SlideShare a Scribd company logo
1 of 49
Download to read offline
วัสดุในชีวิตประจำวัน
นักเรียนสามารถวิเคราะห์สมบัติของวัสดุและเครื่องมือช่างได้
นักเรียนสามารถเลือกใช้วัสดุและเครื่องมือช่างให้เหมาะสมกับ
งานและความปลอดภัยได้
จุดประสงค์ของบทเรียน
เหตุใด? สิ่งของเครื่องใช้ที่เรำใช้กันอยู่
จึงทำมำจำกวัสดุหลำกหลำยประเภท
วัสดุในชีวิตประจำวัน
วัสดุในชีวิตประจำวัน
สิ่งของเครื่องใช้ต่ำงๆ
สร้ำงขึ้นจำกวัสดุหลำกหลำย
ประเภท มีคุณสมบัติและ
ลักษณะที่แตกต่ำงกัน ควร
เลือกใช้วัสดุให้ถูกต้องและ
เหมำะสม
ตัวอย่ำง เช่น เก้ำอี้
-เก้ำอี้ไม้
-เก้ำอี้พลำสติก
-เก้ำอี้สเตนเลส
-เก้ำอี้บุนวม
-เก้ำอี้เหล็ก
และอื่นๆอีกมำกมำย
ตัวอย่ำง เช่น เก้ำอี้
วัสดุที่นำมำทำสิ่งของเครื่องใช้
ที่เรำพบเจอในชีวิตประจำวัน
ไม้ โลหะ พลำสติก ยำง
ไม้ (wood)
-คือวัสดุธรรมชำติที่ได้มำจำกลำต้นของต้นไม้
-สำมำรถนำมำใช้ประโยชน์ได้มำกมำย เพรำะ
-แข็งแรง ทนทำน
-ต้ำนทำนไฟฟ้ำ
-ไม่เป็นสนิม
-รูปร่ำงคงตัว
-ผิวเรียบ
-มีกลิ่นและลวดลำยเฉพำะตัว
ไม้ (wood)
แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ
ไม้ธรรมชำติหรือไม้จริง
(natural wood or solid wood)
ไม้ประกอบ
(processed wood)
ไม้ธรรมชำติหรือไม้จริง
ไม้ (wood)
-เป็นไม้ที่ได้มำจำกลำต้นของต้นไม้โดยตรง
ไม้ธรรมชำติหรือไม้จริง
ไม้ (wood)
-เป็นไม้ที่ได้มำจำกลำต้นของต้นไม้โดยตรง
แบ่งเป็น
ไม้เนื้อแข็ง(hardwood)
ไม้เนื้ออ่อน(softwood)
ไม้ (wood)
สมบัติ
- แข็งแรง ทนทำน น้ำหนักมำก
- เนื้อแน่น มัน
- ลำยไม้ละเอียด มีสีเข้ม (แดงถึงดำ)
กำรใช้งำน
- คำน โครงหลังคำ พื้น ฝำบ้ำน ประตู
- หน้ำต่ำง เฟอร์นิเจอร์ของใช้ในครัวเรือน
- เครื่องดนตรีไทย
ไม้เนื้อแข็ง(hardwood)
ไม้ (wood)
สมบัติ
- เนื้อไม้เหนียว
- น้ำหนักเบำ ใช้งำนง่ำย
- ไม่แข็งแรงมำก รับน้ำหนักได้ไม่ดี
- มีสีจำงอ่อน ไปถึงเข้ม
กำรใช้งำน
- ประตู หน้ำต่ำง เฟอร์นิเจอร์ของใช้ต่ำงๆ
- กล่องใส่วัสดุงำนตกแต่ง
- เครื่องดนตรีไทย
ไม้เนื้ออ่อน(softwood)
ไม้ประกอบ
(processed wood)
ไม้ (wood) -เป็นไม้ที่ทำขึ้นจำกกำรนำชิ้นส่วนไม้ มำต่อ
รวมกันด้วยกระบวนกำรต่ำงๆ
-ไม้ประกอบมีหลำยประเภท เช่น
ไม้อัด ไม้อัด OSB
ไม้ปาร์ติเคิลบอร์ด
ไม้ประกอบ
(processed wood)
ไม้อัด
ไม้อัด OSB
ไม้ปาร์ติเคิลบอร์ด
ไม้ (wood)
ไม้ (wood)
สมบัติ
- แข็งแรง
- ไม่ยืดหรือหดตัวเมื่อควำมชิ้นเปลี่ยนไป
กำรใช้งำน
- ผนังบ้ำน เฟอร์นิเจอร์ประเภทโต๊ะ เก้ำอี้
ตู้เก็บของ
ไม้อัด (plywood)
ไม้ (wood)
ไม้อัด OSB
(Oriented Strand Board)
สมบัติ
- เเข็งแรง เหนียว
- ทนควำมชื่นและเชื้อรำ
- ใช้งำนง่ำย กำรขำยและหดตัวต่ำ
กำรใช้งำน
- ตกแต่งภำยใน ฝ้ำ พื้น ผนัง เฟอร์นิเจอร์
ไม้ (wood)
ไม้อัดปาร์ติเคิลบอร์ด
(paticleboard)
สมบัติ
- เหนียว น้ำหนักเบำ
- ไม่ค่อยแข็งแรง ควำมต้ำนทำนแมลงต่ำ
- ไม่ค่อยทนต่อควำมชื้น
- อำยุกำรใช้งำนสั้นกว่ำไม้อัด
กำรใช้งำน
- ตกแต่งภำยใน เฟอร์นิเจอร์
ไม้ (wood)
• ไม้เนื้อแข็ง
• ไม้เนื้ออ่อน
ไม้ธรรมชาติ
หรือไม้จริง
• ไม้อัด
• ไม้อัด OSB
• ไม้ปาร์ติเคิลบอร์ด
ไม้ประกอบ
ไม้ (wood)
กระดาษ(paper)
- ทำมำจำกเยื่อไม้
- น้ำหนักเบำ
- สำมำรถย่อยสลำยได้ตำมธรรมชำติ
กำรใช้งำน
- จดบันทึก งำนพิมพ์ ประดิษฐ์สิ่งของ ฯลฯ
โลหะ (Metals)
- คือ วัสดุที่ได้จำกกำรถลุงสินแร่ธำตุ ๆ
- โลหะที่นำมำใช้งำน ส่วนใหญ่ผ่ำนกำรปรับปรุงคุณสมบัติมำแล้ว
- มีกำรนำโลหะมำใช้งำนกันอย่ำงหลำกหลำย เพรำะ
❖ เป็นตัวนำควำมร้อนและนำไฟฟ้ำได้ดี
❖ มีควำมแข็งแรงสูง มีควำมคงทนถำวร ไม่เสื่อมสลำยหรือ
เปลี่ยนสภำพได้ง่ำย
❖ เป็นวัตถุทึบแสง ทนทำนต่อกำรกัดกร่อน
❖ ตีเป็นแผ่นบำงหรือดึงเป็นเส้นลวดได้
โลหะ (Metals)
แบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ
โลหะกลุ่มเหล็ก
(ferrous metals)
โลหะนอกกลุ่มเหล็ก
(non-ferrous metals)
โลหะ (Metals)
- คือ โลหะที่มีเหล็กเป็นหลัก
- แบ่งเป็นเหล็กกล้ำ และเหล็กหล่อ
- มีธำตุคำร์บอนผสมอยู่ ตั้งแต่ 0.1% - 4%
- โดยคำร์บอนที่อยู่ในเหล็ก มีผลต่อควำม
แข็งและควำมเปรำะของเล็ก
- สมบัติโดยทั่วไปจะเกิดสนิม
- แข็งแรงสูง
- ปรับเปรี่ยนคุณภำพและรูปแบบได้โดยกำร
กลึง เจำะ ไส รีดเป็นแผ่นบำงได้
โลหะกลุ่มเหล็ก
(ferrous metals)
เหล็กกล้า(steel)
โลหะ (Metals)
สมบัติ
- มีควำมแข็งแรงสูง
- เปลี่ยนแปลงรูปร่ำงได้ง่ำย
- เกิดสนิมได้ง่ำย
กำรใช้งำน
- ของใช้ในครัวเรือน
- กระป๋อง บรรจุภัณฑ์
- ชิ้นส่วนอะไหล่ อุปกรณ์ เครื่องมือต่ำงๆ
- ลวด กรรไกร ใบมีดโกน
โลหะ (Metals)
สมบัติ
- มีควำมแข็งแรงมำก
- เปรำะ มีควำมเหนียวน้อย
- เกิดสนิมได้ง่ำย
กำรใช้งำน
- ของใช้ในครัว
- ชิ้นส่วนเครื่องจักร
- ฝำท่อระบำยน้ำ
- รั้ว ชิ้นส่วนรถยนต์
เหล็กหล่อ(cast Iron)
สเตนเลส(Stainless steel)
เกร็ดน่ำรู้
- เป็นเหล็กกล้ำที่มีกำรเติมธำติโครเมียม
- ทำให้มีสมบัติต้ำนทำนกำรกัดกร่อน
- ไม่เกิดสนิม
โลหะนอกกลุ่มเหล็ก
(non-ferrous metals)
โลหะ (Metals)
- คือ โลหะที่ไม่มีเหล็กเป็นส่วนประกอบ
- ทำให้โลหะประเภทนี้ไม่เกิดสนิม
- ไม่ดูดติดกับแม่เหล็ก
โลหะนอกกลุ่มเหล็ก
(non-ferrous metals)
โลหะ (Metals) - คือ โลหะที่ไม่มีเหล็กเป็นส่วนประกอบ
- ทำให้โลหะประเภทนี้ไม่เกิดสนิม
- ไม่ดูดติดกับแม่เหล็ก
อะลูมิเนียม ทองแดง
สังกะสี ทองเหลือง
โลหะ (Metals)
สมบัติ
- น้ำหนักเบำ เปลี่ยนรูปร่ำงได้ง่ำย
- มีสีเทำเงิน สะท้อนแสงได้ดี
- นำไฟฟ้ำและควำมร้อนได้ดี
กำรใช้งำน
- กรอบประตูหรือหน้ำต่ำง
- ฟอยล์ห่ออำหำร
- ส่วนประกอบของเครื่องบิน
- กระป๋องน้ำอัดลม
อะลูมิเนียม(Aluminium)
โลหะ (Metals)
สมบัติ
- นำควำมร้อนและไฟฟ้ำได้ดี
- มีสีน้ำตำลแดง
- ทนทำนต่อกำรกัดกร่อน
กำรใช้งำน
- สำยไฟ เคเบิล
- อุปกรณ์ในเครื่องกำเนิดไฟฟ้ำ
- อุปกรณ์ส่งน้ำ
- เครื่องประดับ ตกแต่ง เหรียญกษำปณ์
ทองแดง(Copper)
โลหะ (Metals)
สมบัติ
- มีควำมแข็งแต่เปรำะ
- สีเงิน มันวำว
- ทนต่อกำรกัดกร่อน
กำรใช้งำน
- เคลือบโลหะ เพื่อป้องกันสนิม
และกำรกัดกร่อน
สังกะสี(Zinc)
โลหะ (Metals)
สมบัติ
- มีควำมแข็งแกร่ง
- มีสีเหลืองทอง
- นำไฟฟ้ำและควำมร้อนได้ดี
กำรใช้งำน
- พำน แจกัน ก๊อกน้ำ
- ลูกบิดประตู
- ข้อต่อเครื่องจักร เครื่องดนตรี
ทองเหลือง(brass)
กังหันน้าชัยพัฒนา
เกร็ดน่ำรู้
- ทำมำจำกสเตนเลส
- ซึ่งมีควำมแข็งแรง ทนทำน ต่อกำรใช้งำน
- ต้ำนทำนกำรกัดกร่อนหรือกำรเกิดสนิม
โลหะ
• เหล็กกล้า
• เหล็กหล่อ
โลหะกลุ่มเหล็ก
• อะลูมิเนียม
• ทองแดง
• สังกะสี
• ทองเหลือง
โลหะนอกกลุ่มเหล็ก
พลำสติก (plastics)
- คือ วัสดุสังเครำะห์ที่มนุษย์สร้ำงขึ้น สังเครำะห์จำกกลั่นน้ำมันดิบ
- พลำสติก สำมำรถแบ่งได้ 2 ประเภท คือ
พลำสติก (plastics)
- คือ วัสดุสังเครำะห์ที่มนุษย์สร้ำงขึ้น สังเครำะห์จำกกลั่นน้ำมันดิบ
- พลำสติก สำมำรถแบ่งได้ 2 ประเภท คือ
เทอร์โมพลำสติก
(thermoplastics)
เทอร์โมเซตติ้ง พลำสติก
(thermosetting plastics)
เทอร์โมพลำสติก
(thermoplastics)
พลำสติก (plastics)
สมบัติ
- ทนต่อแรงดึงได้สูง
- หลอมให้อ่อนตัวและแข็งตัวเมื่อเย็นได้
หลำยครั้ง โดยไม่ทำลำยโครงสร้ำงเดิม
- นำมำผ่ำนกระบวนกำรผลิตได้หลำยครั้ง
กำรใช้งำน
- ถุงใส่ของ ขวดน้ำ จำร ช้อนส้อม ขน
แปรงสีฟัน สำยยำง เชือก กระเป๋ำ
รองเท้ำ ไม้บรรทัด พลำสติกลูกฟูก
เทอร์โมพลำสติก
(thermoplastics)
อะคริลิก พอลิไวนิลครอไรด์
พอลิสไตรีน พอลิเอทิลีน
พลำสติก (plastics)
โฟม
เกร็ดน่ำรู้
- ผลิตจำกเทอร์โมพลำสติก พอลิสเตรีน
- ใช้สำรที่ทำให้พลำสติกขยำยตัว
และขึ้นรูป
- สำมำรถรับแรงกระแทกได้ดี
- เป็นฉนวนควำมร้อนและควำมเย็นได้
พลำสติก (plastics)
สมบัติ
- มีควำมแข็งแรง
- ทนต่อกำรเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ
- ถ้ำได้รับควำมร้อนจะไม่อ่อนตัว
- ไม่สำมำรถหลอมหรือนำกลับมำใช้ใหม่
- กำรใช้งำน
จำน ชำม แก้วน้ำ ของใช้ในครัวเรือน
กระดุม กระดำนขำวลบได้ เครื่องเด็กเล่น
ของแต่งสวน ถังขนำดใหญ่ ลำเรือ
เทอร์โมเซตติ้ง พลำสติก
(thermosetting plastics)
เทอร์โมเซตติ้ง พลำสติก
(thermosetting plastics)
เมลามีน
พอลิเอสเทอร์เรซิน
พลำสติก (plastics)
พลาสติก
เทอร์โมพลาสติก
-อะคริลิก
-พอลิไวนิลคลอไรด์
-พอลิสไตรีน
-พอลิเอทิลีน
เทอร์โมเซตติ้ง พลาสติก
-เมลามีน
-พอลิเอสเทอร์เรซิน
ยำง (rubber)
- คือ วัสดุที่มีควำมยืดหยุ่น เมื่อออกแรงดึงหรือกด
- ยำงจะยืดหรือยุบและกลับสู่สภำพเดิมได้เมื่อปล่อยให้ยำงเป็นอิสระ
- ยำงถูกนำไปแปรรูปเพื่อใช้ประโยชน์ในกำรสร้ำงสิ่งของเครื่องใช้
- สำมำรถแบ่งได้เป็น
ยำงธรรมชำติ
(natural rubber)
ยำงสังเครำะห์
(synthetic rubber)
ยำง (rubber)
- คือ ผลผลิตที่ได้จำกต้นยำง
- ใช้งำนได้ในช่วงอุณหภูมิที่จำกัด
- ยืดหยุ่นสูง ทนต่อกำรฉีกขำด
- ไม่ทนต่อตัวทำละลำยพวกน้ำมัน
- มักเสื่อมสภำพเร็ว ภำยใต้
- แสงแดง ควำมร้อน ออกซิเจน
ยำงธรรมชำติ
(natural rubber)
ยำง (rubber)
ยำงธรรมชำติ
(natural rubber)
- น้ำยำงดิบจะถูกแปลสภำพใน 2 ลักษณะ คือ
❖ ยำงข้น เป็นวัตถุดิบในกำรผลิตของใช้ เช่น
- ถุงมือยำง ยำงรัดของ ลูกโป่ง
- ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ เครื่องมือทำง
กำรแพทย์
❖ ยำงแห้ง ยำงแผ่นรมควัน ยำยแผ่นผึ่งแห้ง
หรือยำงแท่ง ใช้เป็นวัตถุดิบในกำรผลิด
- รองเท้ำ ยำงรถจักรยำน รถยนต์
ยำง (rubber)
ยำงธรรมชำติ
(natural rubber)
สมบัติ
- ยืดหยุ่นสูง
- ทนต่อกำรฉีกขำดและกำรสึกหรอ
- ไม่ทนต่อพวกน้ำมันปิโตรเลียม
- เสื่อมสภำพเร็ว ภำยใต้แสงแดง ควำม
ร้อน อ๊อกซิเจน
- กำรใช้งำน
ถุงมือยำง ยำงรัดของ ลูกโป่ง ชิ้นส่วน
อิเล็กทรอนิกส์ เครื่องมือทำงกำรแพทย์ ยำง
รถยนต์ ยำงรถจักรยำน สำยพำนต่ำงๆ
ยำง (rubber)
- คือ ยำงที่ได้จำกกำรสังเครำะห์ทำงเคมี
- สำมำรถปรับปรุงคุณสมบัติได้ เช่น
❖ สภำพยืดหยุ่น ควำมทนต่อเปลวไฟ
❖ ควำมทนทำนต่อแรงดึงและฉีกขำด
❖ สภำพอำกำศ แสงแดด สำรเคมี
ยำงสังเครำะห์
(synthetic rubber)
ยำง (rubber) สมบัติ
- ยืดหยุ่นสูง
- ปรับกรุงสมบัติได้ตำมที่ต้องกำร
- ทนต่อกำรใข้งำน เสื่อมสภำพช้ำ
- กำรใช้งำน
จุกนม ของเล่น สิ่งของเครื่องใช้
เครื่องประดับตกแต่ง อุปกรณ์ทำง
กำรแพทย์ ยำงรถยนต์ ฉนวนหุ้มสำยไฟ
กำวยำง ยำงสำยพำน ยำงกันกระแทก
ยำงสังเครำะห์
(synthetic rubber)
แบบฝึกหัด
ให้นักเรียนทำแบบทดสอบใน google form

More Related Content

More from Janchai Pokmoonphon

More from Janchai Pokmoonphon (15)

หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐานหน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
หน่วยที่ 4-เครื่องมือช่างพื้นฐาน
 
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยีหน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
 
หน่วยที่ 2-การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี (2)
หน่วยที่ 2-การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี (2)หน่วยที่ 2-การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี (2)
หน่วยที่ 2-การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี (2)
 
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัว
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัวหน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัว
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัว
 
สนุกกับการเขียนผังงาน
สนุกกับการเขียนผังงานสนุกกับการเขียนผังงาน
สนุกกับการเขียนผังงาน
 
แนวคิดเชิงนามธรรม
แนวคิดเชิงนามธรรมแนวคิดเชิงนามธรรม
แนวคิดเชิงนามธรรม
 
เเนวคิดเชิงนามธรรม
เเนวคิดเชิงนามธรรมเเนวคิดเชิงนามธรรม
เเนวคิดเชิงนามธรรม
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 3
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 3การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 3
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 3
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 4 เเละ บทที่ 5
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 4 เเละ บทที่ 5การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 4 เเละ บทที่ 5
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 4 เเละ บทที่ 5
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 2
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 2การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 2
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 2
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 1
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 1การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 1
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ บทที่ 1
 
ข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แนวทางการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
แนวทางการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์แนวทางการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
แนวทางการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
 
วิธีการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
วิธีการทำโครงงานคอมพิวเตอร์วิธีการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
วิธีการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 

หน่วยที่ 4-วัสดุในชีวิตประจำวัน