SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
พลังงานกล 
พลังงาน ( Energy ) 
ในวิชาฟิสิกส์กาหนดว่า พลังงานเป็นสมบัติอย่างหนึ่งของระบบ ที่บ่งถึงขีดความสามารถในการทางาน 
พลังงานมีหลายรูปแบบ เช่น พลังงานกล พลังงานเคมี พลังงานแผ่รังสี พลังงานไฟฟ้า พลังงาน 
นิวเคลียร์ เป็นต้น 
พลังงานต่างๆจะมีความสัมพันธ์ระหว่างกัน 
ในทางฟิสิกส์จาแนกพลังงานกลออกเป็น 2 ประเภท คือ พลังงานจลน์ และ พลังงานศักย์ 
พลังงานจลน์ ( Kinetic Energy , Ek ) 
พลังงานของวัตถุที่กาลังเคลื่อนที่ เรียกว่า พลังงานจลน์ ( Ek ) 
Ek 
mv2 
2 
1 
 
เมื่อ Ek = พลังงานจลน์ของวัตถุ มีหน่วยเป็น จูล ( J ) 
m = มวลของวัตถุ มีหน่วยเป็น กิโลกรัม ( kg ) 
v = ความเร็วของวัตถุ มีหน่วยเป็น เมตรต่อวินาที ( m/s ) 
ตัวอย่าง ลูกปืนมวล 0.002 กิโลกรัม เคลื่อนที่ออกจากลากล้องปืนซึ่งยาว 0.80 เมตร ด้วยอัตราเร็ว 400 
เมตรต่อวินาที จงหาพลังงานจลน์ของลูกปืน 
วิธีทา Ek 
mv2 
2 
1 
 
Ek = ½ ( 0.002 )( 400 )2 
Ek = 160 J 
ความสัมพันธ์ระหว่างงานและพลังงานจลน์ 
ถ้าเราทาให้วัตถุที่กาลังเคลื่อนที่อยู่นั้นไปทางานอย่างหนึ่ง ปริมาณงานที่ทาได้ทั้งหมดจะเท่ากับ 
พลังงานจลน์ของวัตถุนั้นเปลี่ยนไป 
W = Ek 
เมื่อ W = ปริมาณงานที่ทา มีหน่วยเป็น จูล ( J ) 
Ek = พลังงานจลน์ที่เปลี่ยนไป มีหน่วยเป็น จูล ( J ) 
v 
F 
Ek1 Ek2 
s
ตัวอย่าง รถยนต์มวล 800 กิโลกรัม ขณะแล่นด้วยความเร็ว 72 กิโลเมตรต่อชั่วโมง คนขับใช้ห้ามล้อ รถ เคลื่อนที่ต่อไปอีก 10 เมตรจึงหยุดนิ่ง งานเนื่องจากแรงต้านที่ทาให้รถหยุดมีค่าเท่าใด 
วิธีทา W = Ek 
Ek = Ek2 - Ek1 
Ek = 0 - ½ ( 800 ) ( 72x103/3600)2 
Ek = - 8x103 J 
 W = - 8x103 J 
ตัวอย่าง ออกแรง 20.0 นิวตัน ดึงวัตถุให้เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว บนพื้นที่มีแรงเสียดทานได้การกระจัด 3.0 เมตร จงหางานที่ทาโดยแรงเสียดทาน 
วิธีทา W = Ek 
Ek = Ek2 - Ek1 
Ek = 0 , ( Ek2 = Ek1 ) 
W = ( F – f )s 
W = Fs – fs = WF – Wf 
 WF – Wf = 0 , ( W = Ek ) 
WF = Wf 
Fs = Wf = (20)(3) = 60 J 
พลังงานศักย์ ( Potential Energy , Ep ) 
พลังงานศักย์ซึ่งเป็นพลังงานประเภทหนึ่งของพลังงานกลในทางฟิสิกส์ คือ พลังงานที่มีอยู่ในวัตถุอัน เนื่องมาจากตาแหน่งของวัตถุ เช่น 
พลังงานศักย์โน้มถ่วง คือพลังงานของวัตถุซึ่งอยู่ในที่สูง เกิดขึ้นเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลกกระทา ต่อวัตถุนั้น 
จาก W = F.s เมื่อ F = mg , s = h 
W = mg.h 
และ W = Ep 
 Ep = mgh 
เมื่อ Ep คือ พลังงานศักย์โน้มถ่วง มีหน่วยเป็น จูล ( J ) 
m คือ มวลของวัตถุ มีหน่วยเป็น กิโลกรัม ( kg ) 
g คือ ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วง มีหน่วยเป็น เมตรต่อวินาทียกกาลังสอง ( m/s2 ) 
h คือ ความสูงของวัตถุจากพื้น มีหน่วยเป็น เมตร ( m ) F Ek1 Ek2 s F Ek1 Ek2 s f h mg F
ตัวอย่าง นักกายกรรมหนัก 600 นิวตัน ไต่เชือกที่แขวนอยู่ในแนวดิ่งขึ้นไปสูง 10 เมตร จากพื้นดิน จงหา 
พลังงานศักย์โน้มถ่วงเมื่อเขาอยู่ที่จุดสูง 10 เมตรจากพื้นดิน 
วิธีทา Ep = mgh 
Ep = ( 600 )( 10 ) 
Ep = 6x103 จูล 
พลังงานศักย์ยืดหยุ่น คือ พลังงานศักย์ของวัตถุที่อยู่กับระยะยืดหรือหด เนื่องจากแรงยืดหยุ่นของวัตถุ 
F  x 
F = kx 
เมื่อ F คือ แรงดึงของวัตถุ ( N ) 
k คือ ค่านิจของสปริง ( N/m ) 
x คือ ระยะยืดหรือหดของวัตถุ ( m ) 
จาก W = F. s , F = แรงเฉลี่ย 
.X 
2 
0 F 
W  
 
F.x 
2 
1 
W  
kx.x 
2 
1 
W  
k.x2 
2 
1 
W  
ปริมาณงานที่ทาในการดึงหรือกดสปริงให้มีระยะเปลี่ยนไป x จะเท่ากับ k.x 2 
2 
1 
ปริมาณนี้ก็คือ พลังงานศักย์ 
ในสปริง 
EP 
k.x 2 
2 
1 
 
ตัวอย่าง สปริงอันหนึ่ง มีค่าคงตัวสปริงเท่ากับ 150 นิวตันต่อเมตร จงหา 
ก. แรงที่ใช้ดึงสปริงขณะสปริงยืดออกจากเดิม 0.25 เมตร 
ข. พลังงานศักย์ยืดหยุ่นเมื่อสปริงยืดออกจากเดิม 0.25 เมตร 
x 
F
วิธีทา ก. จาก F = kx 
F = ( 150 )( 0.25 ) 
F = 37.5 N 
ข. จาก EP 
k.x2 
2 
1 
 
EP 
(150)(0.25)2 
2 
1 
 
EP = 4.6875 J

More Related Content

What's hot

แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxแบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxNing Thanyaphon
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนThepsatri Rajabhat University
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนWijitta DevilTeacher
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานWijitta DevilTeacher
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์weerawato
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีสWijitta DevilTeacher
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาSaipanya school
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้าdnavaroj
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานjirupi
 
การเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmการเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmAey Usanee
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงพัน พัน
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันเซิฟ กิ๊ฟ ติวเตอร์
 
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่menton00
 

What's hot (20)

แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxแบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
 
Momentum
MomentumMomentum
Momentum
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
คลื่นและเสียง
คลื่นและเสียงคลื่นและเสียง
คลื่นและเสียง
 
เฉลย06กฎการเคลื่อนที่
เฉลย06กฎการเคลื่อนที่เฉลย06กฎการเคลื่อนที่
เฉลย06กฎการเคลื่อนที่
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
 
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยาการคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
การคำนวณพลังงานของปฏิกิริยา
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
 
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
 
การเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shmการเคลื่อนที่แบบ shm
การเคลื่อนที่แบบ shm
 
โมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชนโมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชน
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
 

More from jirupi

Doc nov 27, 2557 be, 21-26
Doc   nov 27, 2557 be, 21-26Doc   nov 27, 2557 be, 21-26
Doc nov 27, 2557 be, 21-26jirupi
 
งานและพลังงาน
งานและพลังงาน งานและพลังงาน
งานและพลังงาน jirupi
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06jirupi
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05jirupi
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04jirupi
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03jirupi
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02jirupi
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01jirupi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3jirupi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 แผนผังมโนทัศน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 แผนผังมโนทัศน์แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 แผนผังมโนทัศน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 แผนผังมโนทัศน์jirupi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ใบงาน3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 ใบงาน3แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 ใบงาน3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ใบงาน3jirupi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ใบงาน2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 ใบงาน2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 ใบงาน2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ใบงาน2jirupi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 แบบฝึกทักษะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 แบบฝึกทักษะแผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 แบบฝึกทักษะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 แบบฝึกทักษะjirupi
 

More from jirupi (20)

7
77
7
 
6
66
6
 
5
55
5
 
Doc nov 27, 2557 be, 21-26
Doc   nov 27, 2557 be, 21-26Doc   nov 27, 2557 be, 21-26
Doc nov 27, 2557 be, 21-26
 
4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
งานและพลังงาน
งานและพลังงาน งานและพลังงาน
งานและพลังงาน
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 03
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 แผนผังมโนทัศน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 แผนผังมโนทัศน์แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 แผนผังมโนทัศน์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 แผนผังมโนทัศน์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ใบงาน3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 ใบงาน3แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 ใบงาน3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ใบงาน3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ใบงาน2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 ใบงาน2แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 ใบงาน2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 ใบงาน2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 แบบฝึกทักษะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 แบบฝึกทักษะแผนการจัดการเรียนรู้ที่  3 แบบฝึกทักษะ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 แบบฝึกทักษะ
 

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ใบความรู้

  • 1. พลังงานกล พลังงาน ( Energy ) ในวิชาฟิสิกส์กาหนดว่า พลังงานเป็นสมบัติอย่างหนึ่งของระบบ ที่บ่งถึงขีดความสามารถในการทางาน พลังงานมีหลายรูปแบบ เช่น พลังงานกล พลังงานเคมี พลังงานแผ่รังสี พลังงานไฟฟ้า พลังงาน นิวเคลียร์ เป็นต้น พลังงานต่างๆจะมีความสัมพันธ์ระหว่างกัน ในทางฟิสิกส์จาแนกพลังงานกลออกเป็น 2 ประเภท คือ พลังงานจลน์ และ พลังงานศักย์ พลังงานจลน์ ( Kinetic Energy , Ek ) พลังงานของวัตถุที่กาลังเคลื่อนที่ เรียกว่า พลังงานจลน์ ( Ek ) Ek mv2 2 1  เมื่อ Ek = พลังงานจลน์ของวัตถุ มีหน่วยเป็น จูล ( J ) m = มวลของวัตถุ มีหน่วยเป็น กิโลกรัม ( kg ) v = ความเร็วของวัตถุ มีหน่วยเป็น เมตรต่อวินาที ( m/s ) ตัวอย่าง ลูกปืนมวล 0.002 กิโลกรัม เคลื่อนที่ออกจากลากล้องปืนซึ่งยาว 0.80 เมตร ด้วยอัตราเร็ว 400 เมตรต่อวินาที จงหาพลังงานจลน์ของลูกปืน วิธีทา Ek mv2 2 1  Ek = ½ ( 0.002 )( 400 )2 Ek = 160 J ความสัมพันธ์ระหว่างงานและพลังงานจลน์ ถ้าเราทาให้วัตถุที่กาลังเคลื่อนที่อยู่นั้นไปทางานอย่างหนึ่ง ปริมาณงานที่ทาได้ทั้งหมดจะเท่ากับ พลังงานจลน์ของวัตถุนั้นเปลี่ยนไป W = Ek เมื่อ W = ปริมาณงานที่ทา มีหน่วยเป็น จูล ( J ) Ek = พลังงานจลน์ที่เปลี่ยนไป มีหน่วยเป็น จูล ( J ) v F Ek1 Ek2 s
  • 2. ตัวอย่าง รถยนต์มวล 800 กิโลกรัม ขณะแล่นด้วยความเร็ว 72 กิโลเมตรต่อชั่วโมง คนขับใช้ห้ามล้อ รถ เคลื่อนที่ต่อไปอีก 10 เมตรจึงหยุดนิ่ง งานเนื่องจากแรงต้านที่ทาให้รถหยุดมีค่าเท่าใด วิธีทา W = Ek Ek = Ek2 - Ek1 Ek = 0 - ½ ( 800 ) ( 72x103/3600)2 Ek = - 8x103 J  W = - 8x103 J ตัวอย่าง ออกแรง 20.0 นิวตัน ดึงวัตถุให้เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงตัว บนพื้นที่มีแรงเสียดทานได้การกระจัด 3.0 เมตร จงหางานที่ทาโดยแรงเสียดทาน วิธีทา W = Ek Ek = Ek2 - Ek1 Ek = 0 , ( Ek2 = Ek1 ) W = ( F – f )s W = Fs – fs = WF – Wf  WF – Wf = 0 , ( W = Ek ) WF = Wf Fs = Wf = (20)(3) = 60 J พลังงานศักย์ ( Potential Energy , Ep ) พลังงานศักย์ซึ่งเป็นพลังงานประเภทหนึ่งของพลังงานกลในทางฟิสิกส์ คือ พลังงานที่มีอยู่ในวัตถุอัน เนื่องมาจากตาแหน่งของวัตถุ เช่น พลังงานศักย์โน้มถ่วง คือพลังงานของวัตถุซึ่งอยู่ในที่สูง เกิดขึ้นเนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลกกระทา ต่อวัตถุนั้น จาก W = F.s เมื่อ F = mg , s = h W = mg.h และ W = Ep  Ep = mgh เมื่อ Ep คือ พลังงานศักย์โน้มถ่วง มีหน่วยเป็น จูล ( J ) m คือ มวลของวัตถุ มีหน่วยเป็น กิโลกรัม ( kg ) g คือ ความเร่งเนื่องจากแรงโน้มถ่วง มีหน่วยเป็น เมตรต่อวินาทียกกาลังสอง ( m/s2 ) h คือ ความสูงของวัตถุจากพื้น มีหน่วยเป็น เมตร ( m ) F Ek1 Ek2 s F Ek1 Ek2 s f h mg F
  • 3. ตัวอย่าง นักกายกรรมหนัก 600 นิวตัน ไต่เชือกที่แขวนอยู่ในแนวดิ่งขึ้นไปสูง 10 เมตร จากพื้นดิน จงหา พลังงานศักย์โน้มถ่วงเมื่อเขาอยู่ที่จุดสูง 10 เมตรจากพื้นดิน วิธีทา Ep = mgh Ep = ( 600 )( 10 ) Ep = 6x103 จูล พลังงานศักย์ยืดหยุ่น คือ พลังงานศักย์ของวัตถุที่อยู่กับระยะยืดหรือหด เนื่องจากแรงยืดหยุ่นของวัตถุ F  x F = kx เมื่อ F คือ แรงดึงของวัตถุ ( N ) k คือ ค่านิจของสปริง ( N/m ) x คือ ระยะยืดหรือหดของวัตถุ ( m ) จาก W = F. s , F = แรงเฉลี่ย .X 2 0 F W   F.x 2 1 W  kx.x 2 1 W  k.x2 2 1 W  ปริมาณงานที่ทาในการดึงหรือกดสปริงให้มีระยะเปลี่ยนไป x จะเท่ากับ k.x 2 2 1 ปริมาณนี้ก็คือ พลังงานศักย์ ในสปริง EP k.x 2 2 1  ตัวอย่าง สปริงอันหนึ่ง มีค่าคงตัวสปริงเท่ากับ 150 นิวตันต่อเมตร จงหา ก. แรงที่ใช้ดึงสปริงขณะสปริงยืดออกจากเดิม 0.25 เมตร ข. พลังงานศักย์ยืดหยุ่นเมื่อสปริงยืดออกจากเดิม 0.25 เมตร x F
  • 4. วิธีทา ก. จาก F = kx F = ( 150 )( 0.25 ) F = 37.5 N ข. จาก EP k.x2 2 1  EP (150)(0.25)2 2 1  EP = 4.6875 J