SlideShare a Scribd company logo
1 of 39
Download to read offline
รายวิชา เทคโนโลยี
รหัสวิชา ว21103
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เรื่อง สนุกกับการเขียนผังงาน 1
ผู้สอน ครูเจนจิรา โคตรวงค์
สนุกกับการเขียนผังงาน 1
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายความหมายและความสาคัญของ
อัลกอริทึมได้
2. ออกแบบและเขียนอัลกอริทึมในรูปแบบ
ต่างๆ ได้
ให้นักเรียนเขียนขั้นตอน
การมาโรงเรียนในตอนเช้า
ชวนคิด
อัลกอริทึม (Algorithm)
กระบวนการแก้ปัญหาที่สามารถอธิบายออกมา
เป็นขั้นตอนที่ชัดเจน เมื่อนาเข้าอะไร แล้วจะต้อง
ได้ผลลัพธ์เช่นไร กระบวนการนี้จะประกอบด้วย
วิธีการเป็นขั้นๆ และมีส่วนที่ต้องทาแบบวนซ้าอีก
จนกระทั่งเสร็จสิ้นการทางาน
1. มีลาดับขั้นตอนการทางาน ทั้งก่อน และหลังที่ชัดเจน
2. เข้าใจลาดับขั้นตอนง่ายและไม่กากวม
3. สามารถเข้าใจการประมวลผลการทางานด้วยคอมพิวเตอร์ได้
4. การทางานของอัลกอริทึมจะต้องสิ้นสุด หลังจากดาเนินงาน
ตามระยะที่เวลากาหนด
อัลกอริทึมที่ดีควรมีคุณสมบัติดังนี้
1. อธิบายแบบใช้ภาษาที่เราสื่อสารกันทั่วไป
2. อธิบายด้วยรหัสลาลองหรือรหัสเทียม (Pseudocode)
3. อธิบายด้วยผังงาน (Flowchart)
วิธีการในการอธิบาย Algorithm ได้แก่
วิธีการในการอธิบาย Algorithm
ได้แก่
การเขียนรหัสลาลองเป็นการใช้คาบรรยายอธิบาย
ขั้นตอนอย่างชัดเจนในการแก้ปัญหาหรือการทางานของ
โปรแกรมซึ่งรูปแบบการเขียนจะขึ้นอยู่กับประสบการณ์
และความถนัดของผู้เขียนโดยอาจเขียนเป็นภาษาพูดทาให้
เขียนง่ายไม่ต้องกังวลรูปแบบ
รหัสลาลอง (Pseudo code)
1. เขียนง่าย ไม่ต้องคานึงถึงวิธีการแก้ปัญหา และ
ไม่ต้องกังวลว่าจะเขียนผิดรูปแบบ
2. มีรูปแบบที่คล้ายกับภาษาโปรแกรมทาให้สามารถ
ดัดแปลงไปเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ได้ง่าย
ข้อดีของรหัสลาลอง (Pseudo code)
1. ต้องมีการเริ่มต้น (Start/Begin) ตามด้วยชื่อของ
กิจกรรมนั้น และต้องมีจุดสิ้นสุด (End) เสมอ
2. ใช้คาหรือประโยคสั้นๆ ที่สื่อความหมายได้ชัดเจน
และเข้าใจง่าย
3. รูปแบบการเขียนเป็นได้ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
วิธีการเขียนรหัสลาลอง (Pseudo code)
4. ลักษณะการเขียน เริ่มต้นจากบนลงล่าง โดยมีทางเข้า
หนึ่งทาง ทางออกหนึ่งทาง
5. การเขียนแต่ละคาสั่งควรแยกเป็นบรรทัด ไม่ควรเขียน
หลายคาสั่งในบรรทัดเดียว
6. การเขียนคาสั่งควรมีการย่อหน้าหรือเว้นวรรค เพื่อให้เกิด
ความสวยงาม เข้าใจง่าย
วิธีการเขียนรหัสลาลอง (Pseudo code)
ตัวอย่าง รหัสลาลองการเตรียมตัวไปโรงเรียน
(อ้างอิงตัวอย่างที่ 2.1 :: หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) บทที่ 2 การแก้ปัญหา หน้าที่ 28)
ตัวอย่าง รหัสลาลองการคานวณหาพื้นที่สามเหลี่ยม
(อ้างอิงตัวอย่างที่ 2.1 :: หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) บทที่ 2 การแก้ปัญหา หน้าที่ 28)
(สามารถดาวน์โหลดใบความรู้และใบงาน ได้ที่ www.dltv.ac.th รายวิชาเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1)
เรื่อง การเขียนอัลกอริทึม
ใบความรู้ที่ 2.1
ใบงานที่ 2.1 เรื่อง การเขียนอัลกอริทึม
1. อัลกอริทึม (Algorithm) คือ
2. อัลกอริทึมที่ดีควรมีคุณสมบัติอย่างไร
3. วิธีการเขียนรหัสลาลอง (Pseudo code)
หลักการดังนี้
4.ผังงาน (Flowchart) คือ
5. เรียงชุดอัลกอริทึมที่กาหนดให้ถูกต้อง
5.1 การใส่เสื้อเชิ้ต
5.2 การเดินทางมาโรงเรียน
5.3 การล้างจาน
ใบงานที่ 2.1 เรื่อง การเขียนอัลกอริทึม
นาเสนอ กิจกรรม
“เรียงรหัสลาลอง (Pseudo code)”
สรุป อัลกอริทึม
กระบวนการแก้ปัญหาที่สามารถอธิบายออกมา
เป็นขั้นตอนที่ชัดเจน เมื่อนาเข้าอะไร แล้วจะต้อง
ได้ผลลัพธ์เช่นไร
รหัสลาลองหรือรหัสเทียม (Pseudo code)
การเขียนรหัสลาลองเป็นการใช้คาบรรยายอธิบาย
ขั้นตอนอย่างชัดเจนในการแก้ปัญหาหรือการทางานของ
โปรแกรมซึ่งรูปแบบการเขียนจะขึ้นอยู่กับประสบการณ์
และความถนัดของผู้เขียนโดยอาจเขียนเป็นภาษาพูดทาให้
เขียนง่ายไม่ต้องกังวลรูปแบบ
สรุป รหัสลาลอง (Pseudo code)
ตัวอย่าง รหัสลาลองการเตรียมตัวไปโรงเรียน
(อ้างอิงตัวอย่างที่ 2.1 :: หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) บทที่ 2 การแก้ปัญหา หน้าที่ 28)
พบกันชั่วโมงต่อไป
เรื่อง สนุกกับการเขียนผังงาน 2
รายวิชา เทคโนโลยี
รหัสวิชา ว21103
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เรื่อง สนุกกับการเขียนผังงาน 2
ผู้สอน ครูเจนจิรา โคตรวงค์
สนุกกับการเขียนผังงาน 2
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. ออกแบบและเขียนอัลกอริทึมในรูปแบบ
ต่างๆ ได้
ผังงาน (Flowchart)
คือ แผนภาพแสดงลาดับขั้นตอนการทางานของ
Algorithm เป็นเครื่องมือใช้ในการรวบรวมจัดลาดับ
ความคิด เพื่อให้เห็นขั้นตอนการทางานที่ชัดเจน และใช้
วางแผนการทางานขั้นแรก โดยสัญลักษณ์ Flowchart
แสดงถึงการทางานลักษณะต่างๆ เชื่อมต่อกัน
ตารางสัญลักษณ์พื้นฐานในการเขียนอัลกอริทึม
อ้างอิงจาก : หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) บทที่ 1 แนวคิดเชิงคานวณ หน้าที่ 8
สัญลักษณ์ ชื่อเรียก ความหมาย
เริ่มต้นและจบ จุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดของผังงาน
การนาเข้าข้อมูล
จุดที่จะนาข้อมูลเข้าจากภายนอก
หรือ ออกสู่ภายนอก
โดยไม่ระบุชนิดของอุปกรณ์
สัญลักษณ์ ชื่อเรียก ความหมาย
การปฏิบัติงาน
จุดที่มีการปฏิบัติงาน
อย่างใดอย่างหนึ่ง
การตัดสินใจ
จุดที่จะต้องเลือกปฏิบัติ
อย่างใดอย่างหนึ่ง
ทิศทาง
ทิศทางขั้นตอนการทางานซึ่งจะต้อง
ปฏิบัติต่อเนื่องกันตามหัวลูกศรชี้
ประโยชน์ของผังงาน
1. ช่วยอธิบายลาดับขั้นตอนการทางานของโปรแกรม
2. ทาให้ตรวจสอบข้อผิดพลาดของโปรแกรมได้ง่าย
3. ทาให้ผู้อื่นสามารถศึกษาการทางานของโปรแกรม
และแก้ไขโปรแกรมได้ง่าย
มีลักษณะการทางานจะเป็นไปตามขั้นตอน
ก่อน-หลัง ต่อเนื่องกันไปเป็นลาดับ โดยการทางาน
แต่ละขั้นตอนต้องทาให้เสร็จก่อน แล้วจึงไปทา
ขั้นตอนต่อไป
การทางานแบบลาดับ(Sequential)
ตัวอย่าง การคานวณหาพื้นที่สามเหลี่ยม
เป็นโครงสร้างที่มีเงื่อนไขเพื่อให้ตัดสินใจเลือกว่าจะใช้
วิธีการใด โดยต้องมีการตรวจสอบเงื่อนไขว่าเป็นจริง
หรือไม่ หากเป็นจริงจะต้องไปทาคาสั่งชุดหนึ่ง แต่ถ้าเป็น
เท็จจะต้องไปทาคาสั่งอีกชุดหนึ่ง
การทางานแบบมีทางเลือก (Selection structure)
ตัวอย่าง หลังรับประทานอาหาร ถ้านักเรียนมีเงินเหลือจะซื้อขนม
เป็นโครงสร้างที่มีการวนการทางานซ้า ๆ
ตามเงื่อนไข เช่น การหาผลคูณของสูตรคูณ
การทางานแบบวนซ้า (iteration structure)
ตัวอย่าง นักเรียนร่วมวิ่งแข่งในงานกีฬาของหมู่บ้าน
ซึ่งไม่ครบ 5 กิโลเมตรจะไม่หยุดวิ่ง
4. ผังงาน (Flowchart) คือ
5. นาอัลกอริทึมที่เรียบเรียงเสร็จสมบูรณ์จากชั่วโมงที่แล้ว
มาเขียนลงในผังงาน(Flowchart)ให้ถูกต้อง
5.1 การใส่เสื้อเชิ้ต
5.2 การเดินทางมาโรงเรียน
5.3 การล้างจาน
ใบงานที่ 2.1 เรื่อง การเขียนอัลกอริทึม
นาเสนอ กิจกรรม
“ผังงาน(Flowchart)”
แผนภาพแสดงลาดับขั้นตอนการทางานของ
Algorithm เป็นเครื่องมือใช้ในการรวบรวมจัดลาดับ
ความคิด เพื่อให้เห็นขั้นตอนการทางานที่ชัดเจน
และใช้วางแผนการทางานขั้นแรก
สรุปผังงาน
พบกันชั่วโมงต่อไป
เรื่อง การเขียนอัลกอริทึมเพื่อแก้ไขปัญหา

More Related Content

What's hot

โครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาโครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาNattarika Wonkumdang
 
ใบงานที่ 2.1 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโครงงาน
ใบงานที่ 2.1 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโครงงานใบงานที่ 2.1 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโครงงาน
ใบงานที่ 2.1 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโครงงานThanawut Rattanadon
 
2 4โครงสร้างผังงานทำซ้ำ
2 4โครงสร้างผังงานทำซ้ำ2 4โครงสร้างผังงานทำซ้ำ
2 4โครงสร้างผังงานทำซ้ำPannathat Champakul
 
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6Nattapong Boonpong
 
กากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวกากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวJitrapron Tongon
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์Pazalulla Ing Chelsea
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันPreeyapat Lengrabam
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5Thanawut Rattanadon
 
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑พัน พัน
 
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์kand-2539
 
ลักษณะพืชพรรณธรรมชาติ
ลักษณะพืชพรรณธรรมชาติลักษณะพืชพรรณธรรมชาติ
ลักษณะพืชพรรณธรรมชาติKru Ongart Sripet
 
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงานแบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงานChess
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5krunuy5
 
การผูกผ้า
การผูกผ้าการผูกผ้า
การผูกผ้าThakorn Yimtae
 

What's hot (20)

โครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาโครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสา
 
กระดาษกล้วย
กระดาษกล้วยกระดาษกล้วย
กระดาษกล้วย
 
ใบงานที่ 2.1 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโครงงาน
ใบงานที่ 2.1 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโครงงานใบงานที่ 2.1 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโครงงาน
ใบงานที่ 2.1 เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาโครงงาน
 
2 4โครงสร้างผังงานทำซ้ำ
2 4โครงสร้างผังงานทำซ้ำ2 4โครงสร้างผังงานทำซ้ำ
2 4โครงสร้างผังงานทำซ้ำ
 
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
 
กากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวกากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิว
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
 
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ม.1-3
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 5
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
 
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ลักษณะพืชพรรณธรรมชาติ
ลักษณะพืชพรรณธรรมชาติลักษณะพืชพรรณธรรมชาติ
ลักษณะพืชพรรณธรรมชาติ
 
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงานแบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
 
การผูกผ้า
การผูกผ้าการผูกผ้า
การผูกผ้า
 

Similar to สนุกกับการเขียนผังงาน

แบบทดสอบหน่วยที่ 1 ผังงาน
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 ผังงานแบบทดสอบหน่วยที่ 1 ผังงาน
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 ผังงานAmonrat Tabklang
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดที่ 1มาณวิกา นาคนอก
 
แผนการสอน
แผนการสอนแผนการสอน
แผนการสอนOLe Promwichai
 
แบบเสนอโครงร่าง โครงงานคอมพิวเตอร์ 2557
แบบเสนอโครงร่าง โครงงานคอมพิวเตอร์ 2557แบบเสนอโครงร่าง โครงงานคอมพิวเตอร์ 2557
แบบเสนอโครงร่าง โครงงานคอมพิวเตอร์ 2557Kanjanaporn Thompat
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 1เศษส่วน
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 1เศษส่วนงานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 1เศษส่วน
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 1เศษส่วนsutham lrp
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 1เศษส่วน
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 1เศษส่วนงานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 1เศษส่วน
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 1เศษส่วนMSWORD2010 COMPUTER
 
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์Kutjung Rmuti
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 2 ทักษะการใช้แป้นพิมพ์และเมาส์
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 2 ทักษะการใช้แป้นพิมพ์และเมาส์งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 2 ทักษะการใช้แป้นพิมพ์และเมาส์
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 2 ทักษะการใช้แป้นพิมพ์และเมาส์MSWORD2010 COMPUTER
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 2 ทักษะการใช้แป้นพิมพ์และเมาส์
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 2 ทักษะการใช้แป้นพิมพ์และเมาส์งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 2 ทักษะการใช้แป้นพิมพ์และเมาส์
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 2 ทักษะการใช้แป้นพิมพ์และเมาส์sutham lrp
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 7 ฟังก์ชัน
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 7 ฟังก์ชันงานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 7 ฟังก์ชัน
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 7 ฟังก์ชันMSWORD2010 COMPUTER
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 7 ฟังก์ชัน
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 7 ฟังก์ชันงานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 7 ฟังก์ชัน
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 7 ฟังก์ชันsutham lrp
 
แผนการสอน 231223 การเขียนโปรแกรมภาษาซี ไตรภาค
แผนการสอน 231223 การเขียนโปรแกรมภาษาซี ไตรภาคแผนการสอน 231223 การเขียนโปรแกรมภาษาซี ไตรภาค
แผนการสอน 231223 การเขียนโปรแกรมภาษาซี ไตรภาคAtit Patumvan
 
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่Surapong Jakang
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4Meaw Sukee
 
การบันทึกงานโปรแกรม Paint
การบันทึกงานโปรแกรม Paintการบันทึกงานโปรแกรม Paint
การบันทึกงานโปรแกรม PaintDuangnapa Inyayot
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศณัฐพล บัวพันธ์
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 8 ลิมิตและลอการิทึม
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 8 ลิมิตและลอการิทึมงานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 8 ลิมิตและลอการิทึม
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 8 ลิมิตและลอการิทึมMSWORD2010 COMPUTER
 

Similar to สนุกกับการเขียนผังงาน (20)

แบบทดสอบหน่วยที่ 1 ผังงาน
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 ผังงานแบบทดสอบหน่วยที่ 1 ผังงาน
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 ผังงาน
 
1
11
1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ชุดที่ 1
 
แผนการสอน
แผนการสอนแผนการสอน
แผนการสอน
 
แบบเสนอโครงร่าง โครงงานคอมพิวเตอร์ 2557
แบบเสนอโครงร่าง โครงงานคอมพิวเตอร์ 2557แบบเสนอโครงร่าง โครงงานคอมพิวเตอร์ 2557
แบบเสนอโครงร่าง โครงงานคอมพิวเตอร์ 2557
 
บทเรียน ประกอบแผนที่ 7
บทเรียน ประกอบแผนที่ 7บทเรียน ประกอบแผนที่ 7
บทเรียน ประกอบแผนที่ 7
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 1เศษส่วน
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 1เศษส่วนงานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 1เศษส่วน
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 1เศษส่วน
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 1เศษส่วน
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 1เศษส่วนงานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 1เศษส่วน
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 1เศษส่วน
 
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
 
Coursework
CourseworkCoursework
Coursework
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 2 ทักษะการใช้แป้นพิมพ์และเมาส์
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 2 ทักษะการใช้แป้นพิมพ์และเมาส์งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 2 ทักษะการใช้แป้นพิมพ์และเมาส์
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 2 ทักษะการใช้แป้นพิมพ์และเมาส์
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 2 ทักษะการใช้แป้นพิมพ์และเมาส์
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 2 ทักษะการใช้แป้นพิมพ์และเมาส์งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 2 ทักษะการใช้แป้นพิมพ์และเมาส์
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 2 ทักษะการใช้แป้นพิมพ์และเมาส์
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 7 ฟังก์ชัน
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 7 ฟังก์ชันงานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 7 ฟังก์ชัน
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 7 ฟังก์ชัน
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 7 ฟังก์ชัน
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 7 ฟังก์ชันงานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 7 ฟังก์ชัน
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 7 ฟังก์ชัน
 
แผนการสอน 231223 การเขียนโปรแกรมภาษาซี ไตรภาค
แผนการสอน 231223 การเขียนโปรแกรมภาษาซี ไตรภาคแผนการสอน 231223 การเขียนโปรแกรมภาษาซี ไตรภาค
แผนการสอน 231223 การเขียนโปรแกรมภาษาซี ไตรภาค
 
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
 
การบันทึกงานโปรแกรม Paint
การบันทึกงานโปรแกรม Paintการบันทึกงานโปรแกรม Paint
การบันทึกงานโปรแกรม Paint
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 8 ลิมิตและลอการิทึม
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 8 ลิมิตและลอการิทึมงานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 8 ลิมิตและลอการิทึม
งานนำเสนอ หน่วยที่ 5 เรื่องที่ 2 8 ลิมิตและลอการิทึม
 

More from Janchai Pokmoonphon

สถานศึกษาพอเพียง
สถานศึกษาพอเพียงสถานศึกษาพอเพียง
สถานศึกษาพอเพียงJanchai Pokmoonphon
 
ด้านที่ 4 การจัการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ด้านที่ 4 การจัการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญด้านที่ 4 การจัการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ด้านที่ 4 การจัการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ Janchai Pokmoonphon
 
กฏหมายเเละมารยาทในสังคมดิจิทัล
กฏหมายเเละมารยาทในสังคมดิจิทัลกฏหมายเเละมารยาทในสังคมดิจิทัล
กฏหมายเเละมารยาทในสังคมดิจิทัลJanchai Pokmoonphon
 
การป้องกันตนเองเเละผู้อื่น
การป้องกันตนเองเเละผู้อื่นการป้องกันตนเองเเละผู้อื่น
การป้องกันตนเองเเละผู้อื่นJanchai Pokmoonphon
 
การเป็นพลเมืองดิจิทัล
การเป็นพลเมืองดิจิทัลการเป็นพลเมืองดิจิทัล
การเป็นพลเมืองดิจิทัลJanchai Pokmoonphon
 
เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่Janchai Pokmoonphon
 
บทที่ 5 เรื่องไฟฟ้าเเละอิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 เรื่องไฟฟ้าเเละอิเล็กทรอนิกส์บทที่ 5 เรื่องไฟฟ้าเเละอิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 เรื่องไฟฟ้าเเละอิเล็กทรอนิกส์Janchai Pokmoonphon
 
หน่วยที่ 5-กลไก
หน่วยที่ 5-กลไกหน่วยที่ 5-กลไก
หน่วยที่ 5-กลไกJanchai Pokmoonphon
 
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐานหน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐานJanchai Pokmoonphon
 
หน่วยที่ 4-วัสดุในชีวิตประจำวัน
หน่วยที่ 4-วัสดุในชีวิตประจำวันหน่วยที่ 4-วัสดุในชีวิตประจำวัน
หน่วยที่ 4-วัสดุในชีวิตประจำวันJanchai Pokmoonphon
 
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยีหน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยีJanchai Pokmoonphon
 
หน่วยที่ 2-การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี (2)
หน่วยที่ 2-การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี (2)หน่วยที่ 2-การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี (2)
หน่วยที่ 2-การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี (2)Janchai Pokmoonphon
 
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัว
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัวหน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัว
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัวJanchai Pokmoonphon
 
แนวคิดเชิงนามธรรม
แนวคิดเชิงนามธรรมแนวคิดเชิงนามธรรม
แนวคิดเชิงนามธรรมJanchai Pokmoonphon
 
เเนวคิดเชิงนามธรรม
เเนวคิดเชิงนามธรรมเเนวคิดเชิงนามธรรม
เเนวคิดเชิงนามธรรมJanchai Pokmoonphon
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยJanchai Pokmoonphon
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 3
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 3การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 3
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 3Janchai Pokmoonphon
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 4 เเละ บทที่ 5
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 4 เเละ บทที่ 5การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 4 เเละ บทที่ 5
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 4 เเละ บทที่ 5Janchai Pokmoonphon
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 2
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 2การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 2
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 2Janchai Pokmoonphon
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 1
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 1การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 1
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 1Janchai Pokmoonphon
 

More from Janchai Pokmoonphon (20)

สถานศึกษาพอเพียง
สถานศึกษาพอเพียงสถานศึกษาพอเพียง
สถานศึกษาพอเพียง
 
ด้านที่ 4 การจัการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ด้านที่ 4 การจัการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญด้านที่ 4 การจัการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ด้านที่ 4 การจัการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
 
กฏหมายเเละมารยาทในสังคมดิจิทัล
กฏหมายเเละมารยาทในสังคมดิจิทัลกฏหมายเเละมารยาทในสังคมดิจิทัล
กฏหมายเเละมารยาทในสังคมดิจิทัล
 
การป้องกันตนเองเเละผู้อื่น
การป้องกันตนเองเเละผู้อื่นการป้องกันตนเองเเละผู้อื่น
การป้องกันตนเองเเละผู้อื่น
 
การเป็นพลเมืองดิจิทัล
การเป็นพลเมืองดิจิทัลการเป็นพลเมืองดิจิทัล
การเป็นพลเมืองดิจิทัล
 
เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่
 
บทที่ 5 เรื่องไฟฟ้าเเละอิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 เรื่องไฟฟ้าเเละอิเล็กทรอนิกส์บทที่ 5 เรื่องไฟฟ้าเเละอิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 5 เรื่องไฟฟ้าเเละอิเล็กทรอนิกส์
 
หน่วยที่ 5-กลไก
หน่วยที่ 5-กลไกหน่วยที่ 5-กลไก
หน่วยที่ 5-กลไก
 
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐานหน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
 
หน่วยที่ 4-วัสดุในชีวิตประจำวัน
หน่วยที่ 4-วัสดุในชีวิตประจำวันหน่วยที่ 4-วัสดุในชีวิตประจำวัน
หน่วยที่ 4-วัสดุในชีวิตประจำวัน
 
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยีหน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
 
หน่วยที่ 2-การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี (2)
หน่วยที่ 2-การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี (2)หน่วยที่ 2-การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี (2)
หน่วยที่ 2-การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี (2)
 
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัว
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัวหน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัว
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัว
 
แนวคิดเชิงนามธรรม
แนวคิดเชิงนามธรรมแนวคิดเชิงนามธรรม
แนวคิดเชิงนามธรรม
 
เเนวคิดเชิงนามธรรม
เเนวคิดเชิงนามธรรมเเนวคิดเชิงนามธรรม
เเนวคิดเชิงนามธรรม
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 3
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 3การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 3
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 3
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 4 เเละ บทที่ 5
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 4 เเละ บทที่ 5การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 4 เเละ บทที่ 5
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 4 เเละ บทที่ 5
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 2
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 2การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 2
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 2
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 1
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 1การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 1
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 1
 

สนุกกับการเขียนผังงาน