SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 4 ความสิ้นเปลืองของวัสดุในงานเชื่อมแก๊ส
และไฟฟ้ า
2 คาบ
ใบความรู้
เรื่อง 4.2 กาลังไฟฟ้ าที่ใช้ในงานเชื่อมและการคิดราคา
ค่ากระแสไฟฟ้ า
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
งานเชื่อมไฟฟ้ าด้วยเครื่องเชื่อม
เครื่องเชื่อมไฟฟ้ าที่ใช้ในวงการอุตสาหกรรม จะมีทั้งเครื่องเชื่อมขนาดเล็ก ซึ่งใช้ไฟฟ้าเฟสเดียวและเครื่องเชื่อม
ขนาดกลาง และใหญ่จะใช้ไฟฟ้ าสามเฟส การเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้ าให้เกิดเป็นพลังงานความร้อน เพื่อหลอมละลายวัสดุ
งานจึงแตกต่างกัน นอกจากนี้การสูญเสียพลังงานไฟฟ้า ขณะที่ เครื่องเชื่อมทาการเชื่อมและขณะที่หยุดทาการเชื่อม
เพื่อทาความสะอาดแนวเชื่อมก็ยังแตกต่างกันอีก ความสามารถในการเชื่อมของเครื่องเชื่อมบางชนิด ต้องใช้เวลาเพื่อ
ป้ องกันขดลวดที่แปลงพลังงานไฟฟ้ าในเครื่องเชื่อมไม่ให้ความร้อนเกินไปอีกด้วย งานเชื่อมที่ดี ยังต้องประกอบด้วยช่าง
เชื่อมและ งานประกอบเป็นหลักใหญ่ ลวดเชื่อมที่ใช้เชื่อมจะสิ้นเปลืองมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับช่างประกอบ
และ ช่างเชื่อม ฉะนั้นการสิ้นเปลืองของงานเชื่อมไฟฟ้า จึงขึ้นอยู่กับหลักใหญ่ ๆ 3 จุด คือ เครื่องเชื่อมไฟฟ้ า การประกอบ
งาน และช่างเชื่อม
งานเชื่อมด้วยไฟฟ้ า เรียกว่า การเชื่อมอาร์ดไฟฟ้ า (Arc Welding) นั้น มีด้วยกันหลายแบบ แต่จะกล่าวถึง การ
เชื่อมไฟฟ้า โดยใช้เครื่องเชื่อมแบบทรานฟอเมอร์ (Transformer) คือแบบหม้อแปลงแรงดันไฟฟ้า เครื่องเชื่อมแบบเรคติไฟ
เออร์ (Rectifier) แบบหม้อแปลงที่แปลงการไหลของไฟฟ้ า และแบบมอเตอร์เยเนเรเตอร์ (Motor Generator)
เครื่องเชื่อมไฟฟ้ าที่ใช้ในปัจจุบันยังมีที่ใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เข้ามาเกี่ยวข้อง เช่น เครื่องเชื่อมที่ควบคุมด้วยลิเนียร์
(Linear Control) เครื่องเชื่อมแบบอินเวอร์เตอร์ (Inverter) ซึ่งไม่กล่าวถึงเพราะกินกระแสไฟฟ้ าน้อย ขึ้นอยู่กับการใช้งาน
แต่เครื่อง มีราคาแพง
การหากาลังไฟฟ้ าที่ใช้ในการเชื่อม
เครื่องเชื่อมไฟฟ้าเป็นเครื่องจักรไฟฟ้ าชนิดหนึ่ง วิธีการคานวณหากาลังไฟฟ้าที่ใช้ในงานเชื่อม มี
วิธีการคานวณ โดยแยกออกเป็นเครื่องเชื่อมไฟฟ้าขนาดเล็กที่ใช้ไฟฟ้าเฟสเดียว ส่วนเครื่องเชื่อมไฟฟ้าขนาดใหญ่ ต้องใช้
ไฟฟ้า 3 เฟส มีสูตร ดังนี้
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 4 ความสิ้นเปลืองของวัสดุในงานเชื่อมแก๊ส
และไฟฟ้ า
2 คาบ
ใบความรู้
เรื่อง 4.2 กาลังไฟฟ้ าที่ใช้ในงานเชื่อมและการคิดราคา
ค่ากระแสไฟฟ้ า
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
เครื่องเชื่อมไฟฟ้าแบบเฟสเดียว (Single Phase) 220 V
P =
1000
cosEI θ
(kw) ( 732.13  )
P = P.
=
1000
oscEI θη
(kw)
เครื่องเชื่อมไฟฟ้าแบบสามเฟส (Three Phase) 380 V
P =
1000
cos3EI θ
(kw)
Pe =
1000
cos3EI .ηθ
(kw)
เครื่องเชื่อมไฟฟ้า D.C.
P =
1000
EI
(kw)
เมื่อ
P = กาลังไฟฟ้า Input หรือเป็นกาลังที่ดึงออกมาจากระบบ การจ่ายไฟฟ้า
(kw)ป้อนเข้าเครื่อง
Pe = กาลังไฟฟ้า Output ที่ส่งออกไปเป็นสมรรถนะของเครื่องเชื่อมไฟฟ้านั้น (km)
 (อ่านว่า อีต้า) = ประสิทธิภาพของเครื่องเชื่อมไฟฟ้า =
p
pe 100%
E = แรงดันไฟฟ้า (โวลท์; V)
I = กระแสไฟฟ้า (แอมแปร์;Amp)
cos = Power Factor
1000
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 4 ความสิ้นเปลืองของวัสดุในงานเชื่อมแก๊ส
และไฟฟ้ า
2 คาบ
ใบความรู้
เรื่อง 4.2 กาลังไฟฟ้ าที่ใช้ในงานเชื่อมและการคิดราคา
ค่ากระแสไฟฟ้ า
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
ตัวอย่างที่ 4.7 เครื่องเชื่อมไฟฟ้าชนิดหม้อแปลง ใช้ไฟ 220 V กินกระแสไฟฟ้า 70 Amp. มีค่า Power factor = 0.3
เครื่องเชื่อมเครื่องนี้มีกาลังเท่าไร
วิธีทา จากสูตร P = 1000
EIcosθ
P = กาลังเครื่องเชื่อม
E = แรงดันไฟฟ้า = 220 V
I = กระแสไฟฟ้า = 70 Amp.
cos = Power Factor
แทนค่า P =
1000
3.070220 
= 4.62 km
 เครื่องเชื่อมมีกาลัง = 4.62 km ตอบ
ตัวอย่างที่ 4.8 เครื่องไฟฟ้าชนิด Motor Generator ใช้กับแรงดันไฟฟ้า 380 V ให้กาลัง Output 19 kw มีค่า Power
factor เท่ากับ 0.7 และประสิทธิภาพของเครื่องเชื่อม 0.75 จงคานวณหากระแสไฟฟ้าที่ใช้เป็นเท่าไร
วิธีทา จากสูตร Pe =
1000
cos3EI .ηθ
Pe = กาลังไฟฟ้า Out put = 19 kw
E = แรงดันไฟฟ้า = 380 V
cos = Power Factor = 0.7
 = ประสิทธิภาพของเครื่องเชื่อม = 0.75
I = กระแสไฟฟ้า = ?
แทนค่า 19 =
1000
75.07.031380 
I =
75.07.03380
100019


วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 4 ความสิ้นเปลืองของวัสดุในงานเชื่อมแก๊ส
และไฟฟ้ า
2 คาบ
ใบความรู้
เรื่อง 4.2 กาลังไฟฟ้ าที่ใช้ในงานเชื่อมและการคิดราคา
ค่ากระแสไฟฟ้ า
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
=
53.345
19000
= 54.99 Amp.
 เครื่องเชื่อมนี้ใช้กระแสไฟฟ้า = 54.99 แอมแปร์ ตอบ
การคิดราคาค่ากระแสไฟฟ้ า
ในการคิดราคากระแสไฟฟ้าจากแนวเชื่อม โดยคิดจากแรงดันไฟฟ้ากระแสไฟฟ้าที่ใช้ในการเชื่อม แล้วนามาคานวณ
กับค่าหน่วยไฟฟ้า โดยได้จากสูตร ดังนี้
P = E.I (W) แต่ 1000 W = 1 kw
W =
1000
t.I.E
(kw-h) หรือ ยูนิต (Unit)
โดย W = งานไฟฟ้า (kw-h กิโลวัตต์ต่อชั่วโมง)
E = แรงดันไฟฟ้า (Volt = โวลท์)
I = กระแสไฟฟ้าที่ใช้เชื่อม (A = แอมแปร์)
t = เวลาที่ใช้ (h = ชั่วโมง)
P = กาลังไฟเครื่องเชื่อม (w = วัตต์)
ตัวอย่างที่ 4.9 ในการเชื่อมไฟฟ้าด้วยเครื่องเชื่อมแบบหม้อแปลงกับแรงดันไฟฟ้า 220 V กินกระแสไฟฟ้า 40 A ถ้าทาการ
เชื่อมแบบต่อเนื่อง 10 นาที จะเสียค่าไฟฟ้าเป็นเงินจานวนเท่าไร โดยคิดค่าไฟฟ้าหน่วยละ 6 บาท
วิธีทา จากสูตร w =
1000
t.I.E
kw - h ; Unit
แทนค่า w =
1000
166.040220 
60 นาที = 1 ชม.
= 1.46 หน่วย 10 นาที =
60
101
= 0.166 ชม.
ค่าไฟฟ้าคิดหน่วยละ 6 บาท จะต้องเสียค่าไฟฟ้าเป็นเงิน 6  1.46 = 8.76 บาท
 ในการเชื่อมตามเงื่อนไขนี้ จะต้องจ่ายเงินเป็นค่าไฟฟ้าเท่ากับ 8.76 บาท ตอบ
=
=
=
=
=

More Related Content

What's hot

การท่องเที่ยวกับธุรกิจ
การท่องเที่ยวกับธุรกิจการท่องเที่ยวกับธุรกิจ
การท่องเที่ยวกับธุรกิจ
a
 
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอมเรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
Apinya Phuadsing
 
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
Apinya Phuadsing
 
Pisa science for จุฬาภรณ ข้อสอบ ชุด1
Pisa science for จุฬาภรณ ข้อสอบ ชุด1Pisa science for จุฬาภรณ ข้อสอบ ชุด1
Pisa science for จุฬาภรณ ข้อสอบ ชุด1
Suphanida Montreewiwat
 
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้าใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
พัน พัน
 

What's hot (20)

เค้าโครงร่างคู่
เค้าโครงร่างคู่เค้าโครงร่างคู่
เค้าโครงร่างคู่
 
การท่องเที่ยวกับธุรกิจ
การท่องเที่ยวกับธุรกิจการท่องเที่ยวกับธุรกิจ
การท่องเที่ยวกับธุรกิจ
 
M cmu-01-10-54-p1
M cmu-01-10-54-p1M cmu-01-10-54-p1
M cmu-01-10-54-p1
 
เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์
 
แรงไฟฟ้าและสนามไฟฟ้าสถิต
แรงไฟฟ้าและสนามไฟฟ้าสถิตแรงไฟฟ้าและสนามไฟฟ้าสถิต
แรงไฟฟ้าและสนามไฟฟ้าสถิต
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมี
 
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solidบทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
บทที่ 2 โครงสร้างของของแข็ง the structure of solid
 
Report stell2
Report stell2Report stell2
Report stell2
 
5 2
5 25 2
5 2
 
รูปเล่มคอม
รูปเล่มคอมรูปเล่มคอม
รูปเล่มคอม
 
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอมเรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
 
505
505505
505
 
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดีเอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
 
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง น้ำ
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง น้ำวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง น้ำ
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง น้ำ
 
Pisa science for จุฬาภรณ ข้อสอบ ชุด1
Pisa science for จุฬาภรณ ข้อสอบ ชุด1Pisa science for จุฬาภรณ ข้อสอบ ชุด1
Pisa science for จุฬาภรณ ข้อสอบ ชุด1
 
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
 
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้าใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
 
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนบทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
 

Viewers also liked (6)

5 1
5 15 1
5 1
 
8 1
8 18 1
8 1
 
1 4
1 41 4
1 4
 
6 2
6 26 2
6 2
 
3 2
3 23 2
3 2
 
6 3
6 36 3
6 3
 

More from Pannathat Champakul (20)

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
407
407407
407
 
603
603603
603
 
602
602602
602
 
601
601601
601
 
600
600600
600
 
504
504504
504
 
503
503503
503
 
502
502502
502
 
501
501501
501
 
500
500500
500
 
406
406406
406
 
405
405405
405
 
404
404404
404
 
403
403403
403
 
402
402402
402
 
401
401401
401
 
400
400400
400
 
305
305305
305
 
304
304304
304
 

4 2

  • 1. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 4 ความสิ้นเปลืองของวัสดุในงานเชื่อมแก๊ส และไฟฟ้ า 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 4.2 กาลังไฟฟ้ าที่ใช้ในงานเชื่อมและการคิดราคา ค่ากระแสไฟฟ้ า  ผู้สอน  ผู้เรียน งานเชื่อมไฟฟ้ าด้วยเครื่องเชื่อม เครื่องเชื่อมไฟฟ้ าที่ใช้ในวงการอุตสาหกรรม จะมีทั้งเครื่องเชื่อมขนาดเล็ก ซึ่งใช้ไฟฟ้าเฟสเดียวและเครื่องเชื่อม ขนาดกลาง และใหญ่จะใช้ไฟฟ้ าสามเฟส การเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้ าให้เกิดเป็นพลังงานความร้อน เพื่อหลอมละลายวัสดุ งานจึงแตกต่างกัน นอกจากนี้การสูญเสียพลังงานไฟฟ้า ขณะที่ เครื่องเชื่อมทาการเชื่อมและขณะที่หยุดทาการเชื่อม เพื่อทาความสะอาดแนวเชื่อมก็ยังแตกต่างกันอีก ความสามารถในการเชื่อมของเครื่องเชื่อมบางชนิด ต้องใช้เวลาเพื่อ ป้ องกันขดลวดที่แปลงพลังงานไฟฟ้ าในเครื่องเชื่อมไม่ให้ความร้อนเกินไปอีกด้วย งานเชื่อมที่ดี ยังต้องประกอบด้วยช่าง เชื่อมและ งานประกอบเป็นหลักใหญ่ ลวดเชื่อมที่ใช้เชื่อมจะสิ้นเปลืองมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับช่างประกอบ และ ช่างเชื่อม ฉะนั้นการสิ้นเปลืองของงานเชื่อมไฟฟ้า จึงขึ้นอยู่กับหลักใหญ่ ๆ 3 จุด คือ เครื่องเชื่อมไฟฟ้ า การประกอบ งาน และช่างเชื่อม งานเชื่อมด้วยไฟฟ้ า เรียกว่า การเชื่อมอาร์ดไฟฟ้ า (Arc Welding) นั้น มีด้วยกันหลายแบบ แต่จะกล่าวถึง การ เชื่อมไฟฟ้า โดยใช้เครื่องเชื่อมแบบทรานฟอเมอร์ (Transformer) คือแบบหม้อแปลงแรงดันไฟฟ้า เครื่องเชื่อมแบบเรคติไฟ เออร์ (Rectifier) แบบหม้อแปลงที่แปลงการไหลของไฟฟ้ า และแบบมอเตอร์เยเนเรเตอร์ (Motor Generator) เครื่องเชื่อมไฟฟ้ าที่ใช้ในปัจจุบันยังมีที่ใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เข้ามาเกี่ยวข้อง เช่น เครื่องเชื่อมที่ควบคุมด้วยลิเนียร์ (Linear Control) เครื่องเชื่อมแบบอินเวอร์เตอร์ (Inverter) ซึ่งไม่กล่าวถึงเพราะกินกระแสไฟฟ้ าน้อย ขึ้นอยู่กับการใช้งาน แต่เครื่อง มีราคาแพง การหากาลังไฟฟ้ าที่ใช้ในการเชื่อม เครื่องเชื่อมไฟฟ้าเป็นเครื่องจักรไฟฟ้ าชนิดหนึ่ง วิธีการคานวณหากาลังไฟฟ้าที่ใช้ในงานเชื่อม มี วิธีการคานวณ โดยแยกออกเป็นเครื่องเชื่อมไฟฟ้าขนาดเล็กที่ใช้ไฟฟ้าเฟสเดียว ส่วนเครื่องเชื่อมไฟฟ้าขนาดใหญ่ ต้องใช้ ไฟฟ้า 3 เฟส มีสูตร ดังนี้
  • 2. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 4 ความสิ้นเปลืองของวัสดุในงานเชื่อมแก๊ส และไฟฟ้ า 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 4.2 กาลังไฟฟ้ าที่ใช้ในงานเชื่อมและการคิดราคา ค่ากระแสไฟฟ้ า  ผู้สอน  ผู้เรียน เครื่องเชื่อมไฟฟ้าแบบเฟสเดียว (Single Phase) 220 V P = 1000 cosEI θ (kw) ( 732.13  ) P = P. = 1000 oscEI θη (kw) เครื่องเชื่อมไฟฟ้าแบบสามเฟส (Three Phase) 380 V P = 1000 cos3EI θ (kw) Pe = 1000 cos3EI .ηθ (kw) เครื่องเชื่อมไฟฟ้า D.C. P = 1000 EI (kw) เมื่อ P = กาลังไฟฟ้า Input หรือเป็นกาลังที่ดึงออกมาจากระบบ การจ่ายไฟฟ้า (kw)ป้อนเข้าเครื่อง Pe = กาลังไฟฟ้า Output ที่ส่งออกไปเป็นสมรรถนะของเครื่องเชื่อมไฟฟ้านั้น (km)  (อ่านว่า อีต้า) = ประสิทธิภาพของเครื่องเชื่อมไฟฟ้า = p pe 100% E = แรงดันไฟฟ้า (โวลท์; V) I = กระแสไฟฟ้า (แอมแปร์;Amp) cos = Power Factor 1000
  • 3. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 4 ความสิ้นเปลืองของวัสดุในงานเชื่อมแก๊ส และไฟฟ้ า 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 4.2 กาลังไฟฟ้ าที่ใช้ในงานเชื่อมและการคิดราคา ค่ากระแสไฟฟ้ า  ผู้สอน  ผู้เรียน ตัวอย่างที่ 4.7 เครื่องเชื่อมไฟฟ้าชนิดหม้อแปลง ใช้ไฟ 220 V กินกระแสไฟฟ้า 70 Amp. มีค่า Power factor = 0.3 เครื่องเชื่อมเครื่องนี้มีกาลังเท่าไร วิธีทา จากสูตร P = 1000 EIcosθ P = กาลังเครื่องเชื่อม E = แรงดันไฟฟ้า = 220 V I = กระแสไฟฟ้า = 70 Amp. cos = Power Factor แทนค่า P = 1000 3.070220  = 4.62 km  เครื่องเชื่อมมีกาลัง = 4.62 km ตอบ ตัวอย่างที่ 4.8 เครื่องไฟฟ้าชนิด Motor Generator ใช้กับแรงดันไฟฟ้า 380 V ให้กาลัง Output 19 kw มีค่า Power factor เท่ากับ 0.7 และประสิทธิภาพของเครื่องเชื่อม 0.75 จงคานวณหากระแสไฟฟ้าที่ใช้เป็นเท่าไร วิธีทา จากสูตร Pe = 1000 cos3EI .ηθ Pe = กาลังไฟฟ้า Out put = 19 kw E = แรงดันไฟฟ้า = 380 V cos = Power Factor = 0.7  = ประสิทธิภาพของเครื่องเชื่อม = 0.75 I = กระแสไฟฟ้า = ? แทนค่า 19 = 1000 75.07.031380  I = 75.07.03380 100019  
  • 4. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 4 ความสิ้นเปลืองของวัสดุในงานเชื่อมแก๊ส และไฟฟ้ า 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 4.2 กาลังไฟฟ้ าที่ใช้ในงานเชื่อมและการคิดราคา ค่ากระแสไฟฟ้ า  ผู้สอน  ผู้เรียน = 53.345 19000 = 54.99 Amp.  เครื่องเชื่อมนี้ใช้กระแสไฟฟ้า = 54.99 แอมแปร์ ตอบ การคิดราคาค่ากระแสไฟฟ้ า ในการคิดราคากระแสไฟฟ้าจากแนวเชื่อม โดยคิดจากแรงดันไฟฟ้ากระแสไฟฟ้าที่ใช้ในการเชื่อม แล้วนามาคานวณ กับค่าหน่วยไฟฟ้า โดยได้จากสูตร ดังนี้ P = E.I (W) แต่ 1000 W = 1 kw W = 1000 t.I.E (kw-h) หรือ ยูนิต (Unit) โดย W = งานไฟฟ้า (kw-h กิโลวัตต์ต่อชั่วโมง) E = แรงดันไฟฟ้า (Volt = โวลท์) I = กระแสไฟฟ้าที่ใช้เชื่อม (A = แอมแปร์) t = เวลาที่ใช้ (h = ชั่วโมง) P = กาลังไฟเครื่องเชื่อม (w = วัตต์) ตัวอย่างที่ 4.9 ในการเชื่อมไฟฟ้าด้วยเครื่องเชื่อมแบบหม้อแปลงกับแรงดันไฟฟ้า 220 V กินกระแสไฟฟ้า 40 A ถ้าทาการ เชื่อมแบบต่อเนื่อง 10 นาที จะเสียค่าไฟฟ้าเป็นเงินจานวนเท่าไร โดยคิดค่าไฟฟ้าหน่วยละ 6 บาท วิธีทา จากสูตร w = 1000 t.I.E kw - h ; Unit แทนค่า w = 1000 166.040220  60 นาที = 1 ชม. = 1.46 หน่วย 10 นาที = 60 101 = 0.166 ชม. ค่าไฟฟ้าคิดหน่วยละ 6 บาท จะต้องเสียค่าไฟฟ้าเป็นเงิน 6  1.46 = 8.76 บาท  ในการเชื่อมตามเงื่อนไขนี้ จะต้องจ่ายเงินเป็นค่าไฟฟ้าเท่ากับ 8.76 บาท ตอบ = = = = =