SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
โรงเรียนนาโพธิ์พิทยาคม โรงเรียนนาโพธิ์พิทยาคม นำโดย ผู้อำนวยการ มาโนช  นาคสมบูรณ์
เขม่าป่า เขม่าป่า งานสวนพฤกษศาสตร์  โรงเรียนนาโพธิ์พิทยาคม
ชื่อ เขม่าป่า ชื่อพื้นเมือง   :  หมากเหม่า ชื่อวิทยาศาสตร์  :   Antidesma  sp. ชื่อวงศ์   :  EUPHORBIACEAE ชื่อสามัญ   :  - ชื่ออื่นๆ    :  หมากเหม่า ( อิสาน ),  ส้มกุ้ง ( โคราช )
ลักษณะ เขม่าป่าเป็นพืชพื้นเมืองของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบ  ชอบขึ้นตามป่าร่วมกับพันธุ์ไม้ชนิดอื่นในลักษณะพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน คนในท้องถิ่นนิยมนำผลมารับประทานเล่นเป็นของว่างจิ้มพริกเกลือเพราะมีรสเปรี้ยว เป็นยาระบายและเปลือกสามารถนำมาเป็นสีย้อมผ้าให้สีน้ำตาลอ่อนที่สวยงาม
การศึกษา การศึกษาเขม่าป่าครั้งนี้เราได้แบ่งหัวข้อในการศึกษาเป็น  3  ด้าน ดังนี้ การศึกษาเขม่า ด้านรูปร่างลักษณะ ด้านคุณสมบัติ ด้านพฤติกรรม
ลักษณะ ด้านรูปร่างลักษณะ  เป็นไม้ต้น  รูปทรงลำต้นตั้งตรง  รูปร่างทรงพุ่มเป็นรูปโดมสามเหลี่ยมการแตกกิ่งของลำต้นเป็นแบบแตกกิ่งมาก  (Deliquescent branching)  ลำต้นไม่มีข้อปล้อง  ลักษณะวิสัย
ราก ราก คุณสมบัติของราก   ระคายเคืองเมื่อสัมผัส  สีของน้ำยางขาวใส  ลักษณะการแตกกิ่งก้านเป็นร่างแห  มีกลิ่นอ่อนๆ ไม่มีพิษ  ทนทานต่อแมลงคุณสมบัติทางเคมีเป็นเบส
ลำต้น เป็นลำต้นเหนือดินตั้งตรงเองได้  ลำต้นมียาง  สีของน้ำยางใส  ผิวของลำต้นขรุขระแตกเป็นสะเก็ด  สีกิ่งเป็นสีเทาดำกลางๆ ลำต้น
ใบ ใบเดี่ยวลักษณะการเรียงตัว ของเส้นใบ  เรียงแบบร่างหาความยาวของก้านใบ  ประมาณ  0.5  เซนติเมตร  สีของก้านใบสีเขียวแก่ไม่มีหูใบ ลักษณะรูปร่างของใบ เป็นรูปไข่หรือไข่กลับ  ลักษณะปลายใบเป็นแบบติ่งหนาม  ลักษณะโครงใบมน  ลักษณะขอบใบเป็นขนครุยขนาดของใบ  ความยาว  2-3  นิ้ว  ความกว้าง  1 – 1.5  นิ้ว ใบ
สีของใบ สีของใบ   ใบอ่อนสีเขียวอ่อนของ  ใบแก่สีเขียวแก่  ลักษณะการเรียงตัวของใบ  เรียงสลับในระนาบเดียวกันผิวใบเกลี้ยงหรือมีขนขึ้นเล็กน้อยตามเส้นใบและด้านหลังใบ  ความเหนียวของใบปานกลาง
ดอก ชนิดของดอก   เป็นดอกช่อชนิดที่เรียกว่า  ราซีม  (Raceme)  ตำแหน่งที่ออกดอก  ซอกใบและปลายยอด  รูปทรงของดอก  และดอกย่อย  ไม่สมมาตร  สีของดอก  เมื่ออ่อนสีจะเหลืองนวลและจะค่อยๆ เปลี่ยนเป็นสีแดงเมื่อใกล้จะร่วง ดอก
จำนวนเกสร จำนวนเกสรเพศผู้   ในแต่ละดอกย่อยมี  4 – 5  อัน  และแต่ละช่อมีดอกย่อยอยู่  45 – 50  ดอก  กลิ่นของดอก  มีกลิ่นหอมซึ่งสามารถไล่แมลงได้    ดอกเป็นดอกไม่สมบูรณ์เพศ  แยกเพศ  แยกต้น  ขนาดของดอกเล็กมาก  ความยาวของก้านดอก  0.2  เซนติเมตร
ผล ชนิดของผล   ผลสด  ออกเป็นกลุ่ม  รูปทรงของผลกลมเบี้ยว  สีของผลอ่อนสีเขียวและสีของผลแก่เขียวแก่และเมื่อสุกจะมีสีแดงคล้ำเกือบดำ  ลักษณะพิเศษของผล  อยู่รวมกันเป็นช่อ  ขนาดของผล  ประมาณ  0.5  เซนติเมตร  ผล
เมล็ด เมล็ด   จำนวน  1  เมล็ด / ผล  รูปร่างของเมล็ดกลม  ขนาดของเมล็ดเล็กมาก  สีของเมล็ด  สีน้ำตาลอ่อน  การงอกของเมล็ด  ใบเลี้ยงอยู่เหนือดิน  สามารถใช้ขยายพันธุ์ได้  เมล็ด
คุณสมบัติ ด้านคุณสมบัติ รสชาติใบฝาดอมเปรี้ยวเล็กน้อย  ใบไม่ระคายเคืองเมื่อสัมผัส  ใบเขม่าป่าไม่มีพิษ  กลิ่นของใบหอมอ่อนๆ ความเหนียวของใบปานกลาง  ใบเขม่าป่าไม่ทนทานต่อแมลง  ผิวของใบเกลี้ยงแต่ใต้ใบมีขนเล็กๆ
พฤติกรรม ด้านพฤติกรรม  คนในท้องถิ่นนิยมนำผลมารับประทานเป็นของว่าง  ต้นใช้เป็นร่มเงา  เปลือกสามารถนำมาเป็นสีย้อมผ้าให้สีม่วงอมชมพู  เปลือกต้นฝาดสมานลิ้น  ใช้บำรุงกำลัง  ใบทาแก้ปวดศีรษะ แก้โรคผิวหนัง  ท้องบวม  ระหว่างพืชกับคน
พืชกับสัตว์ แมลงบางชนิด  เช่น  ด้วงงวงช้างชอบเจาะกินใบเป็นรอยหยักลึกจนถึงเส้นกลางใบ  เมื่อออกดอกมี  แมลงหวี่ ,  แมลงวัน ,  ผึ้ง ,  แมลงวันหัวเขียวมาตอมดอกบานตลอดทั้งวัน  โดยดูดน้ำหวานจากเกสร  เป็นจำนวนมากซึ่งเป็นการช่วยผสมเกสรในการขยายพันธุ์  ระหว่างพืชกับสัตว์ต่างๆ
พืชกับพืช เขม่าจะขึ้นได้ดีในบริเวณที่มีต้นกล้วย  ต้นกระถิน  ต้นขี้เหล็กสาร  ไม้เหล่านี้มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตของเขม่าป่าเพราะชอบอยู่ร่วมกับพันธุ์ไม้ชนิดอื่น  และนอกจากนี้ยังมีต้นไม้อื่นมาพึ่งพา  เช่น  กาฝาก  เถาวัลย์  และไม้อื่นๆ  ระหว่างพืชกับพืช
พืชกับจุลินทรีย์ มีจุลินทรีย์ขึ้นที่เปลือกของลำต้น  เมื่อต้นโตขึ้นจะแตกเป็นสายและหลุดลอกหรือผลัดเปลือกใหม่  จุลินทรีย์ที่ย่อยสลายส่วนเปลือกมีการย่อยสลายมากในฤดูฝน  เพราะความชื้นมีอิทธิพลในการย่อยสลายของเปลือกมาก  ระหว่างพืชกับจุลินทรีย์
ประโยชน์ ต้นเขม่าป่าใช้เป็นร่มเงา  ผลรับประทานเป็นของว่างและเป็นยาระบาย  เปลือกของลำต้นใช้ทำเป็นสีย้อมผ้าโดยให้สีน้ำตาลอ่อน ประโยชน์

More Related Content

What's hot

การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตการดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตKan Pan
 
Biomapcontest2014 คาเสะ
Biomapcontest2014 คาเสะBiomapcontest2014 คาเสะ
Biomapcontest2014 คาเสะWichai Likitponrak
 
บท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอกบท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอกWichai Likitponrak
 
[1]ความหลากหลายของพืช
[1]ความหลากหลายของพืช[1]ความหลากหลายของพืช
[1]ความหลากหลายของพืชprachabumrung
 
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้Wann Rattiya
 
[1]ความหลากหลายของพืช
[1]ความหลากหลายของพืช[1]ความหลากหลายของพืช
[1]ความหลากหลายของพืชprachabumrung
 
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน110.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1Wichai Likitponrak
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งWichai Likitponrak
 

What's hot (20)

การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตการดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
การดำรงพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต
 
Biomapcontest2014 คาเสะ
Biomapcontest2014 คาเสะBiomapcontest2014 คาเสะ
Biomapcontest2014 คาเสะ
 
บท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอกบท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอก
 
Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3
 
Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7
 
[1]ความหลากหลายของพืช
[1]ความหลากหลายของพืช[1]ความหลากหลายของพืช
[1]ความหลากหลายของพืช
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3
 
Antidesma
AntidesmaAntidesma
Antidesma
 
Biomapcontest2014 powergirls
Biomapcontest2014 powergirlsBiomapcontest2014 powergirls
Biomapcontest2014 powergirls
 
Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5
 
Plant ser 144_60_9
Plant ser 144_60_9Plant ser 144_60_9
Plant ser 144_60_9
 
Biomapcontest2014 timber
Biomapcontest2014 timberBiomapcontest2014 timber
Biomapcontest2014 timber
 
New species
New speciesNew species
New species
 
Plant ser 143_60_8
Plant ser 143_60_8Plant ser 143_60_8
Plant ser 143_60_8
 
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้
แบบฝึกหัดที่ 3 ส่วนประกอบของต้นไม้
 
[1]ความหลากหลายของพืช
[1]ความหลากหลายของพืช[1]ความหลากหลายของพืช
[1]ความหลากหลายของพืช
 
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน110.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
 
Plant ser 144_60_4
Plant ser 144_60_4Plant ser 144_60_4
Plant ser 144_60_4
 

Similar to Antidesma sp.

รายงาน.Ppt ชฎาพร
รายงาน.Ppt ชฎาพรรายงาน.Ppt ชฎาพร
รายงาน.Ppt ชฎาพรfongkasa
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Daranpop Doungdetch
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰Gawewat Dechaapinun
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰Gawewat Dechaapinun
 
ข้อมูลพรรณไม้
ข้อมูลพรรณไม้ข้อมูลพรรณไม้
ข้อมูลพรรณไม้pukesasin
 
งานนำเสนอ222
งานนำเสนอ222งานนำเสนอ222
งานนำเสนอ222saifon147
 
กระเจี๊ยบแดง
กระเจี๊ยบแดงกระเจี๊ยบแดง
กระเจี๊ยบแดงVaree Supa
 
บทที่-7-ผลและเมล็ด.ppt
บทที่-7-ผลและเมล็ด.pptบทที่-7-ผลและเมล็ด.ppt
บทที่-7-ผลและเมล็ด.pptBewwyKh1
 
สมุนไพรไทย01
สมุนไพรไทย01สมุนไพรไทย01
สมุนไพรไทย01toonkp_shadow
 
องค์ประกอบของดอก
องค์ประกอบของดอกองค์ประกอบของดอก
องค์ประกอบของดอกKrupoonsawat
 

Similar to Antidesma sp. (20)

รายงาน.Ppt ชฎาพร
รายงาน.Ppt ชฎาพรรายงาน.Ppt ชฎาพร
รายงาน.Ppt ชฎาพร
 
Plant ser 126_60_4
Plant ser 126_60_4Plant ser 126_60_4
Plant ser 126_60_4
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5
 
Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
SARAPEE
SARAPEESARAPEE
SARAPEE
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
2
22
2
 
สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย
สมุนไพร  ภูมิปัญญาไทยสมุนไพร  ภูมิปัญญาไทย
สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย
 
Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10
 
ข้อมูลพรรณไม้
ข้อมูลพรรณไม้ข้อมูลพรรณไม้
ข้อมูลพรรณไม้
 
งานนำเสนอ222
งานนำเสนอ222งานนำเสนอ222
งานนำเสนอ222
 
Plant ser 144_60_1
Plant ser 144_60_1Plant ser 144_60_1
Plant ser 144_60_1
 
Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2
 
กระเจี๊ยบแดง
กระเจี๊ยบแดงกระเจี๊ยบแดง
กระเจี๊ยบแดง
 
Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9
 
บทที่-7-ผลและเมล็ด.ppt
บทที่-7-ผลและเมล็ด.pptบทที่-7-ผลและเมล็ด.ppt
บทที่-7-ผลและเมล็ด.ppt
 
สมุนไพรไทย01
สมุนไพรไทย01สมุนไพรไทย01
สมุนไพรไทย01
 
องค์ประกอบของดอก
องค์ประกอบของดอกองค์ประกอบของดอก
องค์ประกอบของดอก
 

Antidesma sp.

  • 2. เขม่าป่า เขม่าป่า งานสวนพฤกษศาสตร์ โรงเรียนนาโพธิ์พิทยาคม
  • 3. ชื่อ เขม่าป่า ชื่อพื้นเมือง : หมากเหม่า ชื่อวิทยาศาสตร์ : Antidesma sp. ชื่อวงศ์ : EUPHORBIACEAE ชื่อสามัญ : - ชื่ออื่นๆ : หมากเหม่า ( อิสาน ), ส้มกุ้ง ( โคราช )
  • 4. ลักษณะ เขม่าป่าเป็นพืชพื้นเมืองของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบ ชอบขึ้นตามป่าร่วมกับพันธุ์ไม้ชนิดอื่นในลักษณะพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน คนในท้องถิ่นนิยมนำผลมารับประทานเล่นเป็นของว่างจิ้มพริกเกลือเพราะมีรสเปรี้ยว เป็นยาระบายและเปลือกสามารถนำมาเป็นสีย้อมผ้าให้สีน้ำตาลอ่อนที่สวยงาม
  • 5. การศึกษา การศึกษาเขม่าป่าครั้งนี้เราได้แบ่งหัวข้อในการศึกษาเป็น 3 ด้าน ดังนี้ การศึกษาเขม่า ด้านรูปร่างลักษณะ ด้านคุณสมบัติ ด้านพฤติกรรม
  • 6. ลักษณะ ด้านรูปร่างลักษณะ เป็นไม้ต้น รูปทรงลำต้นตั้งตรง รูปร่างทรงพุ่มเป็นรูปโดมสามเหลี่ยมการแตกกิ่งของลำต้นเป็นแบบแตกกิ่งมาก (Deliquescent branching) ลำต้นไม่มีข้อปล้อง ลักษณะวิสัย
  • 7. ราก ราก คุณสมบัติของราก ระคายเคืองเมื่อสัมผัส สีของน้ำยางขาวใส ลักษณะการแตกกิ่งก้านเป็นร่างแห มีกลิ่นอ่อนๆ ไม่มีพิษ ทนทานต่อแมลงคุณสมบัติทางเคมีเป็นเบส
  • 8. ลำต้น เป็นลำต้นเหนือดินตั้งตรงเองได้ ลำต้นมียาง สีของน้ำยางใส ผิวของลำต้นขรุขระแตกเป็นสะเก็ด สีกิ่งเป็นสีเทาดำกลางๆ ลำต้น
  • 9. ใบ ใบเดี่ยวลักษณะการเรียงตัว ของเส้นใบ เรียงแบบร่างหาความยาวของก้านใบ ประมาณ 0.5 เซนติเมตร สีของก้านใบสีเขียวแก่ไม่มีหูใบ ลักษณะรูปร่างของใบ เป็นรูปไข่หรือไข่กลับ ลักษณะปลายใบเป็นแบบติ่งหนาม ลักษณะโครงใบมน ลักษณะขอบใบเป็นขนครุยขนาดของใบ ความยาว 2-3 นิ้ว ความกว้าง 1 – 1.5 นิ้ว ใบ
  • 10. สีของใบ สีของใบ ใบอ่อนสีเขียวอ่อนของ ใบแก่สีเขียวแก่ ลักษณะการเรียงตัวของใบ เรียงสลับในระนาบเดียวกันผิวใบเกลี้ยงหรือมีขนขึ้นเล็กน้อยตามเส้นใบและด้านหลังใบ ความเหนียวของใบปานกลาง
  • 11. ดอก ชนิดของดอก เป็นดอกช่อชนิดที่เรียกว่า ราซีม (Raceme) ตำแหน่งที่ออกดอก ซอกใบและปลายยอด รูปทรงของดอก และดอกย่อย ไม่สมมาตร สีของดอก เมื่ออ่อนสีจะเหลืองนวลและจะค่อยๆ เปลี่ยนเป็นสีแดงเมื่อใกล้จะร่วง ดอก
  • 12. จำนวนเกสร จำนวนเกสรเพศผู้ ในแต่ละดอกย่อยมี 4 – 5 อัน และแต่ละช่อมีดอกย่อยอยู่ 45 – 50 ดอก กลิ่นของดอก มีกลิ่นหอมซึ่งสามารถไล่แมลงได้ ดอกเป็นดอกไม่สมบูรณ์เพศ แยกเพศ แยกต้น ขนาดของดอกเล็กมาก ความยาวของก้านดอก 0.2 เซนติเมตร
  • 13. ผล ชนิดของผล ผลสด ออกเป็นกลุ่ม รูปทรงของผลกลมเบี้ยว สีของผลอ่อนสีเขียวและสีของผลแก่เขียวแก่และเมื่อสุกจะมีสีแดงคล้ำเกือบดำ ลักษณะพิเศษของผล อยู่รวมกันเป็นช่อ ขนาดของผล ประมาณ 0.5 เซนติเมตร ผล
  • 14. เมล็ด เมล็ด จำนวน 1 เมล็ด / ผล รูปร่างของเมล็ดกลม ขนาดของเมล็ดเล็กมาก สีของเมล็ด สีน้ำตาลอ่อน การงอกของเมล็ด ใบเลี้ยงอยู่เหนือดิน สามารถใช้ขยายพันธุ์ได้ เมล็ด
  • 15. คุณสมบัติ ด้านคุณสมบัติ รสชาติใบฝาดอมเปรี้ยวเล็กน้อย ใบไม่ระคายเคืองเมื่อสัมผัส ใบเขม่าป่าไม่มีพิษ กลิ่นของใบหอมอ่อนๆ ความเหนียวของใบปานกลาง ใบเขม่าป่าไม่ทนทานต่อแมลง ผิวของใบเกลี้ยงแต่ใต้ใบมีขนเล็กๆ
  • 16. พฤติกรรม ด้านพฤติกรรม คนในท้องถิ่นนิยมนำผลมารับประทานเป็นของว่าง ต้นใช้เป็นร่มเงา เปลือกสามารถนำมาเป็นสีย้อมผ้าให้สีม่วงอมชมพู เปลือกต้นฝาดสมานลิ้น ใช้บำรุงกำลัง ใบทาแก้ปวดศีรษะ แก้โรคผิวหนัง ท้องบวม ระหว่างพืชกับคน
  • 17. พืชกับสัตว์ แมลงบางชนิด เช่น ด้วงงวงช้างชอบเจาะกินใบเป็นรอยหยักลึกจนถึงเส้นกลางใบ เมื่อออกดอกมี แมลงหวี่ , แมลงวัน , ผึ้ง , แมลงวันหัวเขียวมาตอมดอกบานตลอดทั้งวัน โดยดูดน้ำหวานจากเกสร เป็นจำนวนมากซึ่งเป็นการช่วยผสมเกสรในการขยายพันธุ์ ระหว่างพืชกับสัตว์ต่างๆ
  • 18. พืชกับพืช เขม่าจะขึ้นได้ดีในบริเวณที่มีต้นกล้วย ต้นกระถิน ต้นขี้เหล็กสาร ไม้เหล่านี้มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตของเขม่าป่าเพราะชอบอยู่ร่วมกับพันธุ์ไม้ชนิดอื่น และนอกจากนี้ยังมีต้นไม้อื่นมาพึ่งพา เช่น กาฝาก เถาวัลย์ และไม้อื่นๆ ระหว่างพืชกับพืช
  • 19. พืชกับจุลินทรีย์ มีจุลินทรีย์ขึ้นที่เปลือกของลำต้น เมื่อต้นโตขึ้นจะแตกเป็นสายและหลุดลอกหรือผลัดเปลือกใหม่ จุลินทรีย์ที่ย่อยสลายส่วนเปลือกมีการย่อยสลายมากในฤดูฝน เพราะความชื้นมีอิทธิพลในการย่อยสลายของเปลือกมาก ระหว่างพืชกับจุลินทรีย์
  • 20. ประโยชน์ ต้นเขม่าป่าใช้เป็นร่มเงา ผลรับประทานเป็นของว่างและเป็นยาระบาย เปลือกของลำต้นใช้ทำเป็นสีย้อมผ้าโดยให้สีน้ำตาลอ่อน ประโยชน์