SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 2 
เรื่อง 
พลังงานกล
100 
รายวิชา ฟิสิกส์พื้นฐานและเพิ่มเติม 2 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 2 
ผลการเรียนที่คาดหวังที่ 2 
รหัสวิชา ว 40202 ชั้น ม.4 
สัปดาห์ที่ 3 – 4 คาบที่ 9 - 16 
เรื่อง งานและพลังงาน 
หัวข้อเรื่อง พลังงานกล 
สาระสาคัญ 
พลังงาน ความสามารถในการทางาน ที่จะทาให้วัตถุนั้นเกิดการเปลี่ยนแปลง เช่น พลังงาน กล พลังงานแสง และพลังงานนิวเคลียร์ เป็นต้น พลังงานกลเป็นพลังงานที่เกิดจากผลของแรงทา ให้พร้อมจะเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ หรือเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ มีอยู่ 2 ชนิด คือ พลังงานจลน์ และพลังงานศักย์ โดย พลังงานจลน์ที่อยู่ในวัตถุที่กาลังเคลื่อนที่ ขึ้นอยู่กับมวลและขนาดของ ความเร็วของวัตถุ ส่วนพลังงานศักย์จะสะสมอยู่ในวัตถุที่พร้อมจะเคลื่อนที่หรือพร้อมจะทางาน และแบ่งพลังงานศักย์ได้ 2 ชนิด คือพลังงานศักย์โน้มถ่วง และพลังงานศักย์ยืดหยุ่น 
ผลการเรียนที่คาดหวัง 
สารวจตรวจสอบ อภิปราย และคานวณเกี่ยวกับพลังงาน ความสัมพันธ์ระหว่างงานและ พลังงานจลน์ 
เนื้อหา 1. พลังงาน 
2. พลังงานจลน์ 
3. ความสัมพันธ์ระหว่างงานและพลังงานจลน์ 
4. พลังงานศักย์ 
กระบวนจัดการเรียนรู้ 
1. ขั้นสร้างความสนใจ 
1.1 นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา เกี่ยวกับ เรื่องการเปลี่ยนสภาพของวัตถุ ใน แง่ของการเปลี่ยนรูปร่าง สี หรือ ตาแหน่ง เพื่อนาไปสู่ คาถาม เกี่ยวกับ การเปลี่ยนรูปร่าง และ ตาแหน่งของวัตถุ 
1.2 นักเรียนตอบข้อซักถามของครูว่า “เหตุใดจึงไม่จอดรถยนต์ใต้ต้นมะพร้าว ใน แง่ของวิชาฟิสิกส์” ( ทิ้งช่วงให้นักเรียนคิด ) 
1.3 นักเรียนร่วมกันอภิปรายในแต่ละกลุ่ม พร้อมทั้งบันทึกความเห็นของกลุ่มใน ใบงาน 2.1 เฉพาะข้อ 1 และข้อ 2 (เปิดโอกาสให้นักเรียนได้แสดงความคิดเห็นโดยยังไม่เน้นถูกผิด)
101 
1.4 ตัวแทนนักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอความเห็นของกลุ่ม ( ของแต่ละคนในกลุ่ม โดยตัวแทนของกลุ่ม และข้อสรุปของกลุ่ม ) 
1.5 นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับ“เหตุใดจึงไม่จอดรถยนต์ใต้ต้น มะพร้าว ในแง่ของวิชาฟิสิกส์” แล้วบันทึกลงในใบงาน 2.1 
1.6 นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน จานวนข้อสอบ 10 ข้อ 
1.7 แจ้งให้นักเรียนทราบว่า จะได้ศึกษาเกี่ยวกับ พลังงานกล พลังงานจลน์ และ พลังงานศักย์ 
2. ขั้นสารวจและค้นหา 
2.1 นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับพลังงานกล และพลังงานจลน์ จากใบความรู้ 2 พร้อมกับใบงาน 2.2 แล้วสรุปสาระสาคัญ บันทึกลงในสมุดจดบันทึกและตอบคาถาม 
2.2 สุ่มนักเรียน 1 กลุ่มเสนอผลการสืบค้นข้อมูล 
3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป 
3.1 นักเรียนนาข้อมูลจากขั้นการสืบค้น ข้อมูล มาอภิปรายร่วมกับครู 
3.2 ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับพลังงานกล และพลังงานจลน์ เพื่อให้นักเรียนสรุป สาระสาคัญลงในสมุดจดบันทึก 
4. ขั้นขยายความรู้ 
4.1 นักเรียนสนทนาซักถามครูและตอบคาถามว่า “ เหตุใดเราจึงไม่ต้องการที่จะอยู่ ในอาคาร หรือ ใต้ต้นมะพร้าวที่ลมกาลังพัดแรง ” ( ทิ้งช่วงให้นักเรียนคิด ) เพื่อนาไปสู่ เรื่อง พลังงานศักย์ 
4.2 นักเรียนและครูร่วมกันอภิปราย เกี่ยวกับ พลังงานศักย์ และ ตัวอย่างการ หาขนาดพลังงานศักย์โน้มถ่วง และพลังงานศักย์ยืดหยุ่น จากใบความรู้ 2 
4.3 นักเรียนร่วมกันสืบค้น แก้ปัญหา ในใบงาน 2.3 
4.4 นักเรียนทาแบบฝึกทักษะ 2
102 
5. ขั้นประเมิน 
5.1 นักเรียนเขียน Concept mapping เกี่ยวกับ พลังงานกล ในใบกิจกรรม 2 
5.2 นักเรียนนา Concept mapping อภิปรายแลกเปลี่ยนกับเพื่อนๆ และประเมินผล งาน ให้กับเพื่อน 
5.3 นักเรียนที่เป็นเจ้าของผลงาน Concept mapping ที่ได้รับการประเมินจากเพื่อน มาอภิปรายเกี่ยวกับ Concept ในงานนั้น โดยการสุ่มจากครู 
5.4 นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน 
สื่อการเรียนการสอน / แหล่งเรียนรู้ 
รายการสื่อ 
จานวน 
สภาพการใช้สื่อ 
1. แบบทดสอบก่อนเรียน 
1 ชุด 
ใช้ขั้นสร้างความสนใจ 
2. ใบงาน 2.1 
1 ชุด 
ใช้ขั้นสร้างความสนใจ 
3. แบบฝึกทักษะ 2 
1 ชุด 
ใช้อธิบายและลงข้อสรุป ( ใช้ขั้นประเมิน ) 
4. ใบความรู้ 2 
1 ชุด 
ใช้อธิบายและลงข้อสรุป 
5. ใบงาน 2.2 
1 ชุด 
ใช้สารวจและค้นหา 
6. ใบงาน 2.3 
1 ชุด 
ใช้ขยายความรู้และลงข้อสรุป 
7. ใบกิจกรรม 2 
1 ชุด 
ใช้ขั้นประเมินและลงข้อสรุป 
8. แบบทดสอบหลังเรียน 
1 ชุด 
ใช้ขั้นประเมิน 
การวัดผลและประเมินผล 
รายการวัดผลและประเมินผล 
เครื่องมือที่ใช้ 
เกณฑ์ผ่าน 
1. การวัดผลคุณธรรม จิตพิสัย 
สังเกตพฤติกรรมนักเรียน 
- 
2. การประเมินผลจากสภาพจริง 
ตรวจใบงาน 2.1 – 2.3 
- 
ตรวจแบบฝึกทักษะ 2 
ร้อยละ 50 ขึ้นไป 
ตรวจสมุดจด 
ตรวจใบกิจกรรม 2 
- 
ระดับ 3 ขึ้นไป 
3. การวัดผลหลังเรียน 
แบบทดสอบรายจุดประสงค์ที่ 2 
ร้อยละ 50 ขึ้นไป
103 
กิจกรรมเสริมทักษะหรือซ่อมเสริม 
รายการ 
วิธีดาเนินกิจกรรม 
1. ปรับปรุง – แก้ไขข้อบกพร่องของผู้เรียน 
1. ครูควบคุมดูแลให้อยู่ในกรอบระหว่างเรียน 
2. ครูคอยเสริมหรือแก้ไขเมื่อการอภิปรายของนักเรียน 
ไม่สมบูรณ์ 
3. ครูชี้แจงข้อบกพร่องในการทากิจกรรม 
4. ครูเฉลยข้อสงสัย ที่นักเรียนทาไม่ได้ 
5. สอนซ่อมเสริมนักเรียนที่ไม่ผ่านประเมินหลังเรียน 
2. ส่งเสริมความรู้ความสามารถของผู้เรียน 
1. ให้นักเรียนทาชิ้นงาน 1 ชิ้นงาน
104 
รายวิชาฟิสิกส์พื้นฐานและเพิ่มเติม 2 
แบบบันทึกผลหลังสอน 
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 
รหัสวิชา ว 40202 
ผลการเรียนที่คาดหวังที่ 2 
คาบที่ 9 – 16 
เรื่อง งานและพลังงาน 
หัวข้อเรื่อง พลังงานกล 
1. ความเหมาะสมของแผนการสอน 
รายการประเมิน 
ระดับคุณภาพ 
ข้อเสนอแนะ 
4 
3 
2 
1 
1. จุดประสงค์การเรียนรู้ 
2. เนื้อหาสาระ 
3. กิจกรรมการเรียนการสอน 
4. สื่อการสอน 
5. การวัดผลประเมินผล 
6. ความสอดคล้อง ( ข้อ 1 – 5 ) 
( 4 = มากที่สุด , 3 = มาก , 2 = พอใช้ , 1 = ควรปรับปรุง ) 
2. ผลการสอน 
………………………………………………………………………………………... ………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………… 
3. ปัญหา / อุปสรรค 
………………………………………………………………………………………… ...…………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………. 
4. ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข 
………………………………………………………………………………………… 
……………………………………………………………………………………………………… ….…………………………………………………………………………………………………… 
ลงชื่อ…………………….………..ผู้สอน 
(……………………………..) 
วันที่…....เดือน………………………..พ.ศ………….
105 
สื่อประกอบ 
แผนจัดการเรียนรู้

More Related Content

What's hot

แผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็กแผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็กNiwat Yod
 
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551Weerachat Martluplao
 
9.การจัดการเรียนการสอนหน่วยการเรียนรู้บูรณาการ
9.การจัดการเรียนการสอนหน่วยการเรียนรู้บูรณาการ9.การจัดการเรียนการสอนหน่วยการเรียนรู้บูรณาการ
9.การจัดการเรียนการสอนหน่วยการเรียนรู้บูรณาการKobwit Piriyawat
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02witthawat silad
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01witthawat silad
 
Slหน่วย 2 งานและพลังงาน ทดสอบก่อนเรียน
Slหน่วย 2 งานและพลังงาน ทดสอบก่อนเรียนSlหน่วย 2 งานและพลังงาน ทดสอบก่อนเรียน
Slหน่วย 2 งานและพลังงาน ทดสอบก่อนเรียนkrupornpana55
 
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์tuiye
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1suranon Chaimuangchuan
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียkrupornpana55
 
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงานแบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงานkrupornpana55
 
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้าแผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้าJiraporn
 
แผนโมเมนตัม
แผนโมเมนตัมแผนโมเมนตัม
แผนโมเมนตัมkrupayom
 
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอกkruannchem
 
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียงคู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
ภาคผนวก ก
ภาคผนวก กภาคผนวก ก
ภาคผนวก กkrupornpana55
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียkrupornpana55
 
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 2 งานและพลังงาน 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 2 งานและพลังงาน 11 เม.ย.56Slโครงสร้างวิชา หน่วย 2 งานและพลังงาน 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 2 งานและพลังงาน 11 เม.ย.56krupornpana55
 
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓Wijitta DevilTeacher
 
แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551
แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551
แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551Weerachat Martluplao
 

What's hot (20)

แผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็กแผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็ก
 
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
 
9.การจัดการเรียนการสอนหน่วยการเรียนรู้บูรณาการ
9.การจัดการเรียนการสอนหน่วยการเรียนรู้บูรณาการ9.การจัดการเรียนการสอนหน่วยการเรียนรู้บูรณาการ
9.การจัดการเรียนการสอนหน่วยการเรียนรู้บูรณาการ
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
 
Slหน่วย 2 งานและพลังงาน ทดสอบก่อนเรียน
Slหน่วย 2 งานและพลังงาน ทดสอบก่อนเรียนSlหน่วย 2 งานและพลังงาน ทดสอบก่อนเรียน
Slหน่วย 2 งานและพลังงาน ทดสอบก่อนเรียน
 
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
 
Physics Curriculum 53
Physics Curriculum 53Physics Curriculum 53
Physics Curriculum 53
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
 
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงานแบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้าแผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
 
แผนโมเมนตัม
แผนโมเมนตัมแผนโมเมนตัม
แผนโมเมนตัม
 
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
 
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียงคู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
 
ภาคผนวก ก
ภาคผนวก กภาคผนวก ก
ภาคผนวก ก
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
 
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 2 งานและพลังงาน 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 2 งานและพลังงาน 11 เม.ย.56Slโครงสร้างวิชา หน่วย 2 งานและพลังงาน 11 เม.ย.56
Slโครงสร้างวิชา หน่วย 2 งานและพลังงาน 11 เม.ย.56
 
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓
 
แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551
แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551
แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551
 

Viewers also liked

02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงานPhanuwat Somvongs
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ใบงาน2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 ใบงาน2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 ใบงาน2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ใบงาน2jirupi
 
เฉลยใบงานที่ 2.1 2.4
เฉลยใบงานที่ 2.1 2.4เฉลยใบงานที่ 2.1 2.4
เฉลยใบงานที่ 2.1 2.4Thanawut Rattanadon
 
Stem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills developmentStem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills developmentWeerachat Martluplao
 
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551Weerachat Martluplao
 
ความสำคัญและแน้วโน้มของของ Social media ในปัจจุบัน
ความสำคัญและแน้วโน้มของของ Social media ในปัจจุบันความสำคัญและแน้วโน้มของของ Social media ในปัจจุบัน
ความสำคัญและแน้วโน้มของของ Social media ในปัจจุบันKittipong Kansamroeng
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3jirupi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51Weerachat Martluplao
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3Wijitta DevilTeacher
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  4แผนการจัดการเรียนรู้ที่  4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4sarawut chaicharoen
 

Viewers also liked (16)

02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ใบงาน2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 ใบงาน2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 ใบงาน2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ใบงาน2
 
เฉลยใบงานที่ 2.1 2.4
เฉลยใบงานที่ 2.1 2.4เฉลยใบงานที่ 2.1 2.4
เฉลยใบงานที่ 2.1 2.4
 
Stem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills developmentStem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills development
 
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิตหน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
 
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
 
Key2 3
Key2 3Key2 3
Key2 3
 
Key2 4
Key2 4Key2 4
Key2 4
 
Key2 5
Key2 5Key2 5
Key2 5
 
Key2 2
Key2 2Key2 2
Key2 2
 
Key2 1
Key2 1Key2 1
Key2 1
 
ความสำคัญและแน้วโน้มของของ Social media ในปัจจุบัน
ความสำคัญและแน้วโน้มของของ Social media ในปัจจุบันความสำคัญและแน้วโน้มของของ Social media ในปัจจุบัน
ความสำคัญและแน้วโน้มของของ Social media ในปัจจุบัน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  4แผนการจัดการเรียนรู้ที่  4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
 

Similar to แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02

แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียkrupornpana55
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่างptrnan
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมptrnan
 
แบบโครงร่าง Com
แบบโครงร่าง Comแบบโครงร่าง Com
แบบโครงร่าง ComPattaraporn Khantha
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 2 พว22002
ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 2 พว22002ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 2 พว22002
ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 2 พว22002Kasem Boonlaor
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Panit Jaijareun
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยwitthaya601
 
ตยคู่มือ
ตยคู่มือตยคู่มือ
ตยคู่มือunyaparnss
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนsalinkarn sampim
 

Similar to แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02 (20)

5.ตอนที่ 3
5.ตอนที่ 35.ตอนที่ 3
5.ตอนที่ 3
 
แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดีย
 
7บทที่3
7บทที่3 7บทที่3
7บทที่3
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
 
แบบโครงร่าง Com
แบบโครงร่าง Comแบบโครงร่าง Com
แบบโครงร่าง Com
 
ใบความรู้โครงงานคุณธรรม
ใบความรู้โครงงานคุณธรรมใบความรู้โครงงานคุณธรรม
ใบความรู้โครงงานคุณธรรม
 
โครงร่างคอม
โครงร่างคอมโครงร่างคอม
โครงร่างคอม
 
โครงร่างคอม
โครงร่างคอมโครงร่างคอม
โครงร่างคอม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
Astroplan16
Astroplan16Astroplan16
Astroplan16
 
Electricity .2
Electricity .2Electricity .2
Electricity .2
 
ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 2 พว22002
ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 2 พว22002ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 2 พว22002
ชุดวิชาการใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 2 พว22002
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
 
ตยคู่มือ
ตยคู่มือตยคู่มือ
ตยคู่มือ
 
2222
22222222
2222
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 

More from jirupi

Doc nov 27, 2557 be, 21-26
Doc   nov 27, 2557 be, 21-26Doc   nov 27, 2557 be, 21-26
Doc nov 27, 2557 be, 21-26jirupi
 
งานและพลังงาน
งานและพลังงาน งานและพลังงาน
งานและพลังงาน jirupi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 แผนผังมโนทัศน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 แผนผังมโนทัศน์แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 แผนผังมโนทัศน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 แผนผังมโนทัศน์jirupi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ใบงาน3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 ใบงาน3แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 ใบงาน3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ใบงาน3jirupi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ใบงาน2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 ใบงาน2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 ใบงาน2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ใบงาน2jirupi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 แบบฝึกทักษะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 แบบฝึกทักษะแผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 แบบฝึกทักษะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 แบบฝึกทักษะjirupi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 แผนผังมโนทัศน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 แผนผังมโนทัศน์แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 แผนผังมโนทัศน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 แผนผังมโนทัศน์jirupi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ใบงาน3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 ใบงาน3แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 ใบงาน3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ใบงาน3jirupi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ใบความรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 ใบความรู้แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 ใบความรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ใบความรู้jirupi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 แบบฝึกทักษะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 แบบฝึกทักษะแผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 แบบฝึกทักษะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 แบบฝึกทักษะjirupi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนแผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนjirupi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 แผนผังมโนทัศน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 แผนผังมโนทัศน์แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 แผนผังมโนทัศน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 แผนผังมโนทัศน์jirupi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ใบงาน2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ใบงาน2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ใบงาน2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ใบงาน2jirupi
 

More from jirupi (20)

7
77
7
 
6
66
6
 
5
55
5
 
Doc nov 27, 2557 be, 21-26
Doc   nov 27, 2557 be, 21-26Doc   nov 27, 2557 be, 21-26
Doc nov 27, 2557 be, 21-26
 
4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
งานและพลังงาน
งานและพลังงาน งานและพลังงาน
งานและพลังงาน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 แผนผังมโนทัศน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 แผนผังมโนทัศน์แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 แผนผังมโนทัศน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 แผนผังมโนทัศน์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ใบงาน3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 ใบงาน3แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 ใบงาน3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ใบงาน3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ใบงาน2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 ใบงาน2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 ใบงาน2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ใบงาน2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 แบบฝึกทักษะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 แบบฝึกทักษะแผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 แบบฝึกทักษะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 แบบฝึกทักษะ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 แผนผังมโนทัศน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 แผนผังมโนทัศน์แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 แผนผังมโนทัศน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 แผนผังมโนทัศน์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ใบงาน3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 ใบงาน3แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 ใบงาน3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ใบงาน3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ใบความรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 ใบความรู้แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 ใบความรู้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ใบความรู้
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 แบบฝึกทักษะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 แบบฝึกทักษะแผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 แบบฝึกทักษะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 แบบฝึกทักษะ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนแผนการจัดการเรียนรู้ที่  2 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 แผนผังมโนทัศน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 แผนผังมโนทัศน์แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 แผนผังมโนทัศน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 แผนผังมโนทัศน์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ใบงาน2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ใบงาน2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ใบงาน2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ใบงาน2
 

แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02

  • 2. 100 รายวิชา ฟิสิกส์พื้นฐานและเพิ่มเติม 2 แผนจัดการเรียนรู้ที่ 2 ผลการเรียนที่คาดหวังที่ 2 รหัสวิชา ว 40202 ชั้น ม.4 สัปดาห์ที่ 3 – 4 คาบที่ 9 - 16 เรื่อง งานและพลังงาน หัวข้อเรื่อง พลังงานกล สาระสาคัญ พลังงาน ความสามารถในการทางาน ที่จะทาให้วัตถุนั้นเกิดการเปลี่ยนแปลง เช่น พลังงาน กล พลังงานแสง และพลังงานนิวเคลียร์ เป็นต้น พลังงานกลเป็นพลังงานที่เกิดจากผลของแรงทา ให้พร้อมจะเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ หรือเปลี่ยนสภาพการเคลื่อนที่ มีอยู่ 2 ชนิด คือ พลังงานจลน์ และพลังงานศักย์ โดย พลังงานจลน์ที่อยู่ในวัตถุที่กาลังเคลื่อนที่ ขึ้นอยู่กับมวลและขนาดของ ความเร็วของวัตถุ ส่วนพลังงานศักย์จะสะสมอยู่ในวัตถุที่พร้อมจะเคลื่อนที่หรือพร้อมจะทางาน และแบ่งพลังงานศักย์ได้ 2 ชนิด คือพลังงานศักย์โน้มถ่วง และพลังงานศักย์ยืดหยุ่น ผลการเรียนที่คาดหวัง สารวจตรวจสอบ อภิปราย และคานวณเกี่ยวกับพลังงาน ความสัมพันธ์ระหว่างงานและ พลังงานจลน์ เนื้อหา 1. พลังงาน 2. พลังงานจลน์ 3. ความสัมพันธ์ระหว่างงานและพลังงานจลน์ 4. พลังงานศักย์ กระบวนจัดการเรียนรู้ 1. ขั้นสร้างความสนใจ 1.1 นักเรียนและครูร่วมกันสนทนา เกี่ยวกับ เรื่องการเปลี่ยนสภาพของวัตถุ ใน แง่ของการเปลี่ยนรูปร่าง สี หรือ ตาแหน่ง เพื่อนาไปสู่ คาถาม เกี่ยวกับ การเปลี่ยนรูปร่าง และ ตาแหน่งของวัตถุ 1.2 นักเรียนตอบข้อซักถามของครูว่า “เหตุใดจึงไม่จอดรถยนต์ใต้ต้นมะพร้าว ใน แง่ของวิชาฟิสิกส์” ( ทิ้งช่วงให้นักเรียนคิด ) 1.3 นักเรียนร่วมกันอภิปรายในแต่ละกลุ่ม พร้อมทั้งบันทึกความเห็นของกลุ่มใน ใบงาน 2.1 เฉพาะข้อ 1 และข้อ 2 (เปิดโอกาสให้นักเรียนได้แสดงความคิดเห็นโดยยังไม่เน้นถูกผิด)
  • 3. 101 1.4 ตัวแทนนักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอความเห็นของกลุ่ม ( ของแต่ละคนในกลุ่ม โดยตัวแทนของกลุ่ม และข้อสรุปของกลุ่ม ) 1.5 นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับ“เหตุใดจึงไม่จอดรถยนต์ใต้ต้น มะพร้าว ในแง่ของวิชาฟิสิกส์” แล้วบันทึกลงในใบงาน 2.1 1.6 นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน จานวนข้อสอบ 10 ข้อ 1.7 แจ้งให้นักเรียนทราบว่า จะได้ศึกษาเกี่ยวกับ พลังงานกล พลังงานจลน์ และ พลังงานศักย์ 2. ขั้นสารวจและค้นหา 2.1 นักเรียนสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับพลังงานกล และพลังงานจลน์ จากใบความรู้ 2 พร้อมกับใบงาน 2.2 แล้วสรุปสาระสาคัญ บันทึกลงในสมุดจดบันทึกและตอบคาถาม 2.2 สุ่มนักเรียน 1 กลุ่มเสนอผลการสืบค้นข้อมูล 3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป 3.1 นักเรียนนาข้อมูลจากขั้นการสืบค้น ข้อมูล มาอภิปรายร่วมกับครู 3.2 ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับพลังงานกล และพลังงานจลน์ เพื่อให้นักเรียนสรุป สาระสาคัญลงในสมุดจดบันทึก 4. ขั้นขยายความรู้ 4.1 นักเรียนสนทนาซักถามครูและตอบคาถามว่า “ เหตุใดเราจึงไม่ต้องการที่จะอยู่ ในอาคาร หรือ ใต้ต้นมะพร้าวที่ลมกาลังพัดแรง ” ( ทิ้งช่วงให้นักเรียนคิด ) เพื่อนาไปสู่ เรื่อง พลังงานศักย์ 4.2 นักเรียนและครูร่วมกันอภิปราย เกี่ยวกับ พลังงานศักย์ และ ตัวอย่างการ หาขนาดพลังงานศักย์โน้มถ่วง และพลังงานศักย์ยืดหยุ่น จากใบความรู้ 2 4.3 นักเรียนร่วมกันสืบค้น แก้ปัญหา ในใบงาน 2.3 4.4 นักเรียนทาแบบฝึกทักษะ 2
  • 4. 102 5. ขั้นประเมิน 5.1 นักเรียนเขียน Concept mapping เกี่ยวกับ พลังงานกล ในใบกิจกรรม 2 5.2 นักเรียนนา Concept mapping อภิปรายแลกเปลี่ยนกับเพื่อนๆ และประเมินผล งาน ให้กับเพื่อน 5.3 นักเรียนที่เป็นเจ้าของผลงาน Concept mapping ที่ได้รับการประเมินจากเพื่อน มาอภิปรายเกี่ยวกับ Concept ในงานนั้น โดยการสุ่มจากครู 5.4 นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียน สื่อการเรียนการสอน / แหล่งเรียนรู้ รายการสื่อ จานวน สภาพการใช้สื่อ 1. แบบทดสอบก่อนเรียน 1 ชุด ใช้ขั้นสร้างความสนใจ 2. ใบงาน 2.1 1 ชุด ใช้ขั้นสร้างความสนใจ 3. แบบฝึกทักษะ 2 1 ชุด ใช้อธิบายและลงข้อสรุป ( ใช้ขั้นประเมิน ) 4. ใบความรู้ 2 1 ชุด ใช้อธิบายและลงข้อสรุป 5. ใบงาน 2.2 1 ชุด ใช้สารวจและค้นหา 6. ใบงาน 2.3 1 ชุด ใช้ขยายความรู้และลงข้อสรุป 7. ใบกิจกรรม 2 1 ชุด ใช้ขั้นประเมินและลงข้อสรุป 8. แบบทดสอบหลังเรียน 1 ชุด ใช้ขั้นประเมิน การวัดผลและประเมินผล รายการวัดผลและประเมินผล เครื่องมือที่ใช้ เกณฑ์ผ่าน 1. การวัดผลคุณธรรม จิตพิสัย สังเกตพฤติกรรมนักเรียน - 2. การประเมินผลจากสภาพจริง ตรวจใบงาน 2.1 – 2.3 - ตรวจแบบฝึกทักษะ 2 ร้อยละ 50 ขึ้นไป ตรวจสมุดจด ตรวจใบกิจกรรม 2 - ระดับ 3 ขึ้นไป 3. การวัดผลหลังเรียน แบบทดสอบรายจุดประสงค์ที่ 2 ร้อยละ 50 ขึ้นไป
  • 5. 103 กิจกรรมเสริมทักษะหรือซ่อมเสริม รายการ วิธีดาเนินกิจกรรม 1. ปรับปรุง – แก้ไขข้อบกพร่องของผู้เรียน 1. ครูควบคุมดูแลให้อยู่ในกรอบระหว่างเรียน 2. ครูคอยเสริมหรือแก้ไขเมื่อการอภิปรายของนักเรียน ไม่สมบูรณ์ 3. ครูชี้แจงข้อบกพร่องในการทากิจกรรม 4. ครูเฉลยข้อสงสัย ที่นักเรียนทาไม่ได้ 5. สอนซ่อมเสริมนักเรียนที่ไม่ผ่านประเมินหลังเรียน 2. ส่งเสริมความรู้ความสามารถของผู้เรียน 1. ให้นักเรียนทาชิ้นงาน 1 ชิ้นงาน
  • 6. 104 รายวิชาฟิสิกส์พื้นฐานและเพิ่มเติม 2 แบบบันทึกผลหลังสอน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 รหัสวิชา ว 40202 ผลการเรียนที่คาดหวังที่ 2 คาบที่ 9 – 16 เรื่อง งานและพลังงาน หัวข้อเรื่อง พลังงานกล 1. ความเหมาะสมของแผนการสอน รายการประเมิน ระดับคุณภาพ ข้อเสนอแนะ 4 3 2 1 1. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2. เนื้อหาสาระ 3. กิจกรรมการเรียนการสอน 4. สื่อการสอน 5. การวัดผลประเมินผล 6. ความสอดคล้อง ( ข้อ 1 – 5 ) ( 4 = มากที่สุด , 3 = มาก , 2 = พอใช้ , 1 = ควรปรับปรุง ) 2. ผลการสอน ………………………………………………………………………………………... ………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………… 3. ปัญหา / อุปสรรค ………………………………………………………………………………………… ...…………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………. 4. ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข ………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………… ….…………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………….………..ผู้สอน (……………………………..) วันที่…....เดือน………………………..พ.ศ………….