงยุคที่มีดนตรีก็เป็นที่นิยมชมชอบของผู้คน จึงเป็นหนึ่งเอกลักษณ์ที่คู่สังคมไทยตราบ นานเท่านาน ๓. อิทธิพลของเพลงลุกทุ่งต่อสังคมไทย กล่าวได้ว่าอิทธิพลของเพลงลูกทุ่งครอบคลุมทั่วไปหลายด้าน ในที่นี้ผู้วิเคราะห์ขอแบ่งออกเป็น ด้าน คือ ๑. ด้านธุรกิจ ทาค่ายเพลงสร้างศิลปินและลงทุนเรื่องการจัดแสดงหรือขายผลงาน มากมายรวมถึงการปรับจ่าย ค่าลิขสิทธิ์เพลง ช่องรายการเพลงลูกทุ่ง เช่น ช่องไทยไชโย, FAN TV, สบายดีทีวี, Topline TV, OK TV, ลูกทุ่งทีวีพูล, ไทยไชโย, เวทีไทย ฯลฯ เป็นต้น รายการเพลงลูกทุ่ง เช่น ตามติดชีวิตลูกทุ่ง. ช่องไทยรัฐทีวี, คว้าไมค์คว้าแชมป์, เวทีแจ้งเกิด, ชุมทางเสียงทอง, ออนซอนลูกทุ่ง, ชิงช้าสวรรค์ไมค์ทองคา, มาสเตอร์คีย์, ๒. ด้านอาชีพ เพลงลูกทุ่งในยุคปัจจุบันกลายเป็นอาชีพของคนที่ใฝ่ฝันจะเป็นนักร้อง ทาให้เป็นไปได้ง่ายขึ้นกว่ายุค ก่อน อาชีพนักร้องลูกทุ่งจึงทาให้เกิดกลุ่มอาชีพตามมาคือ อาชีพนักดนตรี นักแต่งเพลง นักเรียบเรียงคาร้อง 5 สุรพงษ์ สังฆมณี, ศึกษาค่านิยมที่ปรากฏในวรรณกรรมเพลงลูกทุ่งอีสาน พ.ศ. ๒๕๓๓ -๒๕๓๙, ปริญญา นิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, (มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒน์มหาสารคาม๒๕๔๑), หน้า ๑๓๒.
  • 5. ทานอง ห้องบันทึกเสียง ร่วมไปถึงการทาค่ายเพลง จัดทาแผ่นขาย หรือจัดการแสดง ยุคนี้จึงเป็นยุคสะดวกต่อ คนทาเพลงเป็นอย่างยิ่ง เนื่องด้วยมีช่องทางในการโปรโมทเยอะมากกว่ายุคก่อน เช่น สถานีวิทยุ โทรทัศน์ อินเตอร์เน็ต you tube facebook และอินเตอร์เน็ตอีกมากมาย ทาให้พรมแดนแห่งการปิดกั้นถูกทาลาย ศิลปินบางท่านอาจะไม่ได้สังกัดอยู่ค่ายใหญ่ ไม่มีผู้ให้ทุนสนับ แต่กลับดังในชั่วข้ามคืนก็มีดั่งเช่น ก้อง ห้วยไร่ ที่ ชอบแต่งร้องเพลงดีดกีตาร์ถ่ายวีดีโอ ลงโลกออนไลน์ทาให้มีคนนิยมฟังและติดตามผลงาน จนเขาได้มีโอกาสทา เพลงแรกที่เป็นเพลงสมบูรณ์ทั้งคาร้องดนตรีและมิวสิกวีดีโอโดยไม่มีสังกัด หลังจากอัปเพลงไสว่าสิบ่ถิมกัน ลง you tube แค่ ๒ เดือนก็มีผู้เข้าชมเพลงมากถึง 13,๕50,223 ครั้ง (views) 6 และออกข่าวบันเทิงทาง หนังสือพิมพ์และทีวี เป็นการแจ้งเกิดอาชีพนักร้องในวงการอีกคนหนึ่ง และอีกนักร้องน้องใหม่ของค่ายยักษ์ ใหญ่ หญิงลี ศรีจุมพล ชุดที่ ๑ ที่โด่งดังคือเพลงขอใจเธอแลกเบอร์โทร เป็นเพลงลูกทุ่งที่มียอดคนเข้าชมใน you tube เยอะที่สุดในประเทศไทยจานวน 161,๕35,452 ครั้ง (views)7 ร่วมถึงเพลงสตริงที่นาลูกทุ่งไป ร้องผสมผสานด้วย ทาให้แนวเพลงออกมาแปลกและเข้ากันได้อย่างไพเราะลงตัว เช่น เพลงภูมิแพ้กรุงเทพ ของ ป้าง นครินทร์ นานักร้องลูกทุ่งอย่าง ตั๊กแตน ชลดา มาร้องร่วมด้วย มีผู้เข้าชมเพลงมากถึง 109,๒01,498 ครั้ง (views) 8 you tube, facebook, อินเตอร์เน็ต จึงเป็นอีกหนึ่งช่องทางในการสร้างสรรค์ผลงานเพลงลูกทุ่งของ นักร้องทั้งสังกัดใหญ่และไร้สังกัดจานวนไม่น้อย ได้มีโอกาสแสดงความสามารถ จึงเป็นหนึ่งบ่อเกิดแห่งอาชีพ ๓. ด้านศิลป์ คุณค่าทางศิลปะในเพลงลูกทุ่งนั้น คงไม่อาจประจักษ์ได้โดยปราศจากความเข้าใจบทบาท ของภาษาที่เลือกเฟ้นมาเพื่อมุ่งผลของการสื่อสารไม่ต่างจากบทกวีโดยทั่วไป เมื่อคานึงถึงกลุ่มผู้รับสารซึ่งเป็น ประชาชนในระดับล่างมากกว่ากลุ่มอื่น ผู้ประพันธ์เพลงมักเลือกถ้อยคาที่ใช้ในบทสนทนาของผู้คน และมีการ ใช้ภาษาถิ่นเป็นส่วนประกอบบ้าง เพื่อสื่อความใกล้ชิดสนิทสนม เช่นในเนื้อหาที่มีการปรับทุกข์ตัดพ้อหรือขอ ความเห็นใจ สาหรับผู้ศึกษาความรู้ภาษาในเชิงวัฒนธรรมและความสานึกในประสบการณ์ร่วมก็เป็นสิ่งสาคัญ ในส่วนของผู้แต่งนั้น ผู้ประพันธ์เพลงลูกทุ่งในยุคก่อนได้รับความสนใจและการยกย่องน้อย กว่าผู้ขับร้อง ความสนใจของคนทั่วไปต่อผู้ประพันธ์เพลงเท่าที่มีมา มักเกิดขึ้นเมื่อเป็นผู้ขับร้องด้วย ใน ปัจจุบันไม่ว่าผู้ประพันธ์เพลงจะเป็นที่รู้จักโดยกว้างขวางหรือไม่ ความสนใจเพลงลูกทุ่งอย่างกว้างขวางก็เป็น เหตุให้มีการส่งเสริมเพลงประเภทนี้ ดังจะเห็นการจัดกิจกรรมในหลายลักษณะที่เกี่ยวกับเพลงลูกทุ่ง เช่น การ ประกวดร้องเพลงลูกทุ่ง การให้รางวัลนักร้องดีเด่น เพลงลูกทุ่งดีเด่น เพลงลูกทุ่งยอดนิยม ฯลฯ เห็นได้ว่า ชื่อเสียงของผู้ประพันธ์เพลงในยุคนี้เป็นผลสืบเนื่องมาจากกิจกรรมดังกล่าว โดยเฉพาะเมื่อมีการประกาศเชิดชู เกียรติผลงานเพลงต่อสาธารณชน บทบาทของผู้ประพันธ์จึงเผยแพร่ออกไปสู่สาธารณชน ๓.๑ การให้ความสนุกสนาน การสื่อสารเนื้อหาทางอารมณ์ ผู้ประพันธ์เพลงสามารถสรรคามาใช้อย่างโดดเด่นเพื่อสื่อ ความหมายอันบ่งบอกความละเอียดอ่อนทางอารมณ์ เพลงลูกทุ่งจึงมีหลายแบบ ความสนุกของเพลงจึงขึ้นอยู่ กับผู้ฟังว่าชอบเพลงแนวไหน ผู้ประพันธ์และผู้ร้องจึงมีการเล่นเสียงและการเล่นคา การใช้คาระดับภาษาปาก การใช้คาภาษาถิ่นอีสาน 6 (ข้อมูลเมือวันที ๖ กันยายน ๒๕๕๘) 7 (ข้อมูลเมือวันที ๖ กันยายน ๒๕๕๘) 8 (ข้อมูลเมือวันที ๖ กันยายน ๒๕๕๘)
  • 6. ๓.๒ การสื่อความเข้าใจ เนื้อหาที่ปลุกเร้าความคิดและอารมณ์ของคนฟัง ผู้ประพันธุ์จัดวางและนาเสนอในกรอบของ บทเพลง ด้วยการนาคาเด่น ๆ มาใช้กับอีกบริบทหนึ่ง และการจัดองค์ประกอบของความหมาย เพื่อย้า ความสาคัญของเนื้อหาเพลงให้สื่อทั้งความหวัง ความสูญเสีย คิดถึง และการยืนหยัดต่อสู้เป็นต้น เช่นวรรคหนึ่ง ในเพลงเสียงแคนจากแมนชั่น ร้องว่า นับแต่ความจน พาดิ้นรนเป็นคนไกลถิน ความทุกข์บีบให้ต้องดิ้น ยาก งานบ่เซาแต่เช้าฮอดค่า มาไกลหลายปีติดต่ออยู่ กทม. บ่ได้ฟังล่าคืนนี้เหมือนแคนไถ่ถาม ว่าลืมทางเมือบ้าน แล้วไป่ ท่อนนี้ต้องการบอกเล่าความรู้สึก เหตุต้องจากบ้านมาทางานในเมืองใหญ่หลายปี และยังหวนคิดถึง บ้านเกิดเมื่อได้ยินเสียงแคนที่ดังลอยล่องตามสายลม เหมือนว่าตนเองได้ฟังอยู่บ้านเกิดตนเอง นอกจากนี้ยังใช้ ความเปรียบและสัญลักษณ์ที่สร้างจากรากฐานความเป็นคนชนบท ที่มีความใกล้ชิดธรรมชาติในวัฒนธรรม ท้องถิ่นกระตุ้นความคิดได้อย่างลุ่มลึก ๓.๓ การเป็นแบบอย่าง หลายบทเพลงลูกทุ่งที่เป็นเสมือนแบบอย่าง ให้กาลังใจหรือบอกเล่าประสบการณ์กลั่นเป็น เนื้อเพลงให้ความบันเทิงความเจริญใจ เสียงแคนจากแมนชั่น วีระ สุดสังข์ นักวรรณกรรมแนวหน้าของภาค อีสานได้กลั่นจากกวีเป็นถ่ายทอดเป็นเพลงลูกทุ่ง โดยไหมไทย ใจตะวัน จึงเป็นความลงตัวที่ไพเราะสวยงานทั้ง ด้านเนื้อหาและทานอง เป็นแบบอย่างให้นักกวีนักประพันธ์และผู้ฟังได้ทราบซึ้งถึงบทเพลงอันมีคุณค่านี้ เพลงลูกทุ่งเป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ ที่มนุษย์ทุกหมู่เหล่าควรรับฟัง ดังเช่นพระราชนิพนธ์แปล ใน พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๖ (จากต้นฉบับของ วิลเลี่ยม เช็กเปียร์) ว่า “ชนใดไม่มีดนตรีกาล ในสันดานเป็นคนชอบกลนัก อีกใครฟังดนตรีไม่เห็นเพราะ เขานั้นเหมาะคิดกบฎอัปลักษณ์ ฤๅอุบายเล่ห์ร้ายขมังนัก มโนหนักมืดมัวเหมือนราตรี อีกดวงใจย่อมด่าสกปรก ราวนรกเช่นกล่าวมานี ไม่ควรใครไว้ใจในโลกนี้ เจ้าจงฟังดนตรีเถิดชืนใจ”