SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
หัวข้อการเรียนรู้ที่ 4. การเขียนแบบแผ่นคลี่ด้วยวิธีเส้นรัศมี (Redial line Method)
การเขียนภาพแผ่นคลี่ด้วยวิธีเส้นรัศมี ใช้เขียนแบบชิ้นงานที่มีรูปร่างเหมือนกับกรวย เช่น
กรวยปลายแหลม พีระมิด ปลายแหลม กรวยยอดตัด หรือพีระมิดยอดตัด ซึ่งจะมีจุดยอดเป็นจุดรวม
แต่ปัญหามักจะเกิดขึ้นในการเขียนแบบแผ่นคลี่ คือความสูงที่ให้มาในภาพด้านหน้าจะไม่ใช่ความสูง
จริง ที่จะนามาใช้ในการเขียนแบบแผ่นคลี่ ฉะนั้นในการเขียนแบบแผ่นคลี่ใดๆ ด้วยการเขียนแบบแผ่น
คลี่ด้วยวิธีเส้นรัศมี จะต้องหาความสูงจริงของชิ้นงาน
4.1 คาจากัดความต่าง ๆ ของการเขียนแบบแผ่นคลี่ด้วยวิธีเส้นรัศมี
งานผลิตภัณฑ์โลหะแผ่นที่มีลักษณะของรูปทรงพีระมิด และกรวย พื้นผิวของงานเอียง
เข้าหาจุดยอด ในการทางานต้องช่างผลิตภัณฑ์ต้องออกแบบชิ้นงาน โดยการเขียนแบบงานเป็นภาพ
สามมิติ ภาพฉาย และเขียนแบบแผ่นคลี่ ซึ่งหลักการเขียนแบบแผ่นคลี่ด้วยวิธีเส้นรัศมี มีหลักการ
เขียนเส้นที่เกี่ยวข้อง และ หลักการเขียนภาพตามวิธีการของการเขียนแบบแผ่นคลี่ด้วยวิธีเส้นรัศมี
เพื่อความเข้าใจในหลักการเข้าใจความหมายของคาจากัดความต่าง ๆ ดังนี้
4.1.1 ภาพสามมิติภาพ (Three Dimension Drawing) คือ การเขียนภาพโดยการนา
พื้นผิวแต่ละด้านของชิ้นงานมาเขียนประกอบกันเป็นรูปเดียว ทาให้สามารถมองเห็นลักษณะรูปร่าง
พื้นผิว ได้ทั้งความกว้าง ความยาว และความหนาของชิ้นงาน ทาให้ภาพสามมิติมีลักษณะคล้ายกับ
การมองชิ้นงานจริง ภาพสามมิติที่เขียนในงานเขียนแบบมีหลายประเภท แต่ละประเภทก็มีความ
แตกต่างกันในการวางมุมการเขียน และขนาดของชิ้นงานจริง กับขนาดชิ้นงานในการเขียนแบบซึ่ง
ผู้เขียนแบบต้องศึกษาลักษณะของภาพสามมิติแต่ละประเภทต่างๆ ให้เข้าใจ เพื่อสามารถปฏิบัติการ
เขียนแบบได้อย่างถูกต้อง การเขียนภาพสามมิติ แบ่งออกเป็น 4 ชนิด ได้แก่ ภาพไอโซเมตริก
(Isometric Drawing) ภาพออบลิค (Oblique Drawing) ภาพไดเมตริก (Diametric Drawing) ภาพ
ไตรเมตริก (Trimetric Drawing) ซึ่งในการเขียนภาพสามมิติแต่ละชนิดมีหลักวิธีการเขียนแตกต่างกัน
1) ภาพไอโซเมตริก (Isometric) เป็นภาพสามมิติที่นิยมเขียนกันมาก ซึ่งเป็นการ
เขียนแบบภาพที่สามารถมองเห็นงานได้ทั้งสามด้านโดยใช้มุม 30 องศา กับแนวนอนเป็นเส้นตั้งภาพ
ภาพสามมิติมีขนาดความกว้าง ความยาว และความสูงจะมีขนาดเท่ากับความยาวจริง ภาพที่เขียนจะ
มีขนาดใหญ่มาก ทาให้เปลืองเนื้อที่กระดาษ ดังนั้นถ้าชิ้นงานมีขนาดใหญ่ก็จะใช้มาตราส่วนในการ
กาหนดขนาดของชิ้นงาน
รูปที่ 2.14 แสดงภาพสามมิติแบบภาพไอโซเมตริก (Isometric)
2) ภาพออบลิค (Oblique Drawing) เป็นภาพสามมิติที่นิยมเขียนมาก สาหรับ
งานที่มีรูปร่างเป็นส่วนโค้ง หรือรูกลม เพราะสามารถเขียนได้ง่ายและรวดเร็ว เนื่องจากภาพแบบนี้จะ
วางภาพด้านหนึ่งอยู่ในแนวระดับ เอียงทามุมเพียงด้านเดียว โดยเขียนเป็นมุม 45 องศา สามารถเขียน
เอียงได้ทั้งด้านซ้ายและขวา ภาพออบลิคมี 2 แบบ คือ ภาพออบลิคเต็มส่วน (Cavalier) เป็นแบบที่มี
อัตราส่วนภาพระหว่าง ความกว้าง : ความสูง : ความลึก ของภาพเป็น 1 : 1 : 1และภาพออบลิคครึ่ง
ส่วน (Cabinet) เป็นแบบที่มีอัตราส่วนภาพระหว่าง ความกว้าง:ความสูง : ความลึก ของภาพเป็น 1 :
1 : 0.5
รูปที่ 2.15 แสดงภาพสามมิติแบบออบลิคเต็มส่วน (Cavalier)
3) ภาพไดเมตริก (Dimetric Drawing) เป็นภาพเขียนแบบที่มีแกนสามแกน โดยมี
แกนหลักทามุม 90 องศา ส่วนอีกสองแกนทามุมกับแกนหลักไปทั้งสองข้างเป็นมุมต่าง ๆ หลาย
รูปแบบ โดยมีสัดส่วนความกว้าง ความสูง และความลึกของภาพตามอัตราส่วนหลายรูปแบบ
รูปที่ 3.16 แสดงภาพสามมิติแบบไดเมตริก (Dimetric Drawing)
4) ภาพไตรเมตริก (Trimetric Drawing) เป็นภาพเขียนแบบที่มีแกนสามแกน โดยมี
แกนหลักทามุม 90 องศา ส่วนอีกสองแกนทามุมกับแกนหลักไปทั้งสองข้างเป็นมุม 15 องศาและ 45
องศา และมีสัดส่วนความกว้าง ความสูง และความลึกของภาพตามอัตราส่วนต่าง ๆ
รูปที่ 3.17 แสดงภาพสามมิติแบบไตรเมตริก (Trimetric Drawing)
4.1.2 ภาพด้านหน้า (Front view) หมายถึง ภาพที่มองเห็นทางด้านหน้าของชิ้นงาน
เป็นภาพที่แสดงให้เห็น ขนาดความสูง ความกว้าง เส้นผ่านศูนย์กลางของชิ้นงาน
4.1.3 ภาพด้านบนหรือภาพแปลน (Top or Plan view) หมายถึง ภาพที่มองเห็น
ด้านบนจุดยอดของชิ้นงานเป็นภาพที่แสดงให้เห็น ขนาดความกว้าง ความยาว เส้นผ่านศูนย์กลางของ
ชิ้นงาน
4.1.4 เส้นฐาน (Base line) หมายถึงเส้นที่ใช้เป็นฐานของภาพด้านหน้าซึ่งเป็นเส้นแบ่ง
ส่วนจากภาพด้านบนจะตัดเส้นฐานนี้ และจุดแบ่งส่วนที่ฐานจะถูกลากผ่านไปยังจุดยอดของภาพ
ด้านหน้า
4.1.5 เส้นรัศมีของภาพแผ่นคลี่ (Stretch out Are) เป็นเส้นแรกของการเขียนภาพ
เฉพาะแผ่นคลี่ด้วยวิธีเส้นรัศมี เส้นแบ่งส่วนทุก ๆ เส้นจะมีระยะห่างเท่ากับระยะในภาพด้านบน และ
จะตั้งได้ฉากกับเส้นนี้ความยาวของเส้นรัศมีขอบภาพแผ่นคลี่นี้จะมีความยาวเท่ากับเส้นรอบรูปของ
ภาพด้านบน
4.1.6 เส้นแบ่งส่วน (Element line) เป็นเส้นแบ่งรูปร่างของชิ้นงานออกเป็นส่วน ๆ
โดยการสมมติขึ้นเพื่อให้สะดวกในการเขียนแบบแผ่นคลี่ งานทรงปริซึมจะมีขอบหรือมุมแบ่งส่วนได้
สาหรับงานรูปทรงกระบอกไม่มีมุมหรือขอบในการที่จะใช้แบ่งส่วน ดังนั้นจึงต้องสมมติขึ้นที่ผิวของรูป
ทรงกระบอกเป็นตรงตามแนวขนานกับความยาว โดยการแบ่งตามจานวนองศาและใช้จานวนตัวเลข
หรือตัวอักษรเรียงตามลาดับ ระยะห่างของเส้นแบ่งส่วนทุก ๆ เส้นรวมกันจะยาวเท่ากับเส้นรอบรูป
ของชิ้นงาน
4.1.7 เส้นภาพฉาย หมายถึง เส้นที่ลากจากเส้นแบ่งส่วนจากภาพด้านหน้าไปยังแบบ
แผ่นคลี่เป็นเส้นสาหรับหาระยะต่าง ๆ บนแผ่นคลี่
4.1.8 จุดยอด (Apex) หมายถึง จุดศูนย์กลางรวมของเส้นรัศมีที่ลากจากจุดแบ่งส่วนใน
ภาพแผ่นคลี่ที่สร้างขึ้น
4.1.9 ตัวเลขกากับเส้น (Numbering system) คือ ตัวเลขที่เขียนกากับเส้นแบ่งส่วน
ต่าง ๆ เพื่อสะดวกในการจาตาแหน่งเส้นต่าง ๆ
4.1.10 ภาพแผ่นคลี่ (Stretch out) เป็นภาพแผ่นคลี่ที่สร้างขึ้นจากชิ้นงานรูปทรง
ลักษณะต่าง ๆ ที่ยังไม่ได้เผื่อระยะการพับขอบ และยังไม่ได้เผื่อระยะการเข้าตะเข็บประกอบยึด
ชิ้นงานให้ติดกัน
4.1.11 แบบแผ่นคลี่ (Pattern) เป็นภาพแผ่นคลี่ชิ้นงานที่สาเร็จรูปแล้วโดยมีการเผื่อ
ระยะของตะเข็บพร้อมที่จะนาไปตัดและขึ้นรูปตามกระบวนการทางาน
รูปที่ 3.18 แสดงเส้นต่าง ๆ ของการเขียนแบบแผ่นคลี่ด้วยวิธีเส้นรัศมี
4.2 หลักการเขียนแบบแผ่นคลี่งานผลิตภัณฑ์ด้วยวิธีเส้นรัศมี
การเขียนแบบแผนคลี่ดวยรัศมีใหหาแผนคลี่ของงานประเภทกรวยหรือพีระมิด ซึ่ง เปนงาน
ที่เสนขอบรูปทั้งสองดาน เมื่อตอออกไปแลวจะไปบรรจบกัน จะเรียกวา จุดยอด (Apex) ซึ่งจะมีจุด
เดียว ไม่ขึ้นอยู่กับฐาน ว่าฐานจะมีลักษณะอยางไรซึ่งจะตองใชจุดยอดนี้ เปนจุดเริ่มเขียน
รูปที่ 3.19 แสดงลักษณะรูปทรงกรวยและรูปทรงพีระมิดต่างๆ
งานผลิตภัณฑ์ที่มีลักษณะเป็นรูปทรงกรวยยอดแหลม รูปทรงพีระมิดยอดแหลม รูปทรงกรวย
ยอดตัด รูปทรงพีระมิดยอดตัด งานเหล่านี้ได้รับการออกแบบรูปทรง รูปร่าง เพื่อให้มีความง่ายต่อการ
ประกอบขึ้นรูป โดยเขียนภาพชิ้นงานเป็นภาพสามมิติ ภาพฉาย และภาพแผ่นคลี่ สาหรับการเขียน
แบบแผ่นคลี่งานรูปทรงกรวยยอดแหลม รูปทรงพีระมิดยอดแหลม รูปทรงกรวยยอดตัด รูปทรง
พีระมิดยอด มีหลักการเขียนแบบแผ่นคลี่ ดังนี้
4.2.1 ออกแบบและเขียนแบบชิ้นงานเป็นรูปสามมิติ
4.2.2 เขียนภาพฉายของชิ้นงาน เป็นภาพด้านหน้า และภาพด้านบน
4.2.3 เขียนเส้นแบ่งส่วนภาพด้านบน หรือภาพด้านหน้า งานกรวยกลม นิยมแบ่ง
ออกเป็น 12 ส่วน สาหรับงานรูปทรงพีระมิดแบ่งตามจานวนเหลี่ยมของชิ้นงาน โดยเขียนตัวเลขกากับ
เส้นแบ่งส่วนไว้ เพื่อสะดวกในการนาเส้นต่าง ๆ ไปเขียนภาพแผ่นคลี่
4.2.4 เขียนเส้นฉายภาพของเส้นแบ่งส่วน จากภาพด้านบนลากไปยังเส้นฐานภาพ
ด้านหน้า
4.2.5 จุดตัดของเส้นแบ่งส่วนกับเส้นฐาน ภาพด้านหน้า ลากเส้นไปยังจุดยอดของกรวย
กลมหรือพีระมิด
4.2.6 เขียนเส้นรัศมีจากขอบภาพแผ่นคลี่ เท่ากับเส้นความสูงจริงจากขอบภาพ
4.2.7 ด้านหน้าให้มีความยาว เท่ากับเส้นรอบรูปของภาพด้านบนลากเส้นแบ่งส่วนต่าง
ๆ ไปยังจุดศูนย์กลางของวงกลมจึงจะได้ภาพแผ่นคลี่ออกมา งานรูปทรงพีระมิดทาเช่นเดียวกันตาม
เหลี่ยมของชิ้นงาน
4.2.8 ลากเส้นจากจุดตัดของเส้นแบ่งส่วนกับเส้นรัศมี ขอบภาพแผ่นคลี่ตามลาดับทุก ๆ
จุดจะได้ภาพแผ่นคลี่ซึ่งใช้เฉพาะทรงพีระมิด
4.3 การหาเส้นความยาวสูงจริงของกรวยและพีระมิด
การเขียนแบบแผ่นคลี่ด้วยวิธีเส้นรัศมี จะต้องอาศัยความยาวสูงจริง (TL : True
Length) มาเขียนแบบ ซึ่งจะทาให้ได้รูปร่างที่ถูกต้องของงาน รูปด้านหน้าหรือด้านข้าง บางรูปไม
เป็นไปตามความยาวสูงจริงที่จะนาไปเขียนแบบแผ่นคลี่ได้ จึงจะต้องหาขึ้นมาใหม่หรือต้องสร้างรูป
ช่วย (Auxiliary View)
รูปที่ 3.20 แสดงการหาความยาวสูงจริงจากการสร้างภาพช่วย (TL : True Length)
การหาความยาวสูงจริงจะตองหมุนเสนฐานซึ่งไดจากรูปดานบน (Top or Plane View)
ใหยาวเทาความยาวสูงจริง และใหตั้งฉากกับเสนแกนกลางในรูปดานหนา (Front View) หรือ
อาจจะใชเขียนงานให้ทุกดานที่จะไดความยาวสูงจริง
รูปที่ 3.21 การหาความยาวสูงจริง (TL : True Length)
รูปที่ 3.22 วิธีการหาความยาวสูงจริงจากรูปด้าน
ในกรณีเปนรูปกรวยตัดเฉียง จะตองฉายเสนจากจุดตัดใหขนานกับเสนฐานมายังเสนรัศ
มีใหมที่หาได จะไดความยาวสูงจริงของสวนตางๆ เชน ในรูปจะไดเสน 9 - 2 เปนรัศมีของฐานรูป
รูปที่ 3.23 แสดงการหาความยาวสูงจริงของรูปกรวยตัดเฉียงด้วยรัศมี
4.4 การเขียนแบบแผ่นคลี่งานกรวยกลมยอดตัด
การเขียนแบบแผ่นคลี่งานกรวยกลมยอดตัดตรง เป็นพื้นฐานสาหรับการเริ่มต้นการเขียนแบบ
แผ่นคลี่ด้วยวิธีรัศมี เพราะเป็นชิ้นงานที่มีลักษณะรูปทรงเหมาะสมกับการเขียนแบบด้วยวิธีนี้ซึ่ง
สามารถนาไปประยุกต์ใช้สาหรับการเขียนแบบงานผลิตภัณฑ์ที่มีลักษณะรูปทรงแบบนี้ได้ให้ศึกษา
วิธีการเขียนแบบแผ่นคลี่งานตามขั้นตอนการเขียน ดังต่อไปนี้
4.4.1 เขียนภาพสามมิติ ชิ้นงานข้อต่อกรวยกลมปลายตัด ตามขนาดความกว้าง ความยาว
และความสูงที่กาหนด
รูปที่ 3.24 แสดงลักษณะภาพสามมิติของกรวยกลมยอดตัด
4.4.2 เขียนภาพด้านหน้า (Front View) และภาพด้านบน (Top View) ตามขนาดที่กาหนด
รูปที่ 3.25 แสดงลักษณะภาพด้านหน้า (Front View) และภาพด้านบน (Top View) ของกรวยกลม
ยอดตัด
4.4.3 จากภาพฉายด้านบน แบ่งส่วนวงกลมออกเป็น 12 ส่วนเท่า ๆ กัน โดยใช้วงเวียนกาง
เท่ากับรัศมีของวงกลมใช้จุดเส้นผ่านศูนย์กลางที่ตัดกับวงกลมเป็นจุดศูนย์กลางทั้ง 4 จุด จะได้ส่วน
แบ่ง 12 ส่วน และ กาหนดจุดอ้างอิง 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11 และ 12
- จากส่วนแบ่งลากเส้นแบ่งส่วนตั้งฉากไปที่เส้นฐานของภาพด้านหน้า
- จากภาพด้านหน้าที่เส้นฐานลากเส้นแบ่งส่วนที่ฐานไปยังจุดยอดทุกจุด
รูปที่ 3.26 แสดงลักษณะเส้นแบ่งส่วน
4.4.4 จากจุดยอดใช้วงเวียนกลางมายังฐาน และยอดตัดของกรวยเขียนเส้นรัศมีส่วนโค้งทิ้งไว้
- จากจุดยอดลากเส้นตัดกับส่วนโค้ง 1 เส้น ให้เป็นเริ่มต้น
- จากภาพด้านบนนาส่วนแบ่งของวงกลมส่วนใดส่วนหนึ่งโดยใช้วงเวียนถ่ายขนาดมา
ถ่ายลงที่เส้นรัศมีโค้งฐานให้ครบ 12 ส่วน 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11, 12 และ 1 จะได้เส้นรอ
บวงของกรวยลากเส้นจากจุดยอดอีกหนึ่งเส้นลากเส้นเต็มจะได้ภาพแผ่นคลี่
รูปที่ 3.27 แสดงเส้นรัศมีและเส้นแบ่งส่วนแผ่นคลี่
4.5 การเขียนแบบแผ่นคลี่งานกรวยกลมยอดตัดเฉียง
การเขียนแบบแผ่นคลี่งานกรวยกลมยอดตัดเฉียง ซึ่งมีวิธีและหลักการการเขียนแบบแผ่นคลี่
คล้ายกับงานกรวยกลมยอดตัด จะแตกต่างกันตรงที่ความยาวของส่วนสูงปลายเฉียงจะไม่เท่ากัน หา
ได้จากเส้นฉายภาพที่ลากจากเส้นแบ่งส่วนจากภาพด้านหน้าเพื่อหาระยะความสูงปลายเฉียงของงาน
วิธีการเขียนแบบแผ่นคลี่งานดังกล่าวตามขั้นตอนการเขียนดังต่อไปนี้
4.5.1 เขียนภาพสามมิติ ชิ้นงานกรวยกลมยอดตัดเฉียง
รูปที่ 3.28 แสดงลักษณะภาพสามมิติรูปทรงกรวยกลมยอดตัดเฉียง
4.5.2 เขียนภาพด้านหน้า (Front View) และภาพด้านบน (Top View) ตามขนาดที่กาหนด
รูปที่ 3.29 แสดงลักษณะภาพด้านหน้า (Front View) และภาพด้านบน (Top View)
4.5.3 ภาพฉายด้านบน แบ่งส่วนวงกลมออกเป็น 12 ส่วนเท่า ๆ กัน โดยใช้วงเวียนกาง
เท่ากับรัศมีของวงกลมใช้จุดเส้นผ่านศูนย์กลางที่ตัดกับวงกลมเป็นจุดศูนย์กลางทั้ง 4 จุด จะได้ส่วน
แบ่ง 12 ส่วน และกาหนดจุดอ้างอิง 1, 2, 3, 4, 5, 6, 8, 9, 10, 11 และ 12ส่วนแบ่งของวงกลม
ลากเส้นแบ่งส่วนตั้งฉากไปที่เส้นฐานของภาพด้านหน้า จากภาพด้านหน้าที่เส้นฐานลากเส้นแบ่งส่วน
ไปยังจุดยอดจะได้จุดตัดเฉียงกรวย
รูปที่ 3.30 แสดงแบ่งวงกลมและการลากเส้นแบ่งส่วน
4.5.4 จากภาพด้านหน้ายอดตัดเฉียงที่จุดตัดของเส้นลากเส้นฉายขนานมาตัดที่ขอบด้านข้าง
ของชิ้นงาน
4.5.5 ภาพด้านหน้าที่จุดยอดใช้วงเวียนกางมายังฐานเขียนเส้นรัศมีโค้ง และจากจุดยอด
ลากเส้นตัดกับส่วนโค้ง 1 เส้นให้เป็นเริ่มต้น
4.5.6 ภาพด้านบนที่ส่วนแบ่งของวงกลมส่วนใดส่วนหนึ่งโดยใช้วงเวียนถ่ายขนาดมาถ่ายลงที่
เส้นรัศมีโค้งฐานให้ครบ 12 ส่วน 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11, 12 และ 1 ลากเส้นแบ่งส่วนจาก
จุดยอดมายังเส้นรัศมีโค้งทุกจุด
รูปที่ 3.31 แสดงเส้นรัศมี และเส้นแบ่งส่วนของแผ่นคลี่
4.5.7 จากเส้นตัดที่ขอบของกรวยกางวงเวียนจากจุดยอดเขียนเส้นฉายส่วนโค้งตัดกับเส้น
แบ่งส่วน1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11, 12 และ 1 จะได้จุดตัด 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11,
12 และ 1 เพื่อหาจุดตัดของยอดเฉียง
รูปที่ 3.32 แสดงเส้นฉายมายังแผ่นคลี่
4.5.8 ลากเส้นเต็มสัมผัสจุดตัดจะได้ภาพแผ่นคลี่งานกรวยกลมยอดตัดเฉียง
4.5.9 เขียนเส้นเผื่อระยะการเข้าตะเข็บรอยต่อ 5 มิลลิเมตร
รูปที่ 3.33 แสดงแผ่นคลี่ และการเผื่อตะเข็บ
4.6 การเขียนแบบแผ่นคลี่งานกรวยกลมยอดตัดเอียง
การเขียนแบบแผ่นคลี่งานกรวยกลมยอดตัดเอียง เป็นรูปทรงที่มีจุดศูนย์กลางของจุดยอดไม่
เป็นเส้นตรง โดยการเขียนแผ่นคลี่จึงต้องหาจุดยอดของปากบนกับจุดยอดของฐานให้ได้เส้นความสูง
จริงบนฐานก่อน วิธีการเขียนแบบแผ่นคลี่งานดังกล่าวตามขั้นตอนการเขียน ดังต่อไปนี้
4.6.1 เขียนภาพสามมิติ ชิ้นงานกรวยกลมยอดตัดเอียง
รูปที่ 3.34 แสดงภาพ 3 มิติงานกรวยกลมยอดตัดเอียง
4.6.2 เขียนภาพฉายด้านหน้าและส่วนโค้งที่ฐาน ตามขนาดที่กาหนดให้ จะได้สี่เหลี่ยม ABCD
และภาพตัดขวางครึ่งวงกลม
รูปที่ 3.35 แสดงภาพด้านหน้า และภาพตัดขวาง
4.6.3 จากภาพส่วนโค้งแบ่งส่วนวงกลมออกเป็น 6 ส่วนเท่า ๆ กัน โดยใช้วงเวียนกางเท่ากับ
รัศมีของวงกลม ใช้จุดเส้นผ่านศูนย์กลางที่ตัด กับวงกลมเป็นจุดศูนย์กลางทั้ง 3 จุด จะได้ส่วนแบ่ง 6
ส่วน และ กาหนดจุดอ้างอิง 1, 2, 3, 4, 5, 6 และ 7
4.6.4 ลากเส้น C A และ D B ต่อยอดจะได้จุดยอด E ลากเส้นฐาน C D ออกมาทาง D จาก
จุด E ลากเส้นแนวดิ่งลงมาตัดเส้นฐานจะได้จุด F
รูปที่ 3.36 แสดงการแบ่งส่วนวงกลมและหาจุดยอด
4.6.5 จากจุด F ใช้วงเวียนกาง (F-2) เขียนส่วนโค้งไปยังเส้นฐานจะได้จุด 2 ทาทุกจุดจะได้
จุด 3,4,5,6 ที่ฐานกรวย
4.6.6 จากจุดตัดที่ฐานลากเส้นแบ่งส่วนไปยังจุด E ทุกจุด
รูปที่ 3.37 แสดงเส้นแบ่งส่วน
4.6.7 จากจุดยอด E ใช้วงเวียนกางมายังเส้นฐาน และยอดตัดที่ขอบของกรวยเขียนเส้นรัศมี
ส่วนโค้งทิ้งไว้
4.6.8 จากจุดยอด E ลากเส้นตัดกับส่วนโค้ง 1 เส้นให้เป็นเริ่มต้น
4.6.9 นาส่วนแบ่งของวงกลมส่วนใดส่วนหนึ่งโดยใช้วงเวียนถ่ายขนาดมาถ่ายลงที่เส้นรัศมีโค้ง
ฐานให้ครบ 12 ส่วน 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 6, 5, 4, 3, 2 และ 1 เส้นฉายลากเส้นแบ่งส่วนจากจุดยอด
E มายังส่วนแบ่งทุกจุดจะได้จุดตัด 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 6, 5, 4, 3, 2 และ 1 ทั้งฐาน และ ยอดตัด
4.6.10 ลากเส้นเต็มสัมผัสจุดตัดจะได้ภาพแผ่นคลี่งานกรวยกลมยอดตัดเอียง
รูปที่ 3.38 แสดงเส้นรัศมี เส้นแบ่งส่วน และ เส้นฉายของแผ่นคลี่
4.6.11 เขียนเส้นเผื่อระยะการเข้าตะเข็บข้างขนาด 5 มิลลิเมตร
รูปที่ 3.39 แสดงแผ่นคลี่ และการเผื่อตะเข็บ
4.7 การเขียนแบบแผ่นคลี่งานพีระมิดยอดตัด
การเขียนแบบแผ่นคลี่งานพีระมิดยอดตัดเอียง มีหลักวิธีการเขียนคล้ายกับการเขียนแบบแผ่น
คลี่งานกรวยกลมยอดตัดเอียง ต่างกันที่ลักษณะรูปทรงกลมกับรูปทรงเหลี่ยมเหลี่ยม วิธีการเขียนแบบ
แผ่นคลี่งานดังกล่าวตามขั้นตอนการเขียน ดังต่อไปนี้
4.7.1 เขียนภาพฉายด้านหน้า และภาพด้านบน ของงานพีระมิดยอดตัด
รูปที่ 3.40 แสดงการเขียนแบบภาพฉายงานพีระมิดยอดตัด
4.7.2 เส้นสัมผัสส่วนโค้งที่รูปด้านบน (Plan) ไปยังเส้นที่ฐานของรูปด้านหน้า (Elevation)
และลากเส้นตรงไปยังจุดยอด 0 ของรูปงานพีระมิดยอดตัด
รูปที่ 3.41 แสดงภาพด้านหน้า ด้านบน และจุดอ้างอิง
4.7.3 เขียนเส้นตรงขนานกับเส้นฐาน ที่จุดตัดขอบบนของงานพีระมิดยอดตัดไปทางด้าน
ขวามือ ให้ตัดกับเส้นความยาวจริง
รูปที่ 3.42 แสดงการเขียนเส้นความยาวจริง
4.7.4 จุดตัดเส้นสูงจริงของรูปงานพีระมิดยอดตัด ใช้จุด 0 เป็นจุดศูนย์กลางนาวงเวียนเขียน
ส่วนโค้ง
รูปที่ 3.43 แสดงการเขียนส่วนโค้งแบบแผ่นคลี่พีระมิดยอดตัด
4.7.5 เส้นโค้งขอบล่าง นาส่วนแบ่งจากรูปด้านบน (Plan) มาเขียนตัดเส้นโค้ง จะเกิดจุดตัดคือ
6, 1, 2, 3, 4, 5 และ 6 ขึ้น
รูปที่ 3.44 แสดงการเขียนเส้นแบ่งส่วนแผ่นคลี่งานพีระมิดยอดตัด
4.7.6 ลากเส้นตรงจากจุดตัด 6, 1, 2, 3, 4, 5 และ 6 ไปสู่จุดยอดที่จุด 0 จะได้เส้นตรง 06,
01, 02, 03, 04, 05 และ 06
4.7.7 กาหนดจุด Plot Curve ที่จุดตัดกัน และเขียนเส้นรอบรูป หรือเส้นเต็มหนัก ซึ่งจะได้
รูปแผ่นคลี่ (Expanded pattern) ตามที่ต้องการ การยึดประกอบงานพีระมิดยอดตัดใช้วิธีการเข้า
ตะเข็บหรือการบัดกรี สาหรับงานพับเข้าตะเข็บควรเขียนเส้นเผื่อระยะการเข้าตะเข็บงานด้วย
รูปที่ 3.45 แสดงการเขียนแผ่นคลี่งานพีระมิดยอดตัด

More Related Content

What's hot

ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติkanjana2536
 
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิคแผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิคเทวัญ ภูพานทอง
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการsawed kodnara
 
เรื่องที่ 4 มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
เรื่องที่ 4  มาตราส่วนและการกำหนดขนาดเรื่องที่ 4  มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
เรื่องที่ 4 มาตราส่วนและการกำหนดขนาดkruood
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]Kull Ch.
 
เรื่องที่ 12 เสียง
เรื่องที่ 12  เสียงเรื่องที่ 12  เสียง
เรื่องที่ 12 เสียงthanakit553
 
แบบริบบิ้น - Peterfineart.com
แบบริบบิ้น - Peterfineart.comแบบริบบิ้น - Peterfineart.com
แบบริบบิ้น - Peterfineart.competer dontoom
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์
ใบงานที่ 1   เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์ใบงานที่ 1   เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์
ใบงานที่ 1 เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์ณัฐพล บัวพันธ์
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตPa'rig Prig
 
การสร้างรูปเรขาคณิต
การสร้างรูปเรขาคณิตการสร้างรูปเรขาคณิต
การสร้างรูปเรขาคณิตพัน พัน
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
โครงงานเบื้องต้น
โครงงานเบื้องต้นโครงงานเบื้องต้น
โครงงานเบื้องต้นPat Pholla
 
งานโลหะแผ่น4 2
งานโลหะแผ่น4 2งานโลหะแผ่น4 2
งานโลหะแผ่น4 2Pannathat Champakul
 
การเขียนโครงการ
การเขียนโครงการการเขียนโครงการ
การเขียนโครงการkasetpcc
 

What's hot (20)

ภาพฉายมุมที่1 3
ภาพฉายมุมที่1 3ภาพฉายมุมที่1 3
ภาพฉายมุมที่1 3
 
5 1
5 15 1
5 1
 
Auto cad all
Auto cad allAuto cad all
Auto cad all
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
 
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิคแผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
 
เรื่องที่ 4 มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
เรื่องที่ 4  มาตราส่วนและการกำหนดขนาดเรื่องที่ 4  มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
เรื่องที่ 4 มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
 
1 7
1 71 7
1 7
 
เรื่องที่ 12 เสียง
เรื่องที่ 12  เสียงเรื่องที่ 12  เสียง
เรื่องที่ 12 เสียง
 
แบบริบบิ้น - Peterfineart.com
แบบริบบิ้น - Peterfineart.comแบบริบบิ้น - Peterfineart.com
แบบริบบิ้น - Peterfineart.com
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์
ใบงานที่ 1   เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์ใบงานที่ 1   เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์
ใบงานที่ 1 เรื่อง รู้จักกับโปรแกรมเพ้นท์
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
 
การสร้างรูปเรขาคณิต
การสร้างรูปเรขาคณิตการสร้างรูปเรขาคณิต
การสร้างรูปเรขาคณิต
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
วิทย์ ป.1
วิทย์ ป.1วิทย์ ป.1
วิทย์ ป.1
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
โครงงานเบื้องต้น
โครงงานเบื้องต้นโครงงานเบื้องต้น
โครงงานเบื้องต้น
 
งานโลหะแผ่น4 2
งานโลหะแผ่น4 2งานโลหะแผ่น4 2
งานโลหะแผ่น4 2
 
การเขียนโครงการ
การเขียนโครงการการเขียนโครงการ
การเขียนโครงการ
 

More from Pannathat Champakul (20)

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
505
505505
505
 
407
407407
407
 
603
603603
603
 
602
602602
602
 
601
601601
601
 
600
600600
600
 
504
504504
504
 
503
503503
503
 
502
502502
502
 
501
501501
501
 
500
500500
500
 
406
406406
406
 
405
405405
405
 
404
404404
404
 
403
403403
403
 
402
402402
402
 
401
401401
401
 
400
400400
400
 
303
303303
303
 

304

  • 1. หัวข้อการเรียนรู้ที่ 4. การเขียนแบบแผ่นคลี่ด้วยวิธีเส้นรัศมี (Redial line Method) การเขียนภาพแผ่นคลี่ด้วยวิธีเส้นรัศมี ใช้เขียนแบบชิ้นงานที่มีรูปร่างเหมือนกับกรวย เช่น กรวยปลายแหลม พีระมิด ปลายแหลม กรวยยอดตัด หรือพีระมิดยอดตัด ซึ่งจะมีจุดยอดเป็นจุดรวม แต่ปัญหามักจะเกิดขึ้นในการเขียนแบบแผ่นคลี่ คือความสูงที่ให้มาในภาพด้านหน้าจะไม่ใช่ความสูง จริง ที่จะนามาใช้ในการเขียนแบบแผ่นคลี่ ฉะนั้นในการเขียนแบบแผ่นคลี่ใดๆ ด้วยการเขียนแบบแผ่น คลี่ด้วยวิธีเส้นรัศมี จะต้องหาความสูงจริงของชิ้นงาน 4.1 คาจากัดความต่าง ๆ ของการเขียนแบบแผ่นคลี่ด้วยวิธีเส้นรัศมี งานผลิตภัณฑ์โลหะแผ่นที่มีลักษณะของรูปทรงพีระมิด และกรวย พื้นผิวของงานเอียง เข้าหาจุดยอด ในการทางานต้องช่างผลิตภัณฑ์ต้องออกแบบชิ้นงาน โดยการเขียนแบบงานเป็นภาพ สามมิติ ภาพฉาย และเขียนแบบแผ่นคลี่ ซึ่งหลักการเขียนแบบแผ่นคลี่ด้วยวิธีเส้นรัศมี มีหลักการ เขียนเส้นที่เกี่ยวข้อง และ หลักการเขียนภาพตามวิธีการของการเขียนแบบแผ่นคลี่ด้วยวิธีเส้นรัศมี เพื่อความเข้าใจในหลักการเข้าใจความหมายของคาจากัดความต่าง ๆ ดังนี้ 4.1.1 ภาพสามมิติภาพ (Three Dimension Drawing) คือ การเขียนภาพโดยการนา พื้นผิวแต่ละด้านของชิ้นงานมาเขียนประกอบกันเป็นรูปเดียว ทาให้สามารถมองเห็นลักษณะรูปร่าง พื้นผิว ได้ทั้งความกว้าง ความยาว และความหนาของชิ้นงาน ทาให้ภาพสามมิติมีลักษณะคล้ายกับ การมองชิ้นงานจริง ภาพสามมิติที่เขียนในงานเขียนแบบมีหลายประเภท แต่ละประเภทก็มีความ แตกต่างกันในการวางมุมการเขียน และขนาดของชิ้นงานจริง กับขนาดชิ้นงานในการเขียนแบบซึ่ง ผู้เขียนแบบต้องศึกษาลักษณะของภาพสามมิติแต่ละประเภทต่างๆ ให้เข้าใจ เพื่อสามารถปฏิบัติการ เขียนแบบได้อย่างถูกต้อง การเขียนภาพสามมิติ แบ่งออกเป็น 4 ชนิด ได้แก่ ภาพไอโซเมตริก (Isometric Drawing) ภาพออบลิค (Oblique Drawing) ภาพไดเมตริก (Diametric Drawing) ภาพ ไตรเมตริก (Trimetric Drawing) ซึ่งในการเขียนภาพสามมิติแต่ละชนิดมีหลักวิธีการเขียนแตกต่างกัน 1) ภาพไอโซเมตริก (Isometric) เป็นภาพสามมิติที่นิยมเขียนกันมาก ซึ่งเป็นการ เขียนแบบภาพที่สามารถมองเห็นงานได้ทั้งสามด้านโดยใช้มุม 30 องศา กับแนวนอนเป็นเส้นตั้งภาพ ภาพสามมิติมีขนาดความกว้าง ความยาว และความสูงจะมีขนาดเท่ากับความยาวจริง ภาพที่เขียนจะ มีขนาดใหญ่มาก ทาให้เปลืองเนื้อที่กระดาษ ดังนั้นถ้าชิ้นงานมีขนาดใหญ่ก็จะใช้มาตราส่วนในการ กาหนดขนาดของชิ้นงาน รูปที่ 2.14 แสดงภาพสามมิติแบบภาพไอโซเมตริก (Isometric)
  • 2. 2) ภาพออบลิค (Oblique Drawing) เป็นภาพสามมิติที่นิยมเขียนมาก สาหรับ งานที่มีรูปร่างเป็นส่วนโค้ง หรือรูกลม เพราะสามารถเขียนได้ง่ายและรวดเร็ว เนื่องจากภาพแบบนี้จะ วางภาพด้านหนึ่งอยู่ในแนวระดับ เอียงทามุมเพียงด้านเดียว โดยเขียนเป็นมุม 45 องศา สามารถเขียน เอียงได้ทั้งด้านซ้ายและขวา ภาพออบลิคมี 2 แบบ คือ ภาพออบลิคเต็มส่วน (Cavalier) เป็นแบบที่มี อัตราส่วนภาพระหว่าง ความกว้าง : ความสูง : ความลึก ของภาพเป็น 1 : 1 : 1และภาพออบลิคครึ่ง ส่วน (Cabinet) เป็นแบบที่มีอัตราส่วนภาพระหว่าง ความกว้าง:ความสูง : ความลึก ของภาพเป็น 1 : 1 : 0.5 รูปที่ 2.15 แสดงภาพสามมิติแบบออบลิคเต็มส่วน (Cavalier) 3) ภาพไดเมตริก (Dimetric Drawing) เป็นภาพเขียนแบบที่มีแกนสามแกน โดยมี แกนหลักทามุม 90 องศา ส่วนอีกสองแกนทามุมกับแกนหลักไปทั้งสองข้างเป็นมุมต่าง ๆ หลาย รูปแบบ โดยมีสัดส่วนความกว้าง ความสูง และความลึกของภาพตามอัตราส่วนหลายรูปแบบ รูปที่ 3.16 แสดงภาพสามมิติแบบไดเมตริก (Dimetric Drawing)
  • 3. 4) ภาพไตรเมตริก (Trimetric Drawing) เป็นภาพเขียนแบบที่มีแกนสามแกน โดยมี แกนหลักทามุม 90 องศา ส่วนอีกสองแกนทามุมกับแกนหลักไปทั้งสองข้างเป็นมุม 15 องศาและ 45 องศา และมีสัดส่วนความกว้าง ความสูง และความลึกของภาพตามอัตราส่วนต่าง ๆ รูปที่ 3.17 แสดงภาพสามมิติแบบไตรเมตริก (Trimetric Drawing) 4.1.2 ภาพด้านหน้า (Front view) หมายถึง ภาพที่มองเห็นทางด้านหน้าของชิ้นงาน เป็นภาพที่แสดงให้เห็น ขนาดความสูง ความกว้าง เส้นผ่านศูนย์กลางของชิ้นงาน 4.1.3 ภาพด้านบนหรือภาพแปลน (Top or Plan view) หมายถึง ภาพที่มองเห็น ด้านบนจุดยอดของชิ้นงานเป็นภาพที่แสดงให้เห็น ขนาดความกว้าง ความยาว เส้นผ่านศูนย์กลางของ ชิ้นงาน 4.1.4 เส้นฐาน (Base line) หมายถึงเส้นที่ใช้เป็นฐานของภาพด้านหน้าซึ่งเป็นเส้นแบ่ง ส่วนจากภาพด้านบนจะตัดเส้นฐานนี้ และจุดแบ่งส่วนที่ฐานจะถูกลากผ่านไปยังจุดยอดของภาพ ด้านหน้า 4.1.5 เส้นรัศมีของภาพแผ่นคลี่ (Stretch out Are) เป็นเส้นแรกของการเขียนภาพ เฉพาะแผ่นคลี่ด้วยวิธีเส้นรัศมี เส้นแบ่งส่วนทุก ๆ เส้นจะมีระยะห่างเท่ากับระยะในภาพด้านบน และ จะตั้งได้ฉากกับเส้นนี้ความยาวของเส้นรัศมีขอบภาพแผ่นคลี่นี้จะมีความยาวเท่ากับเส้นรอบรูปของ ภาพด้านบน 4.1.6 เส้นแบ่งส่วน (Element line) เป็นเส้นแบ่งรูปร่างของชิ้นงานออกเป็นส่วน ๆ โดยการสมมติขึ้นเพื่อให้สะดวกในการเขียนแบบแผ่นคลี่ งานทรงปริซึมจะมีขอบหรือมุมแบ่งส่วนได้ สาหรับงานรูปทรงกระบอกไม่มีมุมหรือขอบในการที่จะใช้แบ่งส่วน ดังนั้นจึงต้องสมมติขึ้นที่ผิวของรูป ทรงกระบอกเป็นตรงตามแนวขนานกับความยาว โดยการแบ่งตามจานวนองศาและใช้จานวนตัวเลข หรือตัวอักษรเรียงตามลาดับ ระยะห่างของเส้นแบ่งส่วนทุก ๆ เส้นรวมกันจะยาวเท่ากับเส้นรอบรูป ของชิ้นงาน
  • 4. 4.1.7 เส้นภาพฉาย หมายถึง เส้นที่ลากจากเส้นแบ่งส่วนจากภาพด้านหน้าไปยังแบบ แผ่นคลี่เป็นเส้นสาหรับหาระยะต่าง ๆ บนแผ่นคลี่ 4.1.8 จุดยอด (Apex) หมายถึง จุดศูนย์กลางรวมของเส้นรัศมีที่ลากจากจุดแบ่งส่วนใน ภาพแผ่นคลี่ที่สร้างขึ้น 4.1.9 ตัวเลขกากับเส้น (Numbering system) คือ ตัวเลขที่เขียนกากับเส้นแบ่งส่วน ต่าง ๆ เพื่อสะดวกในการจาตาแหน่งเส้นต่าง ๆ 4.1.10 ภาพแผ่นคลี่ (Stretch out) เป็นภาพแผ่นคลี่ที่สร้างขึ้นจากชิ้นงานรูปทรง ลักษณะต่าง ๆ ที่ยังไม่ได้เผื่อระยะการพับขอบ และยังไม่ได้เผื่อระยะการเข้าตะเข็บประกอบยึด ชิ้นงานให้ติดกัน 4.1.11 แบบแผ่นคลี่ (Pattern) เป็นภาพแผ่นคลี่ชิ้นงานที่สาเร็จรูปแล้วโดยมีการเผื่อ ระยะของตะเข็บพร้อมที่จะนาไปตัดและขึ้นรูปตามกระบวนการทางาน รูปที่ 3.18 แสดงเส้นต่าง ๆ ของการเขียนแบบแผ่นคลี่ด้วยวิธีเส้นรัศมี
  • 5. 4.2 หลักการเขียนแบบแผ่นคลี่งานผลิตภัณฑ์ด้วยวิธีเส้นรัศมี การเขียนแบบแผนคลี่ดวยรัศมีใหหาแผนคลี่ของงานประเภทกรวยหรือพีระมิด ซึ่ง เปนงาน ที่เสนขอบรูปทั้งสองดาน เมื่อตอออกไปแลวจะไปบรรจบกัน จะเรียกวา จุดยอด (Apex) ซึ่งจะมีจุด เดียว ไม่ขึ้นอยู่กับฐาน ว่าฐานจะมีลักษณะอยางไรซึ่งจะตองใชจุดยอดนี้ เปนจุดเริ่มเขียน รูปที่ 3.19 แสดงลักษณะรูปทรงกรวยและรูปทรงพีระมิดต่างๆ งานผลิตภัณฑ์ที่มีลักษณะเป็นรูปทรงกรวยยอดแหลม รูปทรงพีระมิดยอดแหลม รูปทรงกรวย ยอดตัด รูปทรงพีระมิดยอดตัด งานเหล่านี้ได้รับการออกแบบรูปทรง รูปร่าง เพื่อให้มีความง่ายต่อการ ประกอบขึ้นรูป โดยเขียนภาพชิ้นงานเป็นภาพสามมิติ ภาพฉาย และภาพแผ่นคลี่ สาหรับการเขียน แบบแผ่นคลี่งานรูปทรงกรวยยอดแหลม รูปทรงพีระมิดยอดแหลม รูปทรงกรวยยอดตัด รูปทรง พีระมิดยอด มีหลักการเขียนแบบแผ่นคลี่ ดังนี้ 4.2.1 ออกแบบและเขียนแบบชิ้นงานเป็นรูปสามมิติ 4.2.2 เขียนภาพฉายของชิ้นงาน เป็นภาพด้านหน้า และภาพด้านบน 4.2.3 เขียนเส้นแบ่งส่วนภาพด้านบน หรือภาพด้านหน้า งานกรวยกลม นิยมแบ่ง ออกเป็น 12 ส่วน สาหรับงานรูปทรงพีระมิดแบ่งตามจานวนเหลี่ยมของชิ้นงาน โดยเขียนตัวเลขกากับ เส้นแบ่งส่วนไว้ เพื่อสะดวกในการนาเส้นต่าง ๆ ไปเขียนภาพแผ่นคลี่ 4.2.4 เขียนเส้นฉายภาพของเส้นแบ่งส่วน จากภาพด้านบนลากไปยังเส้นฐานภาพ ด้านหน้า 4.2.5 จุดตัดของเส้นแบ่งส่วนกับเส้นฐาน ภาพด้านหน้า ลากเส้นไปยังจุดยอดของกรวย กลมหรือพีระมิด 4.2.6 เขียนเส้นรัศมีจากขอบภาพแผ่นคลี่ เท่ากับเส้นความสูงจริงจากขอบภาพ 4.2.7 ด้านหน้าให้มีความยาว เท่ากับเส้นรอบรูปของภาพด้านบนลากเส้นแบ่งส่วนต่าง ๆ ไปยังจุดศูนย์กลางของวงกลมจึงจะได้ภาพแผ่นคลี่ออกมา งานรูปทรงพีระมิดทาเช่นเดียวกันตาม เหลี่ยมของชิ้นงาน 4.2.8 ลากเส้นจากจุดตัดของเส้นแบ่งส่วนกับเส้นรัศมี ขอบภาพแผ่นคลี่ตามลาดับทุก ๆ จุดจะได้ภาพแผ่นคลี่ซึ่งใช้เฉพาะทรงพีระมิด
  • 6. 4.3 การหาเส้นความยาวสูงจริงของกรวยและพีระมิด การเขียนแบบแผ่นคลี่ด้วยวิธีเส้นรัศมี จะต้องอาศัยความยาวสูงจริง (TL : True Length) มาเขียนแบบ ซึ่งจะทาให้ได้รูปร่างที่ถูกต้องของงาน รูปด้านหน้าหรือด้านข้าง บางรูปไม เป็นไปตามความยาวสูงจริงที่จะนาไปเขียนแบบแผ่นคลี่ได้ จึงจะต้องหาขึ้นมาใหม่หรือต้องสร้างรูป ช่วย (Auxiliary View) รูปที่ 3.20 แสดงการหาความยาวสูงจริงจากการสร้างภาพช่วย (TL : True Length) การหาความยาวสูงจริงจะตองหมุนเสนฐานซึ่งไดจากรูปดานบน (Top or Plane View) ใหยาวเทาความยาวสูงจริง และใหตั้งฉากกับเสนแกนกลางในรูปดานหนา (Front View) หรือ อาจจะใชเขียนงานให้ทุกดานที่จะไดความยาวสูงจริง รูปที่ 3.21 การหาความยาวสูงจริง (TL : True Length)
  • 7. รูปที่ 3.22 วิธีการหาความยาวสูงจริงจากรูปด้าน ในกรณีเปนรูปกรวยตัดเฉียง จะตองฉายเสนจากจุดตัดใหขนานกับเสนฐานมายังเสนรัศ มีใหมที่หาได จะไดความยาวสูงจริงของสวนตางๆ เชน ในรูปจะไดเสน 9 - 2 เปนรัศมีของฐานรูป
  • 8. รูปที่ 3.23 แสดงการหาความยาวสูงจริงของรูปกรวยตัดเฉียงด้วยรัศมี 4.4 การเขียนแบบแผ่นคลี่งานกรวยกลมยอดตัด การเขียนแบบแผ่นคลี่งานกรวยกลมยอดตัดตรง เป็นพื้นฐานสาหรับการเริ่มต้นการเขียนแบบ แผ่นคลี่ด้วยวิธีรัศมี เพราะเป็นชิ้นงานที่มีลักษณะรูปทรงเหมาะสมกับการเขียนแบบด้วยวิธีนี้ซึ่ง สามารถนาไปประยุกต์ใช้สาหรับการเขียนแบบงานผลิตภัณฑ์ที่มีลักษณะรูปทรงแบบนี้ได้ให้ศึกษา วิธีการเขียนแบบแผ่นคลี่งานตามขั้นตอนการเขียน ดังต่อไปนี้ 4.4.1 เขียนภาพสามมิติ ชิ้นงานข้อต่อกรวยกลมปลายตัด ตามขนาดความกว้าง ความยาว และความสูงที่กาหนด รูปที่ 3.24 แสดงลักษณะภาพสามมิติของกรวยกลมยอดตัด
  • 9. 4.4.2 เขียนภาพด้านหน้า (Front View) และภาพด้านบน (Top View) ตามขนาดที่กาหนด รูปที่ 3.25 แสดงลักษณะภาพด้านหน้า (Front View) และภาพด้านบน (Top View) ของกรวยกลม ยอดตัด 4.4.3 จากภาพฉายด้านบน แบ่งส่วนวงกลมออกเป็น 12 ส่วนเท่า ๆ กัน โดยใช้วงเวียนกาง เท่ากับรัศมีของวงกลมใช้จุดเส้นผ่านศูนย์กลางที่ตัดกับวงกลมเป็นจุดศูนย์กลางทั้ง 4 จุด จะได้ส่วน แบ่ง 12 ส่วน และ กาหนดจุดอ้างอิง 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11 และ 12 - จากส่วนแบ่งลากเส้นแบ่งส่วนตั้งฉากไปที่เส้นฐานของภาพด้านหน้า - จากภาพด้านหน้าที่เส้นฐานลากเส้นแบ่งส่วนที่ฐานไปยังจุดยอดทุกจุด
  • 10. รูปที่ 3.26 แสดงลักษณะเส้นแบ่งส่วน 4.4.4 จากจุดยอดใช้วงเวียนกลางมายังฐาน และยอดตัดของกรวยเขียนเส้นรัศมีส่วนโค้งทิ้งไว้ - จากจุดยอดลากเส้นตัดกับส่วนโค้ง 1 เส้น ให้เป็นเริ่มต้น - จากภาพด้านบนนาส่วนแบ่งของวงกลมส่วนใดส่วนหนึ่งโดยใช้วงเวียนถ่ายขนาดมา ถ่ายลงที่เส้นรัศมีโค้งฐานให้ครบ 12 ส่วน 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11, 12 และ 1 จะได้เส้นรอ บวงของกรวยลากเส้นจากจุดยอดอีกหนึ่งเส้นลากเส้นเต็มจะได้ภาพแผ่นคลี่
  • 11. รูปที่ 3.27 แสดงเส้นรัศมีและเส้นแบ่งส่วนแผ่นคลี่ 4.5 การเขียนแบบแผ่นคลี่งานกรวยกลมยอดตัดเฉียง การเขียนแบบแผ่นคลี่งานกรวยกลมยอดตัดเฉียง ซึ่งมีวิธีและหลักการการเขียนแบบแผ่นคลี่ คล้ายกับงานกรวยกลมยอดตัด จะแตกต่างกันตรงที่ความยาวของส่วนสูงปลายเฉียงจะไม่เท่ากัน หา ได้จากเส้นฉายภาพที่ลากจากเส้นแบ่งส่วนจากภาพด้านหน้าเพื่อหาระยะความสูงปลายเฉียงของงาน วิธีการเขียนแบบแผ่นคลี่งานดังกล่าวตามขั้นตอนการเขียนดังต่อไปนี้ 4.5.1 เขียนภาพสามมิติ ชิ้นงานกรวยกลมยอดตัดเฉียง รูปที่ 3.28 แสดงลักษณะภาพสามมิติรูปทรงกรวยกลมยอดตัดเฉียง
  • 12. 4.5.2 เขียนภาพด้านหน้า (Front View) และภาพด้านบน (Top View) ตามขนาดที่กาหนด รูปที่ 3.29 แสดงลักษณะภาพด้านหน้า (Front View) และภาพด้านบน (Top View) 4.5.3 ภาพฉายด้านบน แบ่งส่วนวงกลมออกเป็น 12 ส่วนเท่า ๆ กัน โดยใช้วงเวียนกาง เท่ากับรัศมีของวงกลมใช้จุดเส้นผ่านศูนย์กลางที่ตัดกับวงกลมเป็นจุดศูนย์กลางทั้ง 4 จุด จะได้ส่วน แบ่ง 12 ส่วน และกาหนดจุดอ้างอิง 1, 2, 3, 4, 5, 6, 8, 9, 10, 11 และ 12ส่วนแบ่งของวงกลม ลากเส้นแบ่งส่วนตั้งฉากไปที่เส้นฐานของภาพด้านหน้า จากภาพด้านหน้าที่เส้นฐานลากเส้นแบ่งส่วน ไปยังจุดยอดจะได้จุดตัดเฉียงกรวย รูปที่ 3.30 แสดงแบ่งวงกลมและการลากเส้นแบ่งส่วน 4.5.4 จากภาพด้านหน้ายอดตัดเฉียงที่จุดตัดของเส้นลากเส้นฉายขนานมาตัดที่ขอบด้านข้าง ของชิ้นงาน
  • 13. 4.5.5 ภาพด้านหน้าที่จุดยอดใช้วงเวียนกางมายังฐานเขียนเส้นรัศมีโค้ง และจากจุดยอด ลากเส้นตัดกับส่วนโค้ง 1 เส้นให้เป็นเริ่มต้น 4.5.6 ภาพด้านบนที่ส่วนแบ่งของวงกลมส่วนใดส่วนหนึ่งโดยใช้วงเวียนถ่ายขนาดมาถ่ายลงที่ เส้นรัศมีโค้งฐานให้ครบ 12 ส่วน 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11, 12 และ 1 ลากเส้นแบ่งส่วนจาก จุดยอดมายังเส้นรัศมีโค้งทุกจุด รูปที่ 3.31 แสดงเส้นรัศมี และเส้นแบ่งส่วนของแผ่นคลี่ 4.5.7 จากเส้นตัดที่ขอบของกรวยกางวงเวียนจากจุดยอดเขียนเส้นฉายส่วนโค้งตัดกับเส้น แบ่งส่วน1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11, 12 และ 1 จะได้จุดตัด 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11, 12 และ 1 เพื่อหาจุดตัดของยอดเฉียง
  • 14. รูปที่ 3.32 แสดงเส้นฉายมายังแผ่นคลี่ 4.5.8 ลากเส้นเต็มสัมผัสจุดตัดจะได้ภาพแผ่นคลี่งานกรวยกลมยอดตัดเฉียง 4.5.9 เขียนเส้นเผื่อระยะการเข้าตะเข็บรอยต่อ 5 มิลลิเมตร รูปที่ 3.33 แสดงแผ่นคลี่ และการเผื่อตะเข็บ
  • 15. 4.6 การเขียนแบบแผ่นคลี่งานกรวยกลมยอดตัดเอียง การเขียนแบบแผ่นคลี่งานกรวยกลมยอดตัดเอียง เป็นรูปทรงที่มีจุดศูนย์กลางของจุดยอดไม่ เป็นเส้นตรง โดยการเขียนแผ่นคลี่จึงต้องหาจุดยอดของปากบนกับจุดยอดของฐานให้ได้เส้นความสูง จริงบนฐานก่อน วิธีการเขียนแบบแผ่นคลี่งานดังกล่าวตามขั้นตอนการเขียน ดังต่อไปนี้ 4.6.1 เขียนภาพสามมิติ ชิ้นงานกรวยกลมยอดตัดเอียง รูปที่ 3.34 แสดงภาพ 3 มิติงานกรวยกลมยอดตัดเอียง 4.6.2 เขียนภาพฉายด้านหน้าและส่วนโค้งที่ฐาน ตามขนาดที่กาหนดให้ จะได้สี่เหลี่ยม ABCD และภาพตัดขวางครึ่งวงกลม รูปที่ 3.35 แสดงภาพด้านหน้า และภาพตัดขวาง
  • 16. 4.6.3 จากภาพส่วนโค้งแบ่งส่วนวงกลมออกเป็น 6 ส่วนเท่า ๆ กัน โดยใช้วงเวียนกางเท่ากับ รัศมีของวงกลม ใช้จุดเส้นผ่านศูนย์กลางที่ตัด กับวงกลมเป็นจุดศูนย์กลางทั้ง 3 จุด จะได้ส่วนแบ่ง 6 ส่วน และ กาหนดจุดอ้างอิง 1, 2, 3, 4, 5, 6 และ 7 4.6.4 ลากเส้น C A และ D B ต่อยอดจะได้จุดยอด E ลากเส้นฐาน C D ออกมาทาง D จาก จุด E ลากเส้นแนวดิ่งลงมาตัดเส้นฐานจะได้จุด F รูปที่ 3.36 แสดงการแบ่งส่วนวงกลมและหาจุดยอด 4.6.5 จากจุด F ใช้วงเวียนกาง (F-2) เขียนส่วนโค้งไปยังเส้นฐานจะได้จุด 2 ทาทุกจุดจะได้ จุด 3,4,5,6 ที่ฐานกรวย 4.6.6 จากจุดตัดที่ฐานลากเส้นแบ่งส่วนไปยังจุด E ทุกจุด รูปที่ 3.37 แสดงเส้นแบ่งส่วน
  • 17. 4.6.7 จากจุดยอด E ใช้วงเวียนกางมายังเส้นฐาน และยอดตัดที่ขอบของกรวยเขียนเส้นรัศมี ส่วนโค้งทิ้งไว้ 4.6.8 จากจุดยอด E ลากเส้นตัดกับส่วนโค้ง 1 เส้นให้เป็นเริ่มต้น 4.6.9 นาส่วนแบ่งของวงกลมส่วนใดส่วนหนึ่งโดยใช้วงเวียนถ่ายขนาดมาถ่ายลงที่เส้นรัศมีโค้ง ฐานให้ครบ 12 ส่วน 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 6, 5, 4, 3, 2 และ 1 เส้นฉายลากเส้นแบ่งส่วนจากจุดยอด E มายังส่วนแบ่งทุกจุดจะได้จุดตัด 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 6, 5, 4, 3, 2 และ 1 ทั้งฐาน และ ยอดตัด 4.6.10 ลากเส้นเต็มสัมผัสจุดตัดจะได้ภาพแผ่นคลี่งานกรวยกลมยอดตัดเอียง รูปที่ 3.38 แสดงเส้นรัศมี เส้นแบ่งส่วน และ เส้นฉายของแผ่นคลี่
  • 18. 4.6.11 เขียนเส้นเผื่อระยะการเข้าตะเข็บข้างขนาด 5 มิลลิเมตร รูปที่ 3.39 แสดงแผ่นคลี่ และการเผื่อตะเข็บ 4.7 การเขียนแบบแผ่นคลี่งานพีระมิดยอดตัด การเขียนแบบแผ่นคลี่งานพีระมิดยอดตัดเอียง มีหลักวิธีการเขียนคล้ายกับการเขียนแบบแผ่น คลี่งานกรวยกลมยอดตัดเอียง ต่างกันที่ลักษณะรูปทรงกลมกับรูปทรงเหลี่ยมเหลี่ยม วิธีการเขียนแบบ แผ่นคลี่งานดังกล่าวตามขั้นตอนการเขียน ดังต่อไปนี้ 4.7.1 เขียนภาพฉายด้านหน้า และภาพด้านบน ของงานพีระมิดยอดตัด
  • 19. รูปที่ 3.40 แสดงการเขียนแบบภาพฉายงานพีระมิดยอดตัด 4.7.2 เส้นสัมผัสส่วนโค้งที่รูปด้านบน (Plan) ไปยังเส้นที่ฐานของรูปด้านหน้า (Elevation) และลากเส้นตรงไปยังจุดยอด 0 ของรูปงานพีระมิดยอดตัด รูปที่ 3.41 แสดงภาพด้านหน้า ด้านบน และจุดอ้างอิง
  • 20. 4.7.3 เขียนเส้นตรงขนานกับเส้นฐาน ที่จุดตัดขอบบนของงานพีระมิดยอดตัดไปทางด้าน ขวามือ ให้ตัดกับเส้นความยาวจริง รูปที่ 3.42 แสดงการเขียนเส้นความยาวจริง 4.7.4 จุดตัดเส้นสูงจริงของรูปงานพีระมิดยอดตัด ใช้จุด 0 เป็นจุดศูนย์กลางนาวงเวียนเขียน ส่วนโค้ง รูปที่ 3.43 แสดงการเขียนส่วนโค้งแบบแผ่นคลี่พีระมิดยอดตัด
  • 21. 4.7.5 เส้นโค้งขอบล่าง นาส่วนแบ่งจากรูปด้านบน (Plan) มาเขียนตัดเส้นโค้ง จะเกิดจุดตัดคือ 6, 1, 2, 3, 4, 5 และ 6 ขึ้น รูปที่ 3.44 แสดงการเขียนเส้นแบ่งส่วนแผ่นคลี่งานพีระมิดยอดตัด 4.7.6 ลากเส้นตรงจากจุดตัด 6, 1, 2, 3, 4, 5 และ 6 ไปสู่จุดยอดที่จุด 0 จะได้เส้นตรง 06, 01, 02, 03, 04, 05 และ 06 4.7.7 กาหนดจุด Plot Curve ที่จุดตัดกัน และเขียนเส้นรอบรูป หรือเส้นเต็มหนัก ซึ่งจะได้ รูปแผ่นคลี่ (Expanded pattern) ตามที่ต้องการ การยึดประกอบงานพีระมิดยอดตัดใช้วิธีการเข้า ตะเข็บหรือการบัดกรี สาหรับงานพับเข้าตะเข็บควรเขียนเส้นเผื่อระยะการเข้าตะเข็บงานด้วย