SlideShare a Scribd company logo
1 of 68
บทที่ 7
ผลและเมล็ด (fruit and seed)
ผล คือ ส่วนที่เจริญมาจากรังไข่
ภายหลังเกิด การปฏิสนธิ
ผลบางชนิดไม่ได้เจริญมาจากรังไข่ แต่
เจริญเติบโต มาจากฐานรองดอก
เรียกว่า "ผลเทียม" เช่น ชมพู่ แอปเปิ ล
ผลบางชนิดมีเนื้อมาก จึงใช้รับประทาน
ได้ เช่น เงาะ มะม่วง ลาไย ส้ม ผลบาง
ประภาพันธ ์ศิริ
คาว่าผลซึ่งใช้เรียกทั่วๆไปอาจแตกต่าง
จากภาษาวิทยาศาสตร ์เช่น พืชที่มีรสหวาน
หรือมีเนื้ออ่อนนุ่มรับประทานได้ ได้แก่ องุ่น
เงาะ กล้วย พุทรา ลางสาด มะม่วง เรียกว่า
ผลหรือผลไม้ แต่ถ้าใช้รับประทานทางอ้อม
โดยนิยมนามาประกอบอาหาร ได้แก่ ถั่ว
ต่างๆ มะเขือ แตงกวา ฟั ก บวบ พริก มะรุม
เรียกว่า ผัก (Vegetable) สาหรับพืชที่มี
เปลือกบางแนบติดกับเมล็ด ได้แก่ ข้าว
ข้าวโพด ข้าวฟ
่ าง และธัญพืชอื่นๆ เรียกว่า
เมล็ด ซึ่งในความหมายทางพฤกษศาสตร ์
แล้วส่วนต่างๆเหล่านี้คือส่วนของพืชที่จัดว่า
2
ประภาพันธ ์ศิริ
โครงสร้างของผล (Structure of Fruit)
รังไข่ที่เจริญมาเป็ นผล จะมีผนังรัง
ไข่ เจริญขึ้นมาเป็ นผนังของผล เนื้อ
ของผลหรือเปลือกของผล (Pericarp)
ซึ่งอาจมีความหนามากน้อยต่างกันตาม
ชนิดของผล บางชนิดอาจเป็ นเนื้อเยื่อที่
รับประทานได้ เปลือกของผลแบ่งเป็ น 3
ชั้น ได้แก่
1. เปลือกชั้นนอก (Exocarp) ส่วนใหญ่
เป็ นเนื้อเยื่อ เอพิเดอร ์มิสเพียง
ชั้นเดียว เป็ นชั้นบาง ๆ แต่ผลบางชนิดก็มี
3
ประภาพันธ ์ศิริ
2. เปลือกชั้นกลาง (Mesocarp) เป็ น
เนื้อเ ยื่อ บาง ๆ ปร ะกอบด้วย Vascular
Bundle บางชนิดเป็ นเนื้อเยื่ออ่อนนุ่ม
รับประทานได้ แต่บางชนิดแข็งรับประทาน
ไม่ได้
3. เ ป ลือ ก ชั้นใ น ( Endocarp) เ ป็ น
เนื้อเยื่อที่ประกอบด้วย เซลล์ชั้นเดียว หรือ
หลายชั้น บางชนิดเป็ นเนื้อนุ่มรับประทานได้
Pericarp ของผลบางชนิด อาจแยก
เป็ นชั้นต่าง ๆ เห็นได้ชัด เช่น มะม่วง
มะพร้าว พุทรา เป็ นต้น แต่ผลบางชนิดชั้น
4
ประภาพันธ ์ศิริ
ส่วนประกอบของผล
ที่มา :
http://web3.dnp.go.th/botany/BFC/fruit.html
5
ประภาพันธ ์ศิริ
ส่วนประกอบของผล (ต่อ)
ผลประกอบด้วย 3 ส่วน คือ
1. เปลือก
2. เนื้อ
3. เมล็ด
6
ประภาพันธ ์ศิริ
ชนิดของผล
1. ผลเดี่ยว (simple fruit) ผลที่เกิดจาก
รังไข่เดียวภายในดอกๆหนึ่ง ดอกเป็ นชนิดดอก
เดี่ยวหรือดอกช่อก็ได้ เช่น ดอกมะละกอ 1
ดอก เจริญเป็ น 1 ผล หรือดอกองุ่น มะม่วง
กระถิน ตะแบก แต่ละดอกย่อย 1 ดอก ในช่อ
ดอกก็ต่างมีความสามารถเจริญไปเป็ นผลได้
เช่นกันผลเดี่ยวจาแนกตามลักษณะคาร ์เพล
เป็ นเนื้อนุ่มหรือแห้งได้เป็ น
แอปเปิ ล มะม่วง 7
ประภาพันธ ์ศิริ
ขันธ ์แสง
1.1 ผลสด (Fleshy fruit) เป็ นผลเดี่ยว
ที่เมื่อเจริญเต็มที่แล้ว มีเนื้ออ่อนนุ่ม
และสด แบ่งได้เป็ น
- ผลเมล็ดเดียวแข็ง (Drupe) เป็ นผล
สดชนิดที่เพอริคาร ์พ แบ่งเป็ น 3 ชั้น เอ็น
โดคาร ์พแข็งมาก อาจเรียกว่า สโตนฟรุต
(stone fruit) มักติดกับเปลือกหุ้มเมล็ดซึ่งมี
อยู่เมล็ดเดียว ชั้นถัดออกมาเป็ นชั้นมีโซ
คาร ์พมีลักษณะเป็ นเนื้อนุ่ มหรือเป็ นเส้น
เหนียวๆ ส่วนเอกโซคาร ์พเรียบเป็ นมัน ได้แก่
พุทรา มะม่วง มะกอก ตาล มะพร้าว เชอร ์รี่
8
ประภาพันธ ์ศิริ
- ผลแบบมีเนื้อหลายเมล็ด (Berry) เป็ น
ผลสดชนิดที่มี เพอริคาร ์พอ่อนนุ่ม
เอกโซคาร ์พเป็ นผิวบางๆ มีโซคาร ์พและเอ็น
โดคาร ์พรวมกันแบ่งได้ไม่ชัดเจน ได้แก่
มะเขือ มะเขือเทศ ฝรั่ง พริก องุ่น กล้วย เป็ น
ต้น
9
ประภาพันธ ์ศิริ
- ผลแบบแตง (Pepo) เป็ นผลสดที่มี
ลักษณะคล้ายเบอร ์รี่แต่มีเปลือกนอกหนา
เหนียวและแข็ง เจริญมาจากฐานรองดอก
เชื่อมรวมกับเอกโซคาร ์พ ชั้นมีโซคาร ์พและ
เอ็นโดคาร ์พเป็ นเนื้อนุ่ม ผลชนิดนี้มักเป็ นผล
ซึ่งเจริญมาจากดอกที่มีรังไข่แบบอินฟี เรีย
ได้แก่ ฟั ก แฟง แตงกวา น้าเต้า บวบ มะตูม
และแคนตาลูบ เป็ นต้น
10
ประภาพันธ ์ศิริ
- ผลแบบส้ม (Hesperidium) ผลสด
ประเภทนี้มี เอกโซคาร ์พค่อนข้าง
แข็งและเหนียว มีต่อมน้ามันมากและมักมีสี
เขียว เปลือกสามารถดึงลอกเป็ นแผ่นได้ เป็ น
ส่วนของเอกโซคาร ์พ และมีโซคาร ์พซึ่ง
ติดกันและมองเกือบไม่เห็นรอยแยก แต่ชั้นมี
โซคาร ์พจะอยู่ด้านในมีสีขาว และไม่ค่อยมี
ต่อมน้ามัน เอ็นโดคาร ์พเป็ นเยื่อบางๆหุ้มเนื้อ
บางส่วนจะเปลี่ยนไปเป็ นขนหรือถุงสาหรับ
เก็บน้า (juice sac) ซึ่งเป็ นเนื้อที่เรา
รับประทาน ผลชนิดนี้มีเมล็ดมาก เช่น ส้ม
มะนาว มะกรูด และส้มโอ เป็ นต้น 11
ประภาพันธ ์ศิริ
12
ประภาพันธ ์ศิริ
- โพม (Pome) ผลชนิดนี้เจริญมาจาก
ดอกที่มีรังไข่แบบอินฟี เรีย มีเกสรตัวเมียแบบ
ประกอบซึ่งมีหลายคาร ์เพล เนื้อของผลส่วน
ใหญ่เจริญมาจากฐานรองดอกหรือส่วนฐาน
ของกลีบดอก กลีบเลี้ยงและก้านชูเกสรตัวผู้
ซึ่งเชื่อมติดกันโอบล้อมผนังรังไข่ เนื้อส่วน
น้อยที่อยู่ด้านในเกิดจากเพอริคาร ์พ สาหรับ
เอ็นโดคาร ์พจะบางหรือมีลักษณะกรุบๆคล้าย
กระดูกอ่อน ได้แก่ แอปเปิ ล สาลี่ ชมพู่ เป็ น
ต้น
- เอริล (Aril) เป็ นผลสดซึ่งเนื้อที่
13
ประภาพันธ ์ศิริ
1.2 ผลแห้ง (Dry fruit) คือผลที่เมื่อ
เจริญเต็มที่แล้ว เพอริคาร ์พจะแห้ง แบ่ง
ได้เป็ น 2 ชนิด ได้แก่
1.2.1 ผลแห้งแตกเองได้ (Dry
dehiscent fruit) ผลชนิดนี้เมื่อแก่เพอริ
คาร ์พจะแห้งและแตกได้ มักมีเมล็ดมาก
จาแนกเป็ นชนิดย่อยได้ดังนี้
ก. ผลแตกแนวเดียว (Follicle)
เป็ นผลที่เกิดจากดอกที่มีเกสรตัวเมียแบบ
ธรรมดามี 1 คาร ์เพล เมื่อแก่จะแตกตามรอย
ตะเข็บเพียงด้านเดียว ได้แก่ รัก ขจร โป
๊ ยกั๊ก
14
ประภาพันธ ์ศิริ
ที่มา :
http://web3.dnp.go.th/botany/BFC/fruit.ht
ml
15
ประภาพันธ ์ศิริ
ขันธ ์แสง
ที่มา :
ที่มา :
http://www.bloggang.co
m
ผลรัก
โป
๊ ยกั๊ก
16
ประภาพันธ ์ศิริ
ข. ฝักแบบถั่ว (Legume) เป็ นผลที่
เจริญมาจากดอกที่มีเกสรตัวเมียแบบ
ธรรมดามี 1 คาร ์เพล แตกได้ตามรอยตะเข็บ
2 ด้าน เช่น ถั่ว แค กระถิน ชงโค กาหลง เป็ น
ต้น
17
ประภาพันธ ์ศิริ
ผลชงโค
ที่มา :
http://www.weloveshopping.com/template/
a31/showproduct.php?pid=16985571&shopi
d=133460 ผลกาหลง
ที่มา :
http://agkc.lib.ku.ac.th/plantwebsite/web
18
ประภาพันธ ์ศิริ
ขันธ ์แสง
ค. ผลแห้งแตก (Capsule) เป็ นผล
ที่เกิดมาจากดอกที่มีเกสรตัวเมียแบบ
ประกอบมีหลายคาร ์เพลซึ่งเชื่อมติดกัน เมื่อ
ผลแก่จะแตกตามรอยหรือมีช่องเปิ ดให้เมล็ด
ออก แยกตามลักษณะของรอยแตกได้ดังนี้
1) ผลแห้งแตกกลางพู
(Loculicidal capsule) ผลที่แตกออกตรง
กลางพู หรือกึ่งกลางของคาร ์เพล เช่น
ตะแบก อินทนิล และฝ
้ าย
19
ประภาพันธ ์ศิริ
ที่มา :
http://www.thaipoem.com
ผลอินทนิล
ที่มา : http://www.donsakwit.ac.th
ผลตะแบก
20
ประภาพันธ ์ศิริ
2) ผลแห้งแตกตามรอยประสาน
(Septicidal capsule) ผลที่แตกตรงผนังกั้น
พู (septum) หรือแนวเชื่อมระหว่างคาร ์เพล
เช่น กระเช้าสีดา เป็ นต้น
3) ผลแห้งแตกแบบฝาเปิ ด
(Circumcissile capsule) เป็ นผลที่แตกเป็ น
วงรอบๆผลตามขวาง มีลักษณะคล้ายฝาเปิ ด
เช่น หงอนไก่ แพรเซี่ยงไฮ้ และโสม
4) ผลแห้งแตกเป็ นช่อง (Poricidal
capsule) เป็ นผลเมื่อแก่จะมีช่องเปิ ดเล็กๆให้
เมล็ดออก เช่น ฝิ่ น ลิ้นมังกร เป็ นต้น 21
ประภาพันธ ์ศิริ
ที่มา :
http://web3.dnp.go.th/botany/BFC/fruit. 22
ประภาพันธ ์ศิริ
ขันธ ์แสง
ที่มา : http://www.bloggang.com
กระเช้าสีดา ที่มา :
http://4weeds.blogspot.com/
เซอร ์คัมเซสไซล์
แคปซูล
23
ประภาพันธ ์ศิริ
ฝิ่น
ที่มา :
http://www.flickr.com/photos/funch/23582746
32/ 24
ประภาพันธ ์ศิริ
ง. ผลแตกแบบผักกาด (Silique)
เป็ นผลที่เจริญมาจากดอกที่มีเกสรตัวเมีย
แบบประกอบมี 2 คาร ์เพลติดกัน เมื่อผลแก่
เพอริคาร ์พจะแตกตรงกลางตะเข็บโดย
เริ่มต้นจากก้านขึ้นไปทางปลายเป็ น 2 ซีก
เหลือผนังบางๆติดก้านอยู่ เช่น ผักกาด
ผักเซี้ยน และต้อยติ่ง เป็ นต้น
25
ที่มา : http://www.bloggang.com
ผักเซี้ยน
ประภาพันธ ์ศิริ
26
ประภาพันธ ์ศิริ
จ. ผลแบบฝักหักข้อ (Lomentum)
เป็ นผลที่มีคาร ์เพลเดียวคล้ายเลกูมแต่หัก
เป็ นข้อๆได้ตามขวางของผล แต่ละข้อมี 1
เมล็ด ผลชนิดนี้มักมีฝักยาว ได้แก่ จามจุรี
คูณ มะขาม และไมยราพ เป็ นต้น
27
ประภาพันธ ์ศิริ
ฉ. ซิสโซคาร ์พ (Schizocarp) เป็ น
ผลที่เกิดจากดอกที่มีเกสรตัวเมียแบบ
ประกอบมีหลายคาร ์เพล เมื่อผลแก่จะแตก
ออกเป็ น 2 ซีก แต่ละซีกเรียกเมริคาร ์พ
(Mericarp) และมีเมล็ดอยู่ภายในซีกละ 1
เมล็ด มีแกนต่อจากก้านชูดอกหรือก้านผล
ขึ้นไปเรียก คาร ์โพฟอร ์(Carpophore) ซึ่ง
เป็ นส่วนของฐานรองดอกที่อยู่ระหว่างคาร ์
เพลนั่นเอง ได้แก่ ผักชี ยี่หร่า คื่นช่าย และ
แครอท เป็ นต้น
28
ประภาพันธ ์ศิริ
1.2.2 ผลแห้งแล้วไม่แตก (Indehiscent
dry fruit) ผลชนิดนี้เมื่อแก่และเจริญเต็มที่
แล้วจะแห้งแต่ไม่แตกออก โดยมากมีเมล็ด
น้อยเพียง 1-2 เมล็ดเท่านั้น จาแนกย่อยเป็ น
หลายชนิดได้ดังนี้
ก. ผลแห้งเมล็ดอ่อน (Achene) เป็ น
ผลขนาดเล็กมี 1 เมล็ด เพอริคาร ์
พบางและเหนียว ไม่เชื่อมรวมติดกับเปลือก
หุ้มเมล็ดนอกจากตรงก้านฟั นนิคูลัสเท่านั้น
ได้แก่ ทานตะวัน ดาวเรือง บานชื่น และ
ดาวกระจาย เป็ นต้น
29
ประภาพันธ ์ศิริ
ค. ผลแบบปี กเดียว(Samara) เป็ น
ผลที่มีส่วนของ เพอริคาร ์พแผ่ออก
เป็ นปี กแบนๆบางๆเพื่อให้ลอยลมได้ มี 1-2
คาร ์เพล แต่ละคาร ์เพลมี 1 เมล็ด ได้แก่
ประดู่ ตะเคียน
ง . ผ ล ค ล้ า ย ผ ล ปี ก เ ดี ย ว
(Samaroid) เป็ นผลซึ่งมีเจริญมาจากส่วน
ของกลีบเลี้ยงหรือกลีบดอก ได้แก่ ยางนา
จ. ผลเปลือกแข็งมีกาบรูปถ้วย
(Acorn or Nut) เป็ นผลที่เกิดจากเกสรตัว
เมียแบบประกอบมีเปลือกหนาและแข็ง
30
ประภาพันธ ์ศิริ
ที่มา : http://web3.dnp.go.th/botany/BFC/fruit.html
31
ประภาพันธ ์ศิริ
ที่มา :
http://www.bloggang.com
ประดู่
ที่มา :
http://www.infoforthai.com
ยางนา
32
ประภาพันธ ์ศิริ
ที่มา : http://taguwood.blogspot.com/ 33
ประภาพันธ ์ศิริ
ขันธ ์แสง
ที่มา : http://web3.dnp.go.th/botany/BFC/fruit.html
34
ประภาพันธ ์ศิริ
ที่มา : http://web3.dnp.go.th/botany/BFC/fruit.html
35
ประภาพันธ ์ศิริ
2. ผลกลุ่ม (aggregate fruit) เป็ นผล
ที่เกิดจากดอกเดี่ยวที่มีรังไข่หลายอันอยู่บน
ฐานรองดอกเดียวกัน รังไข่แต่ละอันเจริญ
เป็ นผลย่อยๆหนึ่งผล บางชนิดรังไข่แต่ละอัน
อยู่อัดกันแน่นจนผนังเชื่อมรวมกันทาให้ดู
คล้ายเป็ นผลเดียว เช่น ผลน้อยหน่า สตรอ
เบอรี่ แต่บางชนิดแม้ผนังรังไข่จะอัด
กันแน่นแต่จะไม่เชื่อมรวมกัน ได้แก่ ลูกจาก
นอกจากนี้ผลกลุ่มบางชนิดจะแยกเป็ นผล
เล็กๆหลายผลอยู่บนฐานรองดอกเดียวกัน
ได้แก่ กระดังงา การเวก นมแมว จาปี และ
จาปา เป็ นต้น สาหรับสตรอเบอรี่เนื้อนุ่มๆ
36
ประภาพันธ ์ศิริ
น้อยหน่า
ราสเบอร ์รี่
37
ประภาพันธ ์ศิริ
3. ผลรวม (multiple fruit) เป็ นผลที่
เจริญมาจากกลุ่มของ รังไข่ของดอกช่อ
ซึ่งเชื่อมรวมกันแน่นบนฐานรองดอกหรือก้าน
ดอกรวมเดียวกัน รังไข่เหล่านี้จะกลายเป็ นผล
ย่อยๆและเชื่อมรวมกันแน่นจนเป็ นผลรวม
หนึ่งผล บางชนิดอาจมีส่วนอื่นๆของดอก
ได้แก่ ฐานรองดอก กลีบดอก กลีบเลี้ยง และ
ยอดเกสรตัวเมียเจริญควบคู่มากับรังไข่แล้ว
กลายเป็ นส่วนของผลด้วย ได้แก่ สับปะรด
ขนุน สาเก ยอ มะเดื่อ และหม่อน เป็ นต้น
สับปะรดเป็ นผลรวมที่มีส่วนที่เป็ นไส้กลาง
38
ประภาพันธ ์ศิริ
ขนุน สาเก และยอ มีซังและเนื้อเป็ น
ส่วนเพริแอนท์ (Perianth = กลีบเลี้ยง +
กลีบดอก) ส่วนยอดเกสรตัวเมียจะกลายเป็ น
แผ่นติดกันเป็ นส่วนผิวและหนามที่หุ้มผลไว้
ผลมะเดื่อ เป็ นผลรวมที่มีฐานรองดอก
เจริญโอบล้อมผลเล็กๆเอาไว้ข้างในเป็ นลูก
กลม ตรงกลางเป็ นโพรง มีรูเปิ ดที่ส่วนปลาย
ของผล ผนังข้างในรอบโพรงมีผลย่อยๆซึ่ง
เกิดจากดอกย่อย ผลรวมชนิดนี้มักเรียกว่า
ไซโคเนียม (Syconium)
39
ประภาพันธ ์ศิริ
สาเก สับปะรด
40
ประภาพันธ ์ศิริ
หน้าที่ของผล
ผลมีหน้าที่สะสมอาหาร และห่อหุ้ม
เมล็ดเพื่อป้ องกันไม่ให้เมล็ดเกิดอันตราย
41
ประภาพันธ ์ศิริ
เมล็ด
เมล็ด คือ โอวุลที่แก่แล้วเจริญเติบโตขึ้น
หลังจาก การปฏิสนธิเมล็ดพืชแต่ละ
ชนิดจะมีรูปร่างและขนาดแตกต่างกัน
เมล็ด มีส่วนประกอบ ดังนี้ 42
ประภาพันธ ์ศิริ
1. เปลือกเมล็ด (Seed Coat) เป็ นส่วนที่
อยู่ชั้นนอก เกิดจากผนังโอวุล (Integument)
ทาหน้าที่ป้ องกันอันตรายและการสูญเสีย
ความชื้นจากเนื้อเยื่อของเมล็ด ส่วนมากมี 2
ชั้น คือ ชั้นนอก (Testa) เปลี่ยนแปลงมาจาก
Outer Integument มักหนา เหนียว และ
ชั้นใน (Tegmen) เปลี่ยนแปลงมาจาก Inner
Integument เป็ นเยื่อบาง ๆ บนเปลือกเมล็ดมี
รอยแผลเป็ น (Hilum) ที่มีรูไมโครไพล์ ซึ่งเป็ น
ทางผ่านของ Pollen Tube มาก่อน เปลือก
เมล็ดอาจมี การเปลี่ยนแปลงไป
ในพืชบางอย่าง เช่น เปลือกเมล็ดชั้นนอก
43
ประภาพันธ ์ศิริ
2. เอมบริโอ (Embryo) เป็ นส่วนที่เจริญ
มาจากไซโกต ประกอบด้วย 3 ส่วน
1) ใบเลี้ยง (Cotyledon) มีหน้าที่สะสม
อาหารไว้เลี้ยงต้นอ่อน โดยทาการย่อยและ
ดูดซึมอาหารที่อยู่รอบ ๆ คือ เอนโดสเปิ ร ์มมา
เก็บไว้ พืชบางชนิดใบเลี้ยงสะสมอาหารไว้
มาก ทาให้ใบเลี้ยงมีลักษณะหนา ในเมล็ดจึง
ไม่มีเอนโดสเปิ ร ์มเหลืออยู่ พืชบางชนิดใบ
เลี้ยงสะสมอาหารมากใบจึงบาง เมล็ดจะมีเอน
โดสเปิ ร ์มมาก นอกจากนี้ใบเลี้ยงยังป้ องกัน
ยอดอ่อนและช่วยในการสังเคราะห์ด้วยแสง
44
ประภาพันธ ์ศิริ
2) ลาต้นอ่อน (Caulicle) เป็ นแกนกลาง
มี 2 บริเวณ คือ บริเวณที่อยู่เหนือใบเลี้ยงขึ้น
ไ ป เ รี ย ก ว่ า เ อ พิ ค อ ทิ ล ( Epicotyl)
ซึ่งบริเวณปลายสุดเป็ นส่วนของยอดแรกเกิด
(Plumule) ในพืชใบเลี้ยงเดี่ยวจะมีเยื่อบาง ๆ
หุ้ม เรียกว่า Coleoptile ส่วนบริเวณที่อยู่ใต้
ใ บ เ ลี้ย ง ล ง ม า เ รีย ก ว่ า ไ ฮโ ป ค อ ทิ ล
(Hypocotyl) ซึ่งปลายสุดเป็ นรากแรกเกิด
( Radicle) ซึ่ง จ ะ เ จ ริญไ ป เ ป็ น ร า ก แ ก้ว
(Primary Root) ต่อไป ในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
จะมีเยื่อบาง ๆ หุ้มรากแรกเกิด เรียกว่า
Coleorhiza 45
ประภาพันธ ์ศิริ
3. เอนโดสเปิ ร ์ม (Endosperm) เป็ น
เนื้อเยื่อของเมล็ดที่เจริญมาจาก Primary
Endosperm Cell (3n) เพื่อสะสมอาหารไว้
ให้ต้นอ่อนใช้ในระยะแรกของการงอก
อาหารที่สะสมมีทั้งคาร ์โบไฮเดรต ไขมัน
โปรตีน และสารอื่น ๆ มีทั้งชนิ ดที่เป็ น
ของเหลว (Liquid Endosperm) เช่น น้า
มะพร้าว น้าลูกตาล น้าลูกหมาก และชนิดที่
เป็ นของแข็ง (Fleshy Endosperm) เช่น
เนื้อมะพร้าว เนื้อลูกตาล เนื้อลูกหมาก เป็ น
ต้น
46
ประภาพันธ ์ศิริ
ที่มา : 47
ประภาพันธ ์ศิริ
ขันธ ์แสง
โครงสร้างของ
เมล็ด
48
ประภาพันธ ์ศิริ
การเจริญระยะเอ็มบริโอของพืชดอก
การเติบโตของเอมบริโอเกิดอยู่ภายใน โดย
เริ่มจากไซโกตแบ่ง ไมโทซิสครั้งแรกได้ 2
เซลล์ เซลล์ที่อยู่ติดไมโครไพล์เรียกว่า เบซัล
(Basal Cell) และเซลล์ที่อยู่ห่างไมโครไพล์ คือ
เทอร ์มินัล (Terminal Cell) เซลล์เบซัลจะแบ่งไม
โทซิสอีกหลายครั้งในแนวเดียว เซลล์เรียงตัวเป็ น
แถวเดียวยาว โดยเซลล์ล่างสุดขยายใหญ่กว่า
เ ซ ล ล์อื่น ๆ ที่แ บ่ งไ ด้นี้เ ป็ น ซัส เ ป น เ ซ อ ร ์
(Suspensor) สาหรับยึดเอมบริโอให้ติดกับ
Embryo Sac ส่วนเซลล์เทอร ์มินัลจะแบ่งตัวเป็ น
2 แนวทาง คือ แนวตั้งและแนวนอน ทาให้ได้
กลุ่มเซลล์เป็ นรูปทรงกลม (Globular) อยู่ที่
49
ประภาพันธ ์ศิริ
การเจริญของต้นอ่อนในเมล็ดพืชใบเลี้ยงคู่ (ซ้าย)
และพืชใบเลี้ยงเดี่ยว (ขวา) 50
ประภาพันธ ์ศิริ
ขันธ ์แสง
ก า ร ง อ ก ข อ ง เ ม ล็ ด ( Seed
Germination)
การงอกของเมล็ด คือ การกลับคืนสู่
สภาพการเจริญเติบโตของเมล็ดโดย
เ อ็ ม บ ริ โ อ พ้ น จ า ก ร ะ ย ะ ก า ร พัก ตัว
(Dormancy) เริ่มมีกิจกรรมของชีวิตเจริญ
งอกออกมาจากเมล็ดและเปลี่ยนแปลงเป็ นต้น
ใหม่
ที่มา : 51
ประภาพันธ ์ศิริ
ขันธ ์แสง
การงอกของเมล็ดต้องการปั จจัยที่
จาเป็ น ได้แก่
1. น้า เมล็ดจะงอกได้ต้องอยู่ในสภาพที่
มีความชื้นที่พอเหมาะ น้าช่วยทาให้เปลือก
เมล็ดอ่อนนุ่ม ทาให้ต้นอ่อนสามารถดันทะลุ
เปลือกออกมาได้ ช่วยทาให้ออกซิเจนผ่าน
เข้าสู่เมล็ดได้ง่าย น้าที่เข้าสู่เมล็ดช่วยละลาย
สารในโพรโตพลาซึมเจือจางลงจนทางานได้
และช่วยใน การนาสารอาหารที่สะสมจาก
เอนโดสเปิ ร ์มไปเลี้ยง ส่วนต่างๆ
ของเอ็มบริโอได้
52
ประภาพันธ ์ศิริ
2. ออกซิเจน การงอกของเมล็ดต้องใช้
พลังงานเพื่อการแบ่งเซลล์ การเพิ่มขนาด
ของเซลล์จึงจาเป็ นต้องใช้ออกซิเจนใน
การเผาผลาญอาหารที่สะสมอยู่ในเมล็ด
พลังงานบางส่วนจะเปลี่ยนเป็ นความร้อน
ดังนั้นขณะเมล็ดงอกจึงเกิดความร้อนด้วย
เมล็ดจะงอกได้ดีที่ปริมาณออกซิเจน 20
เปอร ์เซ็นต์หรือมากกว่า สาหรับพืชน้าที่มี
ปริมาณออกซิเจนต่า แต่สามารถงอกได้ดี
เพราะเมล็ดหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจน
(Anaerobic Respiration)
53
ประภาพันธ ์ศิริ
3. อุณหภูมิ พืชแต่ละชนิดต้องการ
อุณหภูมิสาหรับการงอกของเมล็ดที่แตกต่าง
กัน พืชเขตร้อนต้องการอุณหภูมิสูงกว่าพืช
เ ข ต ห น า ว แ ต่ อุ ณ ห ภู มิ ที่ พ อ เ ห ม า ะ
(Optimum Temperature) ของเมล็ดพืช
ทั่วไปอยู่ระหว่าง 20-30 องศาเซลเซียส
นอกจากนี้พืชบางชนิดอาจต้องการ
ปัจจัยอย่างอื่นสาหรับ การงอกของ
เมล็ด เช่น พืชพวกหญ้า และยาสูบ เมล็ดจะ
งอกได้ดีถ้าได้รับแสงสว่าง โดยทั่วไปแสง
สว่างไม่เป็ นปัจจัยสาหรับการงอกของเมล็ด
54
ประภาพันธ ์ศิริ
ลักษณะการงอกของเมล็ด
การงอกของเมล็ดจาแนกได้ 2 ลักษณะ
ได้แก่
1. Epigeal Germination เป็ นการงอก
โดยรากแรกเกิด (Radicle) จะงอกออกมา
ก่อน กลายเป็ นรากแก้ว จากนั้นส่วนของลา
ต้นใต้ใบเลี้ยง (Hypocotyl) จะเจริญและ ยืด
ตัวอย่างรวดเร็ว ดึงใบเลี้ยงและลาต้นเหนือใบ
เลี้ยง (Epicotyl) ออกจากเปลือกเมล็ดชูขึ้น
เหนือดิน เมื่อใบเลี้ยงกางออก ลาต้นเหนือใบ
เลี้ยงจะยืดตัวตรงขึ้นชูส่วนยอดแรกเกิด
(Plumule) เมื่อเกิดใบแท้ที่สังเคราะห์ด้วยแสง
55
ประภาพันธ ์ศิริ
2. Hypogeal Germination เป็ นการ
ง อ ก ที่ ส่ ว น ข อ ง ต้น อ่ อ นใ ต้ใ บ เ ลี้ย ง
(Hypocotyl) เจริญเติบโตช้ากว่าลาต้น
เหนือใบเลี้ยง (Epicotyl) ดังนั้น ลาต้นเหนือ
ใบเลี้ยงกับยอดแรกเกิดเท่านั้นที่งอกขึ้นมา
เหนือพื้นดิน โดยมีส่วนลาต้นใต้ใบเลี้ยงจม
อยู่ใต้ดิน ส่วนใหญ่เป็ นการงอกของพืชใบ
เลี้ยงเดี่ยวพวกข้าว ข้าวโพด หญ้า ส่วนพวก
ใบเลี้ยงคู่ เป็ นพวก ถั่วเมล็ดกลม (Pea) เช่น
ถั่วลันเตา และพืชพวกส้ม
56
ประภาพันธ ์ศิริ
ที่มา : http://www.britannica.com 57
ประภาพันธ ์ศิริ
ร ะ ย ะ พั ก ตั ว ข อ ง เ ม ล็ ด ( Seed
Dormancy)
ระยะพักตัว คือ ช่วงเวลาที่พืชหยุดการ
เจริญชั่วคราว ไม่มีกิจกรรมการ
ดารงชีพ ทั้งนี้เพื่อหลีกเลี่ยงสภาพแวดล้อม
ที่ไม่เหมาะสม หรือเกิดจากสภาวะภายใน
ของพืชที่ไม่พร้อมจะทางาน เมล็ดพืชบาง
ชนิดแม้จะแก่แล้วแต่ยังต้องรอเวลาที่จะงอก
ซึ่งเกิดจากสภาพภายในของเมล็ด การพัก
ตัวของเมล็ดมีหลายสาเหตุ ได้แก่
58
ประภาพันธ ์ศิริ
1. เปลือกเมล็ด เมล็ดพืชบางชนิดมี
เปลือกแข็งและหนามาก เป็ นอุปสรรคต่อการ
ขยายตัวของ Embryo ทั้ง ๆ ที่น้าและ
ออกซิเจนสามารถซึมผ่านได้ดี ทาให้เมล็ด
พักตัวอยู่ได้นานหลายสิบปี เช่น เมล็ด
ผักกาด และผักขมบางชนิด เมล็ดบางอย่าง
เปลือกเมล็ดไม่ยอมให้น้าซึมผ่าน เช่น เมล็ด
พืชตระกูลถั่ว และผักบุ้งฝรั่ง โดยเฉพาะอย่าง
ยิ่งถ้าเก็บไว้ในที่แห้งน้าจะซึมผ่านได้ช้ามาก
แต่ถ้าอยู่ในธรรมชาติในดินมีจุลินทรีย์ช่วย
ย่อยทาให้น้าซึมผ่านเปลือกเมล็ดได้ดีขึ้น
ระยะพักตัวก็จะน้อยลง ทาให้งอกได้เร็วขึ้น 59
ประภาพันธ ์ศิริ
2. การเจริญของเอมบริโอในเมล็ด ปกติ
เมล็ดเมื่อแก่จะแห้งและหลุดออกจากต้น
เอมบริโอจะเจริญเต็มที่พร้อมที่จะงอก แต่
เมล็ดบางอย่างเอมบริโอยังต้องใช้เวลาใน
การเจริญอีกระยะหนึ่งภายหลังเมล็ดแก่ ซึ่ง
อาจนานเป็ นสัปดาห์หรือเป็ นเดือน เช่น
เมล็ดแปะก๊วย (Ginkgo biloba) และ
กล้วยไม้บางชนิด
60
ประภาพันธ ์ศิริ
2. การเจริญของเอมบริโอในเมล็ด ปกติ
เมล็ดเมื่อแก่จะแห้งและหลุดออกจากต้น
เอมบริโอจะเจริญเต็มที่พร้อมที่จะงอก แต่
เมล็ดบางอย่างเอมบริโอยังต้องใช้เวลาใน
การเจริญอีกระยะหนึ่งภายหลังเมล็ดแก่ ซึ่ง
อาจนานเป็ นสัปดาห์หรือเป็ นเดือน เช่น
เมล็ดแป
๊ ะก๊วย (Ginkgo biloba) และ
กล้วยไม้บางชนิด
61
ประภาพันธ ์ศิริ
3. การพักตัวของเอ็มบริโอ (Dormant
Embryo) เมล็ดพืชบางชนิดมีการพักตัวใน
ระยะเอ็มบริโอ โดยต้องระยะเวลาใน
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของเนื้อเยื่อ
ให้สมบูรณ์ ดังนั้นแม้ว่า เอ็มบริโอเจริญ
เต็มที่แล้วอยู่ในสภาพที่พร้อมจะงอก คือ มี
ความชื้นและออกซิเจน ปราศจากเปลือก
เมล็ดแล้วก็ตาม เมล็ดก็จะยังไม่งอก เช่น แอป
เปิ้ ล ท้อ สนสองใบ สนสามใบ ต้องการ
อุณหภูมิต่า ความชื้นสูง เป็ นระยะยาวนาน
ในการเปลี่ยนแปลงสรีรวิทยาของเนื้อเยื่อ
เอ็มบริโอจึงมักพักตัวตลอดช่วงเวลาฤดู
62
ประภาพันธ ์ศิริ
4. ส า ร เ ค มี ที่ ยั บ ยั้ ง ก า ร ง อ ก
(Germination Inhibitor) เมล็ดของพืช
บางชนิดมีสารยับยั้งการงอกของเมล็ด พวก
กรดแอบไซซิก (ABA) เคลือบอยู่ เช่น มะเขือ
เทศ มะละกอ มีเมือกที่หุ้มเมล็ดเป็ นสารยับยั้ง
การงอกของเมล็ด ดังนั้น ก่อนนาเมล็ดไป
เพาะควรล้างเมือก หรือนาไปตากแดดให้แห้ง
จะทาให้เมล็ดงอกเร็วขึ้น
นอกจากนี้ยังมีสาเหตุอื่น ๆ ที่ทาให้เกิด
การพักตัว แต่ไม่ใช่สาเหตุที่เกิดโดยตรง
เช่น แสง อาจเป็ นตัวยับยั้งการงอกของเมล็ด
้ ่63
ประภาพันธ ์ศิริ
ความสามารถในการงอกของเมล็ด
(Seed Viability)
ความสามารถในการงอกของเมล็ด
(Seed Viability) คือ ความสามารถของ
เมล็ดในการมีชีวิตที่จะงอกเป็ นต้นอ่อนหรือ
กล้า (Seedling) ได้ เมล็ดของพืชแต่ละ
ชนิดมีความสามารถในการงอกในระยะที่
แตกต่างกัน บางชนิดถ้าเก็บไว้นานเกินไปจะ
ไม่งอก ความสามารถในการงอกของเมล็ด
ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ ได้แก่
1. การเจริญเติบโตเต็มที่ของเมล็ด
(Maturity of Seed) เมล็ดที่แก่จัดจะมี
64
ประภาพันธ ์ศิริ
2. ความแข็งแรงของต้นพันธุ ์ ถ้าต้น
พันธุ ์มีความแข็งแรง ปราศจากโรค เมล็ด
สะสมอาหารมาก เอ็มบริโอมีขนาดใหญ่ ต้น
กล้าที่งอกออกมาก็จะแข็งแรง
3. การเก็บรักษาเมล็ดพืช วิธีการเก็บ
รักษาเมล็ดพืช ต้องเก็บในสภาพที่มีอุณหภูมิ
ต่ า ค ว า ม ชื้ น น้ อ ย จ ะ ท า ใ ห้ รัก ษ า
ความสามารถในการงอกของเมล็ดไว้ได้นาน
ป ก ติ นิ ย ม เ ก็ บ ที่ อุ ณ ห ภู มิ ป ร ะ ม า ณ
5 องศาเซลเซียส
4. อายุของเมล็ด (Longevity) เมล็ด
65
ประภาพันธ ์ศิริ
66
ประภาพันธ ์ศิริ
ขันธ ์แสง
http://www.manager.co.th
67
ประภาพันธ ์ศิริ
ขันธ ์แสง
http://www.manager.co.th
ที่มา :
กาญจนา สาลีติ๊ด. 2541. พฤกษศาสตร ์ทั่วไป. พิมพ์
ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร ์. 236 หน้า.
สมบุญ เตชะภิญญาวัฒน์. 2537. พฤกษศาสตร ์. พิมพ์
ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ์.
General Biolology โดย ชุมพล คุณวาสี ภาควิชา
พฤกษศาสตร ์คณะวิทยาศาสตร ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ประนอม จันทรโณทัย. 2544. อนุกรมวิธานพืช.
ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
การดารงชีวิตของพืช. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
http://www.nbrchannel.com/frontend/picture_
gallery 66
ประภาพันธ ์ศิริ

More Related Content

Similar to บทที่-7-ผลและเมล็ด.ppt

พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
ผล.pptx
ผล.pptxผล.pptx
ผล.pptxBewwyKh1
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the rootThanyamon Chat.
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
หญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องหญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องphairoa
 
ชุดโลกของพืช เรื่
ชุดโลกของพืช  เรื่ชุดโลกของพืช  เรื่
ชุดโลกของพืช เรื่plernpit19
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰Gawewat Dechaapinun
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกThanyamon Chat.
 
ใบพืชNet
ใบพืชNetใบพืชNet
ใบพืชNetAnana Anana
 
ส่วนต่างๆ ของพืช
ส่วนต่างๆ ของพืชส่วนต่างๆ ของพืช
ส่วนต่างๆ ของพืชPress Trade
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰Gawewat Dechaapinun
 
พืชที่อยู่รอบตัวเรา
พืชที่อยู่รอบตัวเราพืชที่อยู่รอบตัวเรา
พืชที่อยู่รอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
บท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอกบท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอกWichai Likitponrak
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)Thitaree Samphao
 

Similar to บทที่-7-ผลและเมล็ด.ppt (20)

พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
ผล.pptx
ผล.pptxผล.pptx
ผล.pptx
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the root
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
หญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องหญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้อง
 
ชุดโลกของพืช เรื่
ชุดโลกของพืช  เรื่ชุดโลกของพืช  เรื่
ชุดโลกของพืช เรื่
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
ใบพืชNet
ใบพืชNetใบพืชNet
ใบพืชNet
 
ส่วนต่างๆ ของพืช
ส่วนต่างๆ ของพืชส่วนต่างๆ ของพืช
ส่วนต่างๆ ของพืช
 
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
เน€เธ—เธ„เน‚เธ™เน‚เธฅเธขเธตเธœเธฑเธเนเธฅเธฐเธœเธฅเน„เธกเน‰
 
2
22
2
 
1
11
1
 
Flowers by 931 group 3
Flowers by 931 group 3Flowers by 931 group 3
Flowers by 931 group 3
 
การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2
 
ลำต้น54
ลำต้น54ลำต้น54
ลำต้น54
 
พืชที่อยู่รอบตัวเรา
พืชที่อยู่รอบตัวเราพืชที่อยู่รอบตัวเรา
พืชที่อยู่รอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
บท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอกบท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอก
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
 

More from BewwyKh1

6 pharmabiology science technology bio.ppt
6 pharmabiology science technology bio.ppt6 pharmabiology science technology bio.ppt
6 pharmabiology science technology bio.pptBewwyKh1
 
Spirulina stody in biology science biology
Spirulina stody in biology science biologySpirulina stody in biology science biology
Spirulina stody in biology science biologyBewwyKh1
 
บทที่-1-บทนำ.ppt
บทที่-1-บทนำ.pptบทที่-1-บทนำ.ppt
บทที่-1-บทนำ.pptBewwyKh1
 
3 เทคโนโลยีการหมัก.ppt
3 เทคโนโลยีการหมัก.ppt3 เทคโนโลยีการหมัก.ppt
3 เทคโนโลยีการหมัก.pptBewwyKh1
 
บทที่ 11 ตอนที่ 2 การแบ่งเซลล์ Chalao.pptx
บทที่ 11 ตอนที่ 2 การแบ่งเซลล์ Chalao.pptxบทที่ 11 ตอนที่ 2 การแบ่งเซลล์ Chalao.pptx
บทที่ 11 ตอนที่ 2 การแบ่งเซลล์ Chalao.pptxBewwyKh1
 
สกัด DNA.pptx
สกัด DNA.pptxสกัด DNA.pptx
สกัด DNA.pptxBewwyKh1
 
ระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptx
ระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptxระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptx
ระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptxBewwyKh1
 
Presentation1 เซลล์.pptx
Presentation1 เซลล์.pptxPresentation1 เซลล์.pptx
Presentation1 เซลล์.pptxBewwyKh1
 
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxการทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxBewwyKh1
 
การลำเลียง.pptx
การลำเลียง.pptxการลำเลียง.pptx
การลำเลียง.pptxBewwyKh1
 
2.-การหายใจระดับเซลล์.ppt
2.-การหายใจระดับเซลล์.ppt2.-การหายใจระดับเซลล์.ppt
2.-การหายใจระดับเซลล์.pptBewwyKh1
 

More from BewwyKh1 (11)

6 pharmabiology science technology bio.ppt
6 pharmabiology science technology bio.ppt6 pharmabiology science technology bio.ppt
6 pharmabiology science technology bio.ppt
 
Spirulina stody in biology science biology
Spirulina stody in biology science biologySpirulina stody in biology science biology
Spirulina stody in biology science biology
 
บทที่-1-บทนำ.ppt
บทที่-1-บทนำ.pptบทที่-1-บทนำ.ppt
บทที่-1-บทนำ.ppt
 
3 เทคโนโลยีการหมัก.ppt
3 เทคโนโลยีการหมัก.ppt3 เทคโนโลยีการหมัก.ppt
3 เทคโนโลยีการหมัก.ppt
 
บทที่ 11 ตอนที่ 2 การแบ่งเซลล์ Chalao.pptx
บทที่ 11 ตอนที่ 2 การแบ่งเซลล์ Chalao.pptxบทที่ 11 ตอนที่ 2 การแบ่งเซลล์ Chalao.pptx
บทที่ 11 ตอนที่ 2 การแบ่งเซลล์ Chalao.pptx
 
สกัด DNA.pptx
สกัด DNA.pptxสกัด DNA.pptx
สกัด DNA.pptx
 
ระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptx
ระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptxระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptx
ระบบภูมิคุ้มกัน (1).pptx
 
Presentation1 เซลล์.pptx
Presentation1 เซลล์.pptxPresentation1 เซลล์.pptx
Presentation1 เซลล์.pptx
 
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptxการทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
การทำงานของสมอง-และระบบประสาท.pptx
 
การลำเลียง.pptx
การลำเลียง.pptxการลำเลียง.pptx
การลำเลียง.pptx
 
2.-การหายใจระดับเซลล์.ppt
2.-การหายใจระดับเซลล์.ppt2.-การหายใจระดับเซลล์.ppt
2.-การหายใจระดับเซลล์.ppt
 

บทที่-7-ผลและเมล็ด.ppt

  • 1. บทที่ 7 ผลและเมล็ด (fruit and seed) ผล คือ ส่วนที่เจริญมาจากรังไข่ ภายหลังเกิด การปฏิสนธิ ผลบางชนิดไม่ได้เจริญมาจากรังไข่ แต่ เจริญเติบโต มาจากฐานรองดอก เรียกว่า "ผลเทียม" เช่น ชมพู่ แอปเปิ ล ผลบางชนิดมีเนื้อมาก จึงใช้รับประทาน ได้ เช่น เงาะ มะม่วง ลาไย ส้ม ผลบาง ประภาพันธ ์ศิริ
  • 2. คาว่าผลซึ่งใช้เรียกทั่วๆไปอาจแตกต่าง จากภาษาวิทยาศาสตร ์เช่น พืชที่มีรสหวาน หรือมีเนื้ออ่อนนุ่มรับประทานได้ ได้แก่ องุ่น เงาะ กล้วย พุทรา ลางสาด มะม่วง เรียกว่า ผลหรือผลไม้ แต่ถ้าใช้รับประทานทางอ้อม โดยนิยมนามาประกอบอาหาร ได้แก่ ถั่ว ต่างๆ มะเขือ แตงกวา ฟั ก บวบ พริก มะรุม เรียกว่า ผัก (Vegetable) สาหรับพืชที่มี เปลือกบางแนบติดกับเมล็ด ได้แก่ ข้าว ข้าวโพด ข้าวฟ ่ าง และธัญพืชอื่นๆ เรียกว่า เมล็ด ซึ่งในความหมายทางพฤกษศาสตร ์ แล้วส่วนต่างๆเหล่านี้คือส่วนของพืชที่จัดว่า 2 ประภาพันธ ์ศิริ
  • 3. โครงสร้างของผล (Structure of Fruit) รังไข่ที่เจริญมาเป็ นผล จะมีผนังรัง ไข่ เจริญขึ้นมาเป็ นผนังของผล เนื้อ ของผลหรือเปลือกของผล (Pericarp) ซึ่งอาจมีความหนามากน้อยต่างกันตาม ชนิดของผล บางชนิดอาจเป็ นเนื้อเยื่อที่ รับประทานได้ เปลือกของผลแบ่งเป็ น 3 ชั้น ได้แก่ 1. เปลือกชั้นนอก (Exocarp) ส่วนใหญ่ เป็ นเนื้อเยื่อ เอพิเดอร ์มิสเพียง ชั้นเดียว เป็ นชั้นบาง ๆ แต่ผลบางชนิดก็มี 3 ประภาพันธ ์ศิริ
  • 4. 2. เปลือกชั้นกลาง (Mesocarp) เป็ น เนื้อเ ยื่อ บาง ๆ ปร ะกอบด้วย Vascular Bundle บางชนิดเป็ นเนื้อเยื่ออ่อนนุ่ม รับประทานได้ แต่บางชนิดแข็งรับประทาน ไม่ได้ 3. เ ป ลือ ก ชั้นใ น ( Endocarp) เ ป็ น เนื้อเยื่อที่ประกอบด้วย เซลล์ชั้นเดียว หรือ หลายชั้น บางชนิดเป็ นเนื้อนุ่มรับประทานได้ Pericarp ของผลบางชนิด อาจแยก เป็ นชั้นต่าง ๆ เห็นได้ชัด เช่น มะม่วง มะพร้าว พุทรา เป็ นต้น แต่ผลบางชนิดชั้น 4 ประภาพันธ ์ศิริ
  • 6. ส่วนประกอบของผล (ต่อ) ผลประกอบด้วย 3 ส่วน คือ 1. เปลือก 2. เนื้อ 3. เมล็ด 6 ประภาพันธ ์ศิริ
  • 7. ชนิดของผล 1. ผลเดี่ยว (simple fruit) ผลที่เกิดจาก รังไข่เดียวภายในดอกๆหนึ่ง ดอกเป็ นชนิดดอก เดี่ยวหรือดอกช่อก็ได้ เช่น ดอกมะละกอ 1 ดอก เจริญเป็ น 1 ผล หรือดอกองุ่น มะม่วง กระถิน ตะแบก แต่ละดอกย่อย 1 ดอก ในช่อ ดอกก็ต่างมีความสามารถเจริญไปเป็ นผลได้ เช่นกันผลเดี่ยวจาแนกตามลักษณะคาร ์เพล เป็ นเนื้อนุ่มหรือแห้งได้เป็ น แอปเปิ ล มะม่วง 7 ประภาพันธ ์ศิริ ขันธ ์แสง
  • 8. 1.1 ผลสด (Fleshy fruit) เป็ นผลเดี่ยว ที่เมื่อเจริญเต็มที่แล้ว มีเนื้ออ่อนนุ่ม และสด แบ่งได้เป็ น - ผลเมล็ดเดียวแข็ง (Drupe) เป็ นผล สดชนิดที่เพอริคาร ์พ แบ่งเป็ น 3 ชั้น เอ็น โดคาร ์พแข็งมาก อาจเรียกว่า สโตนฟรุต (stone fruit) มักติดกับเปลือกหุ้มเมล็ดซึ่งมี อยู่เมล็ดเดียว ชั้นถัดออกมาเป็ นชั้นมีโซ คาร ์พมีลักษณะเป็ นเนื้อนุ่ มหรือเป็ นเส้น เหนียวๆ ส่วนเอกโซคาร ์พเรียบเป็ นมัน ได้แก่ พุทรา มะม่วง มะกอก ตาล มะพร้าว เชอร ์รี่ 8 ประภาพันธ ์ศิริ
  • 9. - ผลแบบมีเนื้อหลายเมล็ด (Berry) เป็ น ผลสดชนิดที่มี เพอริคาร ์พอ่อนนุ่ม เอกโซคาร ์พเป็ นผิวบางๆ มีโซคาร ์พและเอ็น โดคาร ์พรวมกันแบ่งได้ไม่ชัดเจน ได้แก่ มะเขือ มะเขือเทศ ฝรั่ง พริก องุ่น กล้วย เป็ น ต้น 9 ประภาพันธ ์ศิริ
  • 10. - ผลแบบแตง (Pepo) เป็ นผลสดที่มี ลักษณะคล้ายเบอร ์รี่แต่มีเปลือกนอกหนา เหนียวและแข็ง เจริญมาจากฐานรองดอก เชื่อมรวมกับเอกโซคาร ์พ ชั้นมีโซคาร ์พและ เอ็นโดคาร ์พเป็ นเนื้อนุ่ม ผลชนิดนี้มักเป็ นผล ซึ่งเจริญมาจากดอกที่มีรังไข่แบบอินฟี เรีย ได้แก่ ฟั ก แฟง แตงกวา น้าเต้า บวบ มะตูม และแคนตาลูบ เป็ นต้น 10 ประภาพันธ ์ศิริ
  • 11. - ผลแบบส้ม (Hesperidium) ผลสด ประเภทนี้มี เอกโซคาร ์พค่อนข้าง แข็งและเหนียว มีต่อมน้ามันมากและมักมีสี เขียว เปลือกสามารถดึงลอกเป็ นแผ่นได้ เป็ น ส่วนของเอกโซคาร ์พ และมีโซคาร ์พซึ่ง ติดกันและมองเกือบไม่เห็นรอยแยก แต่ชั้นมี โซคาร ์พจะอยู่ด้านในมีสีขาว และไม่ค่อยมี ต่อมน้ามัน เอ็นโดคาร ์พเป็ นเยื่อบางๆหุ้มเนื้อ บางส่วนจะเปลี่ยนไปเป็ นขนหรือถุงสาหรับ เก็บน้า (juice sac) ซึ่งเป็ นเนื้อที่เรา รับประทาน ผลชนิดนี้มีเมล็ดมาก เช่น ส้ม มะนาว มะกรูด และส้มโอ เป็ นต้น 11 ประภาพันธ ์ศิริ
  • 13. - โพม (Pome) ผลชนิดนี้เจริญมาจาก ดอกที่มีรังไข่แบบอินฟี เรีย มีเกสรตัวเมียแบบ ประกอบซึ่งมีหลายคาร ์เพล เนื้อของผลส่วน ใหญ่เจริญมาจากฐานรองดอกหรือส่วนฐาน ของกลีบดอก กลีบเลี้ยงและก้านชูเกสรตัวผู้ ซึ่งเชื่อมติดกันโอบล้อมผนังรังไข่ เนื้อส่วน น้อยที่อยู่ด้านในเกิดจากเพอริคาร ์พ สาหรับ เอ็นโดคาร ์พจะบางหรือมีลักษณะกรุบๆคล้าย กระดูกอ่อน ได้แก่ แอปเปิ ล สาลี่ ชมพู่ เป็ น ต้น - เอริล (Aril) เป็ นผลสดซึ่งเนื้อที่ 13 ประภาพันธ ์ศิริ
  • 14. 1.2 ผลแห้ง (Dry fruit) คือผลที่เมื่อ เจริญเต็มที่แล้ว เพอริคาร ์พจะแห้ง แบ่ง ได้เป็ น 2 ชนิด ได้แก่ 1.2.1 ผลแห้งแตกเองได้ (Dry dehiscent fruit) ผลชนิดนี้เมื่อแก่เพอริ คาร ์พจะแห้งและแตกได้ มักมีเมล็ดมาก จาแนกเป็ นชนิดย่อยได้ดังนี้ ก. ผลแตกแนวเดียว (Follicle) เป็ นผลที่เกิดจากดอกที่มีเกสรตัวเมียแบบ ธรรมดามี 1 คาร ์เพล เมื่อแก่จะแตกตามรอย ตะเข็บเพียงด้านเดียว ได้แก่ รัก ขจร โป ๊ ยกั๊ก 14 ประภาพันธ ์ศิริ
  • 16. ที่มา : ที่มา : http://www.bloggang.co m ผลรัก โป ๊ ยกั๊ก 16 ประภาพันธ ์ศิริ
  • 17. ข. ฝักแบบถั่ว (Legume) เป็ นผลที่ เจริญมาจากดอกที่มีเกสรตัวเมียแบบ ธรรมดามี 1 คาร ์เพล แตกได้ตามรอยตะเข็บ 2 ด้าน เช่น ถั่ว แค กระถิน ชงโค กาหลง เป็ น ต้น 17 ประภาพันธ ์ศิริ
  • 18. ผลชงโค ที่มา : http://www.weloveshopping.com/template/ a31/showproduct.php?pid=16985571&shopi d=133460 ผลกาหลง ที่มา : http://agkc.lib.ku.ac.th/plantwebsite/web 18 ประภาพันธ ์ศิริ ขันธ ์แสง
  • 19. ค. ผลแห้งแตก (Capsule) เป็ นผล ที่เกิดมาจากดอกที่มีเกสรตัวเมียแบบ ประกอบมีหลายคาร ์เพลซึ่งเชื่อมติดกัน เมื่อ ผลแก่จะแตกตามรอยหรือมีช่องเปิ ดให้เมล็ด ออก แยกตามลักษณะของรอยแตกได้ดังนี้ 1) ผลแห้งแตกกลางพู (Loculicidal capsule) ผลที่แตกออกตรง กลางพู หรือกึ่งกลางของคาร ์เพล เช่น ตะแบก อินทนิล และฝ ้ าย 19 ประภาพันธ ์ศิริ
  • 20. ที่มา : http://www.thaipoem.com ผลอินทนิล ที่มา : http://www.donsakwit.ac.th ผลตะแบก 20 ประภาพันธ ์ศิริ
  • 21. 2) ผลแห้งแตกตามรอยประสาน (Septicidal capsule) ผลที่แตกตรงผนังกั้น พู (septum) หรือแนวเชื่อมระหว่างคาร ์เพล เช่น กระเช้าสีดา เป็ นต้น 3) ผลแห้งแตกแบบฝาเปิ ด (Circumcissile capsule) เป็ นผลที่แตกเป็ น วงรอบๆผลตามขวาง มีลักษณะคล้ายฝาเปิ ด เช่น หงอนไก่ แพรเซี่ยงไฮ้ และโสม 4) ผลแห้งแตกเป็ นช่อง (Poricidal capsule) เป็ นผลเมื่อแก่จะมีช่องเปิ ดเล็กๆให้ เมล็ดออก เช่น ฝิ่ น ลิ้นมังกร เป็ นต้น 21 ประภาพันธ ์ศิริ
  • 23. ที่มา : http://www.bloggang.com กระเช้าสีดา ที่มา : http://4weeds.blogspot.com/ เซอร ์คัมเซสไซล์ แคปซูล 23 ประภาพันธ ์ศิริ
  • 25. ง. ผลแตกแบบผักกาด (Silique) เป็ นผลที่เจริญมาจากดอกที่มีเกสรตัวเมีย แบบประกอบมี 2 คาร ์เพลติดกัน เมื่อผลแก่ เพอริคาร ์พจะแตกตรงกลางตะเข็บโดย เริ่มต้นจากก้านขึ้นไปทางปลายเป็ น 2 ซีก เหลือผนังบางๆติดก้านอยู่ เช่น ผักกาด ผักเซี้ยน และต้อยติ่ง เป็ นต้น 25 ที่มา : http://www.bloggang.com ผักเซี้ยน ประภาพันธ ์ศิริ
  • 27. จ. ผลแบบฝักหักข้อ (Lomentum) เป็ นผลที่มีคาร ์เพลเดียวคล้ายเลกูมแต่หัก เป็ นข้อๆได้ตามขวางของผล แต่ละข้อมี 1 เมล็ด ผลชนิดนี้มักมีฝักยาว ได้แก่ จามจุรี คูณ มะขาม และไมยราพ เป็ นต้น 27 ประภาพันธ ์ศิริ
  • 28. ฉ. ซิสโซคาร ์พ (Schizocarp) เป็ น ผลที่เกิดจากดอกที่มีเกสรตัวเมียแบบ ประกอบมีหลายคาร ์เพล เมื่อผลแก่จะแตก ออกเป็ น 2 ซีก แต่ละซีกเรียกเมริคาร ์พ (Mericarp) และมีเมล็ดอยู่ภายในซีกละ 1 เมล็ด มีแกนต่อจากก้านชูดอกหรือก้านผล ขึ้นไปเรียก คาร ์โพฟอร ์(Carpophore) ซึ่ง เป็ นส่วนของฐานรองดอกที่อยู่ระหว่างคาร ์ เพลนั่นเอง ได้แก่ ผักชี ยี่หร่า คื่นช่าย และ แครอท เป็ นต้น 28 ประภาพันธ ์ศิริ
  • 29. 1.2.2 ผลแห้งแล้วไม่แตก (Indehiscent dry fruit) ผลชนิดนี้เมื่อแก่และเจริญเต็มที่ แล้วจะแห้งแต่ไม่แตกออก โดยมากมีเมล็ด น้อยเพียง 1-2 เมล็ดเท่านั้น จาแนกย่อยเป็ น หลายชนิดได้ดังนี้ ก. ผลแห้งเมล็ดอ่อน (Achene) เป็ น ผลขนาดเล็กมี 1 เมล็ด เพอริคาร ์ พบางและเหนียว ไม่เชื่อมรวมติดกับเปลือก หุ้มเมล็ดนอกจากตรงก้านฟั นนิคูลัสเท่านั้น ได้แก่ ทานตะวัน ดาวเรือง บานชื่น และ ดาวกระจาย เป็ นต้น 29 ประภาพันธ ์ศิริ
  • 30. ค. ผลแบบปี กเดียว(Samara) เป็ น ผลที่มีส่วนของ เพอริคาร ์พแผ่ออก เป็ นปี กแบนๆบางๆเพื่อให้ลอยลมได้ มี 1-2 คาร ์เพล แต่ละคาร ์เพลมี 1 เมล็ด ได้แก่ ประดู่ ตะเคียน ง . ผ ล ค ล้ า ย ผ ล ปี ก เ ดี ย ว (Samaroid) เป็ นผลซึ่งมีเจริญมาจากส่วน ของกลีบเลี้ยงหรือกลีบดอก ได้แก่ ยางนา จ. ผลเปลือกแข็งมีกาบรูปถ้วย (Acorn or Nut) เป็ นผลที่เกิดจากเกสรตัว เมียแบบประกอบมีเปลือกหนาและแข็ง 30 ประภาพันธ ์ศิริ
  • 33. ที่มา : http://taguwood.blogspot.com/ 33 ประภาพันธ ์ศิริ ขันธ ์แสง
  • 36. 2. ผลกลุ่ม (aggregate fruit) เป็ นผล ที่เกิดจากดอกเดี่ยวที่มีรังไข่หลายอันอยู่บน ฐานรองดอกเดียวกัน รังไข่แต่ละอันเจริญ เป็ นผลย่อยๆหนึ่งผล บางชนิดรังไข่แต่ละอัน อยู่อัดกันแน่นจนผนังเชื่อมรวมกันทาให้ดู คล้ายเป็ นผลเดียว เช่น ผลน้อยหน่า สตรอ เบอรี่ แต่บางชนิดแม้ผนังรังไข่จะอัด กันแน่นแต่จะไม่เชื่อมรวมกัน ได้แก่ ลูกจาก นอกจากนี้ผลกลุ่มบางชนิดจะแยกเป็ นผล เล็กๆหลายผลอยู่บนฐานรองดอกเดียวกัน ได้แก่ กระดังงา การเวก นมแมว จาปี และ จาปา เป็ นต้น สาหรับสตรอเบอรี่เนื้อนุ่มๆ 36 ประภาพันธ ์ศิริ
  • 38. 3. ผลรวม (multiple fruit) เป็ นผลที่ เจริญมาจากกลุ่มของ รังไข่ของดอกช่อ ซึ่งเชื่อมรวมกันแน่นบนฐานรองดอกหรือก้าน ดอกรวมเดียวกัน รังไข่เหล่านี้จะกลายเป็ นผล ย่อยๆและเชื่อมรวมกันแน่นจนเป็ นผลรวม หนึ่งผล บางชนิดอาจมีส่วนอื่นๆของดอก ได้แก่ ฐานรองดอก กลีบดอก กลีบเลี้ยง และ ยอดเกสรตัวเมียเจริญควบคู่มากับรังไข่แล้ว กลายเป็ นส่วนของผลด้วย ได้แก่ สับปะรด ขนุน สาเก ยอ มะเดื่อ และหม่อน เป็ นต้น สับปะรดเป็ นผลรวมที่มีส่วนที่เป็ นไส้กลาง 38 ประภาพันธ ์ศิริ
  • 39. ขนุน สาเก และยอ มีซังและเนื้อเป็ น ส่วนเพริแอนท์ (Perianth = กลีบเลี้ยง + กลีบดอก) ส่วนยอดเกสรตัวเมียจะกลายเป็ น แผ่นติดกันเป็ นส่วนผิวและหนามที่หุ้มผลไว้ ผลมะเดื่อ เป็ นผลรวมที่มีฐานรองดอก เจริญโอบล้อมผลเล็กๆเอาไว้ข้างในเป็ นลูก กลม ตรงกลางเป็ นโพรง มีรูเปิ ดที่ส่วนปลาย ของผล ผนังข้างในรอบโพรงมีผลย่อยๆซึ่ง เกิดจากดอกย่อย ผลรวมชนิดนี้มักเรียกว่า ไซโคเนียม (Syconium) 39 ประภาพันธ ์ศิริ
  • 42. เมล็ด เมล็ด คือ โอวุลที่แก่แล้วเจริญเติบโตขึ้น หลังจาก การปฏิสนธิเมล็ดพืชแต่ละ ชนิดจะมีรูปร่างและขนาดแตกต่างกัน เมล็ด มีส่วนประกอบ ดังนี้ 42 ประภาพันธ ์ศิริ
  • 43. 1. เปลือกเมล็ด (Seed Coat) เป็ นส่วนที่ อยู่ชั้นนอก เกิดจากผนังโอวุล (Integument) ทาหน้าที่ป้ องกันอันตรายและการสูญเสีย ความชื้นจากเนื้อเยื่อของเมล็ด ส่วนมากมี 2 ชั้น คือ ชั้นนอก (Testa) เปลี่ยนแปลงมาจาก Outer Integument มักหนา เหนียว และ ชั้นใน (Tegmen) เปลี่ยนแปลงมาจาก Inner Integument เป็ นเยื่อบาง ๆ บนเปลือกเมล็ดมี รอยแผลเป็ น (Hilum) ที่มีรูไมโครไพล์ ซึ่งเป็ น ทางผ่านของ Pollen Tube มาก่อน เปลือก เมล็ดอาจมี การเปลี่ยนแปลงไป ในพืชบางอย่าง เช่น เปลือกเมล็ดชั้นนอก 43 ประภาพันธ ์ศิริ
  • 44. 2. เอมบริโอ (Embryo) เป็ นส่วนที่เจริญ มาจากไซโกต ประกอบด้วย 3 ส่วน 1) ใบเลี้ยง (Cotyledon) มีหน้าที่สะสม อาหารไว้เลี้ยงต้นอ่อน โดยทาการย่อยและ ดูดซึมอาหารที่อยู่รอบ ๆ คือ เอนโดสเปิ ร ์มมา เก็บไว้ พืชบางชนิดใบเลี้ยงสะสมอาหารไว้ มาก ทาให้ใบเลี้ยงมีลักษณะหนา ในเมล็ดจึง ไม่มีเอนโดสเปิ ร ์มเหลืออยู่ พืชบางชนิดใบ เลี้ยงสะสมอาหารมากใบจึงบาง เมล็ดจะมีเอน โดสเปิ ร ์มมาก นอกจากนี้ใบเลี้ยงยังป้ องกัน ยอดอ่อนและช่วยในการสังเคราะห์ด้วยแสง 44 ประภาพันธ ์ศิริ
  • 45. 2) ลาต้นอ่อน (Caulicle) เป็ นแกนกลาง มี 2 บริเวณ คือ บริเวณที่อยู่เหนือใบเลี้ยงขึ้น ไ ป เ รี ย ก ว่ า เ อ พิ ค อ ทิ ล ( Epicotyl) ซึ่งบริเวณปลายสุดเป็ นส่วนของยอดแรกเกิด (Plumule) ในพืชใบเลี้ยงเดี่ยวจะมีเยื่อบาง ๆ หุ้ม เรียกว่า Coleoptile ส่วนบริเวณที่อยู่ใต้ ใ บ เ ลี้ย ง ล ง ม า เ รีย ก ว่ า ไ ฮโ ป ค อ ทิ ล (Hypocotyl) ซึ่งปลายสุดเป็ นรากแรกเกิด ( Radicle) ซึ่ง จ ะ เ จ ริญไ ป เ ป็ น ร า ก แ ก้ว (Primary Root) ต่อไป ในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว จะมีเยื่อบาง ๆ หุ้มรากแรกเกิด เรียกว่า Coleorhiza 45 ประภาพันธ ์ศิริ
  • 46. 3. เอนโดสเปิ ร ์ม (Endosperm) เป็ น เนื้อเยื่อของเมล็ดที่เจริญมาจาก Primary Endosperm Cell (3n) เพื่อสะสมอาหารไว้ ให้ต้นอ่อนใช้ในระยะแรกของการงอก อาหารที่สะสมมีทั้งคาร ์โบไฮเดรต ไขมัน โปรตีน และสารอื่น ๆ มีทั้งชนิ ดที่เป็ น ของเหลว (Liquid Endosperm) เช่น น้า มะพร้าว น้าลูกตาล น้าลูกหมาก และชนิดที่ เป็ นของแข็ง (Fleshy Endosperm) เช่น เนื้อมะพร้าว เนื้อลูกตาล เนื้อลูกหมาก เป็ น ต้น 46 ประภาพันธ ์ศิริ
  • 47. ที่มา : 47 ประภาพันธ ์ศิริ ขันธ ์แสง
  • 49. การเจริญระยะเอ็มบริโอของพืชดอก การเติบโตของเอมบริโอเกิดอยู่ภายใน โดย เริ่มจากไซโกตแบ่ง ไมโทซิสครั้งแรกได้ 2 เซลล์ เซลล์ที่อยู่ติดไมโครไพล์เรียกว่า เบซัล (Basal Cell) และเซลล์ที่อยู่ห่างไมโครไพล์ คือ เทอร ์มินัล (Terminal Cell) เซลล์เบซัลจะแบ่งไม โทซิสอีกหลายครั้งในแนวเดียว เซลล์เรียงตัวเป็ น แถวเดียวยาว โดยเซลล์ล่างสุดขยายใหญ่กว่า เ ซ ล ล์อื่น ๆ ที่แ บ่ งไ ด้นี้เ ป็ น ซัส เ ป น เ ซ อ ร ์ (Suspensor) สาหรับยึดเอมบริโอให้ติดกับ Embryo Sac ส่วนเซลล์เทอร ์มินัลจะแบ่งตัวเป็ น 2 แนวทาง คือ แนวตั้งและแนวนอน ทาให้ได้ กลุ่มเซลล์เป็ นรูปทรงกลม (Globular) อยู่ที่ 49 ประภาพันธ ์ศิริ
  • 51. ก า ร ง อ ก ข อ ง เ ม ล็ ด ( Seed Germination) การงอกของเมล็ด คือ การกลับคืนสู่ สภาพการเจริญเติบโตของเมล็ดโดย เ อ็ ม บ ริ โ อ พ้ น จ า ก ร ะ ย ะ ก า ร พัก ตัว (Dormancy) เริ่มมีกิจกรรมของชีวิตเจริญ งอกออกมาจากเมล็ดและเปลี่ยนแปลงเป็ นต้น ใหม่ ที่มา : 51 ประภาพันธ ์ศิริ ขันธ ์แสง
  • 52. การงอกของเมล็ดต้องการปั จจัยที่ จาเป็ น ได้แก่ 1. น้า เมล็ดจะงอกได้ต้องอยู่ในสภาพที่ มีความชื้นที่พอเหมาะ น้าช่วยทาให้เปลือก เมล็ดอ่อนนุ่ม ทาให้ต้นอ่อนสามารถดันทะลุ เปลือกออกมาได้ ช่วยทาให้ออกซิเจนผ่าน เข้าสู่เมล็ดได้ง่าย น้าที่เข้าสู่เมล็ดช่วยละลาย สารในโพรโตพลาซึมเจือจางลงจนทางานได้ และช่วยใน การนาสารอาหารที่สะสมจาก เอนโดสเปิ ร ์มไปเลี้ยง ส่วนต่างๆ ของเอ็มบริโอได้ 52 ประภาพันธ ์ศิริ
  • 53. 2. ออกซิเจน การงอกของเมล็ดต้องใช้ พลังงานเพื่อการแบ่งเซลล์ การเพิ่มขนาด ของเซลล์จึงจาเป็ นต้องใช้ออกซิเจนใน การเผาผลาญอาหารที่สะสมอยู่ในเมล็ด พลังงานบางส่วนจะเปลี่ยนเป็ นความร้อน ดังนั้นขณะเมล็ดงอกจึงเกิดความร้อนด้วย เมล็ดจะงอกได้ดีที่ปริมาณออกซิเจน 20 เปอร ์เซ็นต์หรือมากกว่า สาหรับพืชน้าที่มี ปริมาณออกซิเจนต่า แต่สามารถงอกได้ดี เพราะเมล็ดหายใจแบบไม่ใช้ออกซิเจน (Anaerobic Respiration) 53 ประภาพันธ ์ศิริ
  • 54. 3. อุณหภูมิ พืชแต่ละชนิดต้องการ อุณหภูมิสาหรับการงอกของเมล็ดที่แตกต่าง กัน พืชเขตร้อนต้องการอุณหภูมิสูงกว่าพืช เ ข ต ห น า ว แ ต่ อุ ณ ห ภู มิ ที่ พ อ เ ห ม า ะ (Optimum Temperature) ของเมล็ดพืช ทั่วไปอยู่ระหว่าง 20-30 องศาเซลเซียส นอกจากนี้พืชบางชนิดอาจต้องการ ปัจจัยอย่างอื่นสาหรับ การงอกของ เมล็ด เช่น พืชพวกหญ้า และยาสูบ เมล็ดจะ งอกได้ดีถ้าได้รับแสงสว่าง โดยทั่วไปแสง สว่างไม่เป็ นปัจจัยสาหรับการงอกของเมล็ด 54 ประภาพันธ ์ศิริ
  • 55. ลักษณะการงอกของเมล็ด การงอกของเมล็ดจาแนกได้ 2 ลักษณะ ได้แก่ 1. Epigeal Germination เป็ นการงอก โดยรากแรกเกิด (Radicle) จะงอกออกมา ก่อน กลายเป็ นรากแก้ว จากนั้นส่วนของลา ต้นใต้ใบเลี้ยง (Hypocotyl) จะเจริญและ ยืด ตัวอย่างรวดเร็ว ดึงใบเลี้ยงและลาต้นเหนือใบ เลี้ยง (Epicotyl) ออกจากเปลือกเมล็ดชูขึ้น เหนือดิน เมื่อใบเลี้ยงกางออก ลาต้นเหนือใบ เลี้ยงจะยืดตัวตรงขึ้นชูส่วนยอดแรกเกิด (Plumule) เมื่อเกิดใบแท้ที่สังเคราะห์ด้วยแสง 55 ประภาพันธ ์ศิริ
  • 56. 2. Hypogeal Germination เป็ นการ ง อ ก ที่ ส่ ว น ข อ ง ต้น อ่ อ นใ ต้ใ บ เ ลี้ย ง (Hypocotyl) เจริญเติบโตช้ากว่าลาต้น เหนือใบเลี้ยง (Epicotyl) ดังนั้น ลาต้นเหนือ ใบเลี้ยงกับยอดแรกเกิดเท่านั้นที่งอกขึ้นมา เหนือพื้นดิน โดยมีส่วนลาต้นใต้ใบเลี้ยงจม อยู่ใต้ดิน ส่วนใหญ่เป็ นการงอกของพืชใบ เลี้ยงเดี่ยวพวกข้าว ข้าวโพด หญ้า ส่วนพวก ใบเลี้ยงคู่ เป็ นพวก ถั่วเมล็ดกลม (Pea) เช่น ถั่วลันเตา และพืชพวกส้ม 56 ประภาพันธ ์ศิริ
  • 57. ที่มา : http://www.britannica.com 57 ประภาพันธ ์ศิริ
  • 58. ร ะ ย ะ พั ก ตั ว ข อ ง เ ม ล็ ด ( Seed Dormancy) ระยะพักตัว คือ ช่วงเวลาที่พืชหยุดการ เจริญชั่วคราว ไม่มีกิจกรรมการ ดารงชีพ ทั้งนี้เพื่อหลีกเลี่ยงสภาพแวดล้อม ที่ไม่เหมาะสม หรือเกิดจากสภาวะภายใน ของพืชที่ไม่พร้อมจะทางาน เมล็ดพืชบาง ชนิดแม้จะแก่แล้วแต่ยังต้องรอเวลาที่จะงอก ซึ่งเกิดจากสภาพภายในของเมล็ด การพัก ตัวของเมล็ดมีหลายสาเหตุ ได้แก่ 58 ประภาพันธ ์ศิริ
  • 59. 1. เปลือกเมล็ด เมล็ดพืชบางชนิดมี เปลือกแข็งและหนามาก เป็ นอุปสรรคต่อการ ขยายตัวของ Embryo ทั้ง ๆ ที่น้าและ ออกซิเจนสามารถซึมผ่านได้ดี ทาให้เมล็ด พักตัวอยู่ได้นานหลายสิบปี เช่น เมล็ด ผักกาด และผักขมบางชนิด เมล็ดบางอย่าง เปลือกเมล็ดไม่ยอมให้น้าซึมผ่าน เช่น เมล็ด พืชตระกูลถั่ว และผักบุ้งฝรั่ง โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งถ้าเก็บไว้ในที่แห้งน้าจะซึมผ่านได้ช้ามาก แต่ถ้าอยู่ในธรรมชาติในดินมีจุลินทรีย์ช่วย ย่อยทาให้น้าซึมผ่านเปลือกเมล็ดได้ดีขึ้น ระยะพักตัวก็จะน้อยลง ทาให้งอกได้เร็วขึ้น 59 ประภาพันธ ์ศิริ
  • 60. 2. การเจริญของเอมบริโอในเมล็ด ปกติ เมล็ดเมื่อแก่จะแห้งและหลุดออกจากต้น เอมบริโอจะเจริญเต็มที่พร้อมที่จะงอก แต่ เมล็ดบางอย่างเอมบริโอยังต้องใช้เวลาใน การเจริญอีกระยะหนึ่งภายหลังเมล็ดแก่ ซึ่ง อาจนานเป็ นสัปดาห์หรือเป็ นเดือน เช่น เมล็ดแปะก๊วย (Ginkgo biloba) และ กล้วยไม้บางชนิด 60 ประภาพันธ ์ศิริ
  • 61. 2. การเจริญของเอมบริโอในเมล็ด ปกติ เมล็ดเมื่อแก่จะแห้งและหลุดออกจากต้น เอมบริโอจะเจริญเต็มที่พร้อมที่จะงอก แต่ เมล็ดบางอย่างเอมบริโอยังต้องใช้เวลาใน การเจริญอีกระยะหนึ่งภายหลังเมล็ดแก่ ซึ่ง อาจนานเป็ นสัปดาห์หรือเป็ นเดือน เช่น เมล็ดแป ๊ ะก๊วย (Ginkgo biloba) และ กล้วยไม้บางชนิด 61 ประภาพันธ ์ศิริ
  • 62. 3. การพักตัวของเอ็มบริโอ (Dormant Embryo) เมล็ดพืชบางชนิดมีการพักตัวใน ระยะเอ็มบริโอ โดยต้องระยะเวลาใน การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาของเนื้อเยื่อ ให้สมบูรณ์ ดังนั้นแม้ว่า เอ็มบริโอเจริญ เต็มที่แล้วอยู่ในสภาพที่พร้อมจะงอก คือ มี ความชื้นและออกซิเจน ปราศจากเปลือก เมล็ดแล้วก็ตาม เมล็ดก็จะยังไม่งอก เช่น แอป เปิ้ ล ท้อ สนสองใบ สนสามใบ ต้องการ อุณหภูมิต่า ความชื้นสูง เป็ นระยะยาวนาน ในการเปลี่ยนแปลงสรีรวิทยาของเนื้อเยื่อ เอ็มบริโอจึงมักพักตัวตลอดช่วงเวลาฤดู 62 ประภาพันธ ์ศิริ
  • 63. 4. ส า ร เ ค มี ที่ ยั บ ยั้ ง ก า ร ง อ ก (Germination Inhibitor) เมล็ดของพืช บางชนิดมีสารยับยั้งการงอกของเมล็ด พวก กรดแอบไซซิก (ABA) เคลือบอยู่ เช่น มะเขือ เทศ มะละกอ มีเมือกที่หุ้มเมล็ดเป็ นสารยับยั้ง การงอกของเมล็ด ดังนั้น ก่อนนาเมล็ดไป เพาะควรล้างเมือก หรือนาไปตากแดดให้แห้ง จะทาให้เมล็ดงอกเร็วขึ้น นอกจากนี้ยังมีสาเหตุอื่น ๆ ที่ทาให้เกิด การพักตัว แต่ไม่ใช่สาเหตุที่เกิดโดยตรง เช่น แสง อาจเป็ นตัวยับยั้งการงอกของเมล็ด ้ ่63 ประภาพันธ ์ศิริ
  • 64. ความสามารถในการงอกของเมล็ด (Seed Viability) ความสามารถในการงอกของเมล็ด (Seed Viability) คือ ความสามารถของ เมล็ดในการมีชีวิตที่จะงอกเป็ นต้นอ่อนหรือ กล้า (Seedling) ได้ เมล็ดของพืชแต่ละ ชนิดมีความสามารถในการงอกในระยะที่ แตกต่างกัน บางชนิดถ้าเก็บไว้นานเกินไปจะ ไม่งอก ความสามารถในการงอกของเมล็ด ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ ได้แก่ 1. การเจริญเติบโตเต็มที่ของเมล็ด (Maturity of Seed) เมล็ดที่แก่จัดจะมี 64 ประภาพันธ ์ศิริ
  • 65. 2. ความแข็งแรงของต้นพันธุ ์ ถ้าต้น พันธุ ์มีความแข็งแรง ปราศจากโรค เมล็ด สะสมอาหารมาก เอ็มบริโอมีขนาดใหญ่ ต้น กล้าที่งอกออกมาก็จะแข็งแรง 3. การเก็บรักษาเมล็ดพืช วิธีการเก็บ รักษาเมล็ดพืช ต้องเก็บในสภาพที่มีอุณหภูมิ ต่ า ค ว า ม ชื้ น น้ อ ย จ ะ ท า ใ ห้ รัก ษ า ความสามารถในการงอกของเมล็ดไว้ได้นาน ป ก ติ นิ ย ม เ ก็ บ ที่ อุ ณ ห ภู มิ ป ร ะ ม า ณ 5 องศาเซลเซียส 4. อายุของเมล็ด (Longevity) เมล็ด 65 ประภาพันธ ์ศิริ
  • 68. ที่มา : กาญจนา สาลีติ๊ด. 2541. พฤกษศาสตร ์ทั่วไป. พิมพ์ ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร ์. 236 หน้า. สมบุญ เตชะภิญญาวัฒน์. 2537. พฤกษศาสตร ์. พิมพ์ ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ์. General Biolology โดย ชุมพล คุณวาสี ภาควิชา พฤกษศาสตร ์คณะวิทยาศาสตร ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ประนอม จันทรโณทัย. 2544. อนุกรมวิธานพืช. ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น. การดารงชีวิตของพืช. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. http://www.nbrchannel.com/frontend/picture_ gallery 66 ประภาพันธ ์ศิริ