SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
2. ความยาวเหยียดตรงของชิ้นงานดัด
ความยาวที่เขียนในงานช่างอุตสาหกรรม เป็นการเขียนกาหนดขนาดที่สั่งไว้ในรูปแบบเชิง
วิศวกรรม ซึ่งปกติจะเขียนสั่งไว้อย่างชัดเจน แต่ในงานสร้างแบบ เพื่อให้ได้กาหนดขนาดในรูปแบบ
ให้ได้ตามแบบที่ต้องการ ช่างผู้สร้างจาเป็นที่จะต้องคานวณความยาวต่าง ๆ ตามความจาเป็น
เพื่อประกอบการทางานของช่าง ความยาวในการทางานมีหลายลักษณะ
ในการดัดงอชิ้นงานจะทาให้เนื้อโลหะ
ด้านนอกยืดออกเนื่องจากแรงอัด แต่
เส้นศูนย์กลางจะไม่เปลี่ยนแปลง จึงคานวณ
หาความยาวเหยียดตรงของส่ วนโค้ง
จากแกนกลาง ซึ่งจะคานวณเหมือนกัน
ทั้งโลหะตันและท่องานม้วน แบ่งออกได้ดังนี้
2.1 งานม้วนทรงกลม
งานม้วนทรงกม คือ การม้วนโลหะที่เป็นแผ่นหรือเป็นแท่งให้เป็นรูปทรงกลม ดังเช่น ท่อ
เหล็ก วิธีการคานวณหาความยาวของชิ้นงานทรงกลมที่มีความหนาไม่มากนัก ให้คานวณจากความ
ยาวของแนวเส้นผ่าศูนย์กลาง (เส้นแกนกลาง) วิธีการที่จะคานวณได้จากสูตร ดังนี้
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 2 ความยาว 2 คาบ
ใบความรู้ เรื่อง 2.2 ความยาวเหยียดตรงของชิ้นงานดัด
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
ยืดออก (แรงดึง)
กดเข้า (แรงอัด)
เส้นศูนย์กลาง
รูปการยืดและหดของชิ้นงานดัดงอ
Do Dm Di
S Lm
Ls
รูปแสดงส่วนต่าง ๆ ของชิ้นงานม้วนกลม
กลม
เชิงวิศวกรรม ซึ่งปกติจะเขียนสั่งไว้อย่างชัดเจน แต่ในงานสร้างแบบ เพื่อให้ได้กาหนดขนาดในรูปแบบ
งานม้วนทรงกลมคือ การม้วนโลหะที่เป็นแผ่นหรือเป็นแท่งให้เป็นรูปทรงกลม ดังเช่น ท่อเหล็ก
Ls
S
Lm
Lm = ความยาวเหยียดตรงของเส้นศูนย์(มม.)
Ls = ความยาวเหยียดตรงของชิ้นงาน (มม.)
S = ความหนาของโลหะแผ่นที่นามาม้วน (มม.)
Di = ขนาดของเส้นผ่านศูนย์กลางวัดใน (มม.)
DO = ขนาดของเส้นผ่านศูนย์กลางวัดนอก (มม.)
Dm = ขนาดของเส้นผ่านศูนย์กลางวัดของเส้นศูนย์ (มม.)
จากรูป Lm = Ls
ดังนั้น การคานวณหาความยาวเหยียดตรงของชิ้นงานม้วนกลม ใช้สูตรดังนี้
เมื่อ Dm = Di + S
= DO – S
ตัวอย่างที่ 2.13 จากรูป จงคานวณหาความยาวเหยียดตรงของแท่งโลหะกลมที่มีความหนา
25 มม. ม้วนกลมที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางวัดในโต 300 มม.
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 2 ความยาว 2 คาบ
ใบความรู้ เรื่อง 2.2 ความยาวเหยียดตรงของชิ้นงานดัด
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
Lm = .Dm
300
S
หรือ Dm
ที่มีความหนา
วิธีทา จากสูตร Lm = .D
Dm = Di + S
Di (เส้นผ่านศูนย์กลางวัดใน) = 300 มม.
S (ความหนาของโลหะกลม) = 25 มม.
 Dm = 300 + 25 = 325 มม.
แทนค่าสูตร Lm = .Dm
Lm = 3.14  325
 ความยาวเหยียดตรง = 1020.5 มม. ตอบ
2.2 งานดัดโค้ง
งานดัดโค้งนี้ เป็นการคานวณความยาวของส่วนโค้งยาวว่ามีความยาวที่แท้จริงเท่าใด
เมื่อทาการดัดไปแล้ว ในบทนี้คิดเฉพาะแท่งตันดัดโค้งเท่านั้น ซึ่งแบ่งเป็น 2 ลักษณะ
ก. งานดัดโค้งกว้าง คือ การดัดชิ้นงานที่มีรัศมีความโค้งยาวเมื่อทาการดัดไปแล้ว
ผิวงานด้านนอกยังขนานอยู่กับเส้นศูนย์
รูปแสดงส่วนต่าง ๆ ของชิ้นงานดัดงอ
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 2 ความยาว 2 คาบ
ใบความรู้ เรื่อง 2.2 ความยาวเหยียดตรงของชิ้นงานดัด
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
mD.π
l1 l2 l3 l4 l5 l6
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 2 ความยาว 2 คาบ
ใบความรู้ เรื่อง 2.2 ความยาวเหยียดตรงของชิ้นงานดัด
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
ความยาวของส่วนโค้งหาได้จากสูตรดังนี้
 =
180
mRβπ
โดยที่
 = ความยาวเหยียดตรงของส่วนโค้ง (มม.)
 = ขนาดของมุมส่วนโค้ง (องศา)
Rm = ขนาดรัศมีของเส้นศูนย์ (มม.)
สาหรับการคานวณความยาวเหยียดตรงของชิ้นงาน ส่วนโค้งงอเป็นส่วนของวงกลม
รวมกับความยาวตรงรูปทรงต่าง ๆ นั้น สามารถหาได้โดยการแบ่งส่วนของงานออกเป็นส่วนต่าง ๆ
ดังที่แสดงในรูป แล้วนามารวมกันจะได้ดังสูตร
โดยที่
L = ความยาวชิ้นงาน เริ่มงานดัดโค้ง
321 ,,  = ความยาวส่วนต่าง ๆ ตามเส้นศูนย์ประกอบกัน
ข. งานดัดโค้งแคบ
โค้งแคบ หมายถึง งานดัดรัศมีที่มีโค้งสั้นมากหรืออาจโค้งหักเป็นมุมฉากและโค้งนอก
แบนลงเล็กกว่ารัศมีความโค้งของวงกลม และภายในเนื้อชิ้นงานไม่มีรอยชารุดหรือหักแต่อย่างใด
L = n..........321  
S
รูปแสดงลักษณะของโค้งแคบ
จากรูป ให้คิดความยาวเริ่มชิ้นงานที่ผ่านส่วนโค้งสั้น มุมฉากนี้ดังสูตร
โดยที่
L = ความยาวเหยียดตรงของชิ้นงานดัดโค้ง (มม.)
1 = ความยาวของด้านที่ 1
2 = ความยาวของด้านที่ 2
S = ความกว้างของชิ้นงาน
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 2 ความยาว 2 คาบ
ใบความรู้ เรื่อง 2.2 ความยาวเหยียดตรงของชิ้นงานดัด
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
1
2
L = s
4
3
21  
ตัวอย่างที่ 2.14 จงคานวณความยาวชิ้นงานเริ่มงานดัดโค้ง ดังรูป
วิธีทา จากสูตร L = 54321  
ความยาวเหยียดตรง = ความยาวส่วนต่าง ๆ ตามเส้นศูนย์ประกอบกัน
จากรูป แบ่งความยาวส่วนต่าง ๆ ออกเป็น 5 ส่วน
 L = 54321  
1 = 




  10
2
80
150 = 120 มม.
2 =
4
1
D
( D ได้มาจากสูตรเส้นรอบวงและ 2 มีเพียง 1 ส่วน ของวงกลม )
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 2 ความยาว 2 คาบ
ใบความรู้ เรื่อง 2.2 ความยาวเหยียดตรงของชิ้นงานดัด
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
54321  
54321  
วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม
รหัส 2103 - 2112
หน่วยที่ 2 ความยาว 2 คาบ
ใบความรู้ เรื่อง 2.2 ความยาวเหยียดตรงของชิ้นงานดัด
 ผู้สอน
 ผู้เรียน
= 8014.3
4
1

= 62.8 มม.
3 = 




  10
20
80
180
= 150 มม.
4 =
180
mRβπ
( เนื่องจาก 4 ได้กาหนดค่ามุมมาให้ จึงใช้สูตรนี้ )
4 = 3514.3
180
135

= 82.43 มม.
5 = 60 มม.
 ความเหยียดตรง = 54321  
= 120 + 62.8 + 150 + 82.43 + 60
= 485.23 มม. ตอบ

More Related Content

What's hot

การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์
การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์
การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์Narasak Sripakdee
 
สัญลักษณ์เชื่อม01
สัญลักษณ์เชื่อม01สัญลักษณ์เชื่อม01
สัญลักษณ์เชื่อม01Narasak Sripakdee
 
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) พื้นที่และปริมาตร
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) พื้นที่และปริมาตรข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) พื้นที่และปริมาตร
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) พื้นที่และปริมาตรsawed kodnara
 
งานโลหะแผ่น4 2
งานโลหะแผ่น4 2งานโลหะแผ่น4 2
งานโลหะแผ่น4 2Pannathat Champakul
 
Solidworks ขั้นพื้นฐาน
Solidworks ขั้นพื้นฐานSolidworks ขั้นพื้นฐาน
Solidworks ขั้นพื้นฐานNut Veron
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนkkrunuch
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานMypoom Poom
 

What's hot (20)

402
402402
402
 
การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์
การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์
การเขียนแผ่นคลี่กรวยเยื้องศูนย์
 
401
401401
401
 
สัญลักษณ์เชื่อม01
สัญลักษณ์เชื่อม01สัญลักษณ์เชื่อม01
สัญลักษณ์เชื่อม01
 
9 1
9 19 1
9 1
 
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) พื้นที่และปริมาตร
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) พื้นที่และปริมาตรข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) พื้นที่และปริมาตร
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) พื้นที่และปริมาตร
 
งานโลหะแผ่น4 2
งานโลหะแผ่น4 2งานโลหะแผ่น4 2
งานโลหะแผ่น4 2
 
1 4
1 41 4
1 4
 
3 3
3 33 3
3 3
 
6 2
6 26 2
6 2
 
6 1
6 16 1
6 1
 
1.แบบฝึกหัดลิมิต
1.แบบฝึกหัดลิมิต1.แบบฝึกหัดลิมิต
1.แบบฝึกหัดลิมิต
 
2 7
2 72 7
2 7
 
Solidworks ขั้นพื้นฐาน
Solidworks ขั้นพื้นฐานSolidworks ขั้นพื้นฐาน
Solidworks ขั้นพื้นฐาน
 
3 2
3 23 2
3 2
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
 
4 2
4 24 2
4 2
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
 
5 1
5 15 1
5 1
 
2 3
2 32 3
2 3
 

Viewers also liked

Viewers also liked (20)

12 3
12 312 3
12 3
 
Vuelta FAVS
Vuelta  FAVSVuelta  FAVS
Vuelta FAVS
 
ความแข็งแรง11 1
ความแข็งแรง11 1ความแข็งแรง11 1
ความแข็งแรง11 1
 
งานโลหะแผ่น3 3
งานโลหะแผ่น3 3งานโลหะแผ่น3 3
งานโลหะแผ่น3 3
 
1 3
1 31 3
1 3
 
12 4
12 412 4
12 4
 
Ammunition Sentencing
Ammunition SentencingAmmunition Sentencing
Ammunition Sentencing
 
Key Issues and Considerations for IP in Thailand
Key Issues and Considerations for IP in ThailandKey Issues and Considerations for IP in Thailand
Key Issues and Considerations for IP in Thailand
 
Ets[1]
Ets[1]Ets[1]
Ets[1]
 
ตัวอย่างโจทย์ปริซึม1
ตัวอย่างโจทย์ปริซึม1ตัวอย่างโจทย์ปริซึม1
ตัวอย่างโจทย์ปริซึม1
 
Málnasuli – projektterv
Málnasuli – projekttervMálnasuli – projektterv
Málnasuli – projektterv
 
Setting and plot
Setting and plotSetting and plot
Setting and plot
 
งานโลหะแผ่น7 3
งานโลหะแผ่น7 3งานโลหะแผ่น7 3
งานโลหะแผ่น7 3
 
Review controlling ideas
Review controlling ideasReview controlling ideas
Review controlling ideas
 
Definition and factors affecting gas exchange
Definition and factors affecting gas exchangeDefinition and factors affecting gas exchange
Definition and factors affecting gas exchange
 
5 kospley dvizhenie
5 kospley dvizhenie5 kospley dvizhenie
5 kospley dvizhenie
 
UF6 FUNCIÓN D ERELACIÓN
UF6 FUNCIÓN D ERELACIÓNUF6 FUNCIÓN D ERELACIÓN
UF6 FUNCIÓN D ERELACIÓN
 
งานโลหะแผ่น1 7 8
งานโลหะแผ่น1 7 8งานโลหะแผ่น1 7 8
งานโลหะแผ่น1 7 8
 
Pakistan Project 2013-2015
Pakistan Project 2013-2015Pakistan Project 2013-2015
Pakistan Project 2013-2015
 
3 1
3 13 1
3 1
 

More from Pannathat Champakul (20)

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
505
505505
505
 
407
407407
407
 
603
603603
603
 
602
602602
602
 
601
601601
601
 
600
600600
600
 
504
504504
504
 
503
503503
503
 
502
502502
502
 
501
501501
501
 
500
500500
500
 
406
406406
406
 
405
405405
405
 
404
404404
404
 
403
403403
403
 
400
400400
400
 
305
305305
305
 
304
304304
304
 
303
303303
303
 

2 2

  • 1. 2. ความยาวเหยียดตรงของชิ้นงานดัด ความยาวที่เขียนในงานช่างอุตสาหกรรม เป็นการเขียนกาหนดขนาดที่สั่งไว้ในรูปแบบเชิง วิศวกรรม ซึ่งปกติจะเขียนสั่งไว้อย่างชัดเจน แต่ในงานสร้างแบบ เพื่อให้ได้กาหนดขนาดในรูปแบบ ให้ได้ตามแบบที่ต้องการ ช่างผู้สร้างจาเป็นที่จะต้องคานวณความยาวต่าง ๆ ตามความจาเป็น เพื่อประกอบการทางานของช่าง ความยาวในการทางานมีหลายลักษณะ ในการดัดงอชิ้นงานจะทาให้เนื้อโลหะ ด้านนอกยืดออกเนื่องจากแรงอัด แต่ เส้นศูนย์กลางจะไม่เปลี่ยนแปลง จึงคานวณ หาความยาวเหยียดตรงของส่ วนโค้ง จากแกนกลาง ซึ่งจะคานวณเหมือนกัน ทั้งโลหะตันและท่องานม้วน แบ่งออกได้ดังนี้ 2.1 งานม้วนทรงกลม งานม้วนทรงกม คือ การม้วนโลหะที่เป็นแผ่นหรือเป็นแท่งให้เป็นรูปทรงกลม ดังเช่น ท่อ เหล็ก วิธีการคานวณหาความยาวของชิ้นงานทรงกลมที่มีความหนาไม่มากนัก ให้คานวณจากความ ยาวของแนวเส้นผ่าศูนย์กลาง (เส้นแกนกลาง) วิธีการที่จะคานวณได้จากสูตร ดังนี้ วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 2 ความยาว 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 2.2 ความยาวเหยียดตรงของชิ้นงานดัด  ผู้สอน  ผู้เรียน ยืดออก (แรงดึง) กดเข้า (แรงอัด) เส้นศูนย์กลาง รูปการยืดและหดของชิ้นงานดัดงอ Do Dm Di S Lm Ls รูปแสดงส่วนต่าง ๆ ของชิ้นงานม้วนกลม กลม เชิงวิศวกรรม ซึ่งปกติจะเขียนสั่งไว้อย่างชัดเจน แต่ในงานสร้างแบบ เพื่อให้ได้กาหนดขนาดในรูปแบบ งานม้วนทรงกลมคือ การม้วนโลหะที่เป็นแผ่นหรือเป็นแท่งให้เป็นรูปทรงกลม ดังเช่น ท่อเหล็ก Ls S Lm
  • 2. Lm = ความยาวเหยียดตรงของเส้นศูนย์(มม.) Ls = ความยาวเหยียดตรงของชิ้นงาน (มม.) S = ความหนาของโลหะแผ่นที่นามาม้วน (มม.) Di = ขนาดของเส้นผ่านศูนย์กลางวัดใน (มม.) DO = ขนาดของเส้นผ่านศูนย์กลางวัดนอก (มม.) Dm = ขนาดของเส้นผ่านศูนย์กลางวัดของเส้นศูนย์ (มม.) จากรูป Lm = Ls ดังนั้น การคานวณหาความยาวเหยียดตรงของชิ้นงานม้วนกลม ใช้สูตรดังนี้ เมื่อ Dm = Di + S = DO – S ตัวอย่างที่ 2.13 จากรูป จงคานวณหาความยาวเหยียดตรงของแท่งโลหะกลมที่มีความหนา 25 มม. ม้วนกลมที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางวัดในโต 300 มม. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 2 ความยาว 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 2.2 ความยาวเหยียดตรงของชิ้นงานดัด  ผู้สอน  ผู้เรียน Lm = .Dm 300 S หรือ Dm ที่มีความหนา
  • 3. วิธีทา จากสูตร Lm = .D Dm = Di + S Di (เส้นผ่านศูนย์กลางวัดใน) = 300 มม. S (ความหนาของโลหะกลม) = 25 มม.  Dm = 300 + 25 = 325 มม. แทนค่าสูตร Lm = .Dm Lm = 3.14  325  ความยาวเหยียดตรง = 1020.5 มม. ตอบ 2.2 งานดัดโค้ง งานดัดโค้งนี้ เป็นการคานวณความยาวของส่วนโค้งยาวว่ามีความยาวที่แท้จริงเท่าใด เมื่อทาการดัดไปแล้ว ในบทนี้คิดเฉพาะแท่งตันดัดโค้งเท่านั้น ซึ่งแบ่งเป็น 2 ลักษณะ ก. งานดัดโค้งกว้าง คือ การดัดชิ้นงานที่มีรัศมีความโค้งยาวเมื่อทาการดัดไปแล้ว ผิวงานด้านนอกยังขนานอยู่กับเส้นศูนย์ รูปแสดงส่วนต่าง ๆ ของชิ้นงานดัดงอ วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 2 ความยาว 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 2.2 ความยาวเหยียดตรงของชิ้นงานดัด  ผู้สอน  ผู้เรียน mD.π l1 l2 l3 l4 l5 l6
  • 4. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 2 ความยาว 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 2.2 ความยาวเหยียดตรงของชิ้นงานดัด  ผู้สอน  ผู้เรียน ความยาวของส่วนโค้งหาได้จากสูตรดังนี้  = 180 mRβπ โดยที่  = ความยาวเหยียดตรงของส่วนโค้ง (มม.)  = ขนาดของมุมส่วนโค้ง (องศา) Rm = ขนาดรัศมีของเส้นศูนย์ (มม.) สาหรับการคานวณความยาวเหยียดตรงของชิ้นงาน ส่วนโค้งงอเป็นส่วนของวงกลม รวมกับความยาวตรงรูปทรงต่าง ๆ นั้น สามารถหาได้โดยการแบ่งส่วนของงานออกเป็นส่วนต่าง ๆ ดังที่แสดงในรูป แล้วนามารวมกันจะได้ดังสูตร โดยที่ L = ความยาวชิ้นงาน เริ่มงานดัดโค้ง 321 ,,  = ความยาวส่วนต่าง ๆ ตามเส้นศูนย์ประกอบกัน ข. งานดัดโค้งแคบ โค้งแคบ หมายถึง งานดัดรัศมีที่มีโค้งสั้นมากหรืออาจโค้งหักเป็นมุมฉากและโค้งนอก แบนลงเล็กกว่ารัศมีความโค้งของวงกลม และภายในเนื้อชิ้นงานไม่มีรอยชารุดหรือหักแต่อย่างใด L = n..........321  
  • 5. S รูปแสดงลักษณะของโค้งแคบ จากรูป ให้คิดความยาวเริ่มชิ้นงานที่ผ่านส่วนโค้งสั้น มุมฉากนี้ดังสูตร โดยที่ L = ความยาวเหยียดตรงของชิ้นงานดัดโค้ง (มม.) 1 = ความยาวของด้านที่ 1 2 = ความยาวของด้านที่ 2 S = ความกว้างของชิ้นงาน วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 2 ความยาว 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 2.2 ความยาวเหยียดตรงของชิ้นงานดัด  ผู้สอน  ผู้เรียน 1 2 L = s 4 3 21  
  • 6. ตัวอย่างที่ 2.14 จงคานวณความยาวชิ้นงานเริ่มงานดัดโค้ง ดังรูป วิธีทา จากสูตร L = 54321   ความยาวเหยียดตรง = ความยาวส่วนต่าง ๆ ตามเส้นศูนย์ประกอบกัน จากรูป แบ่งความยาวส่วนต่าง ๆ ออกเป็น 5 ส่วน  L = 54321   1 =        10 2 80 150 = 120 มม. 2 = 4 1 D ( D ได้มาจากสูตรเส้นรอบวงและ 2 มีเพียง 1 ส่วน ของวงกลม ) วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 2 ความยาว 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 2.2 ความยาวเหยียดตรงของชิ้นงานดัด  ผู้สอน  ผู้เรียน 54321   54321  
  • 7. วิชา คณิตศาสตร์ช่างเชื่อม รหัส 2103 - 2112 หน่วยที่ 2 ความยาว 2 คาบ ใบความรู้ เรื่อง 2.2 ความยาวเหยียดตรงของชิ้นงานดัด  ผู้สอน  ผู้เรียน = 8014.3 4 1  = 62.8 มม. 3 =        10 20 80 180 = 150 มม. 4 = 180 mRβπ ( เนื่องจาก 4 ได้กาหนดค่ามุมมาให้ จึงใช้สูตรนี้ ) 4 = 3514.3 180 135  = 82.43 มม. 5 = 60 มม.  ความเหยียดตรง = 54321   = 120 + 62.8 + 150 + 82.43 + 60 = 485.23 มม. ตอบ