SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
CA 002
Media Law and Ethics
กฎหมายร้านอาหารกัญชาและการนําไปสือสาร
วริษา รุ่งวัฒนภักดิ 1600204505 ca002
วัตถุประสงค์
ในปจจุบันนันมีข้อกฎหมายใหม่ๆทีมีการแก้ไขมากมาย
และมี 1 กฎหมายทีได้รับความสนใจจากสังคมไทยมาก
ในปจจุบัน นันคือ การปลดล็อกสารเสพติดประเภทที 5
บางส่วนของกัญชาและกัญชงให้นํามาใช้ในอุตสาหกรรมอาหารได้
ดังนันจึงอยากศึกษากฎหมายและสือสารข้อกฎหมายทีถูกต้อง
ออกไปเพือความปลอดภัยและเปนประโยชน์แก่สังคม
กัญชา คืออะไร ทําไมต้องปลดล็อก
ในอดีตประเทศไทยจัดว่ากัญชาเปนสารเสพติดและเปนพืชทีผิดกฎหมาย
แต่เมือวันที 5 กรกฏาคม 2564 กระทรวงสาธารณสุข ได้ออกประกาศ
ระบุชือยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ให้บางส่วนของกัญชา ไม่จัดว่าเปน
ยาเสพติด
ซึงบางส่วนทีว่านัน ได้แก่ เปลือกกัญชา ลําต้นกัญชา เส้นใยกัญชา
กิงและก้านกัญชา รากกัญชา และ ใบกัญชา
ออกประกาศโดย นายอนุทิน ชาญวีรกุล รัฐมนตรีกระทรวงสาธารณสุข
กัญชงสารเสพติดชนิดที 5 ทีคล้ายกัญชาคืออะไร?
“กัญชง” หรือเรียกอีกอย่างว่า “เฮมพ์ (Hemp)” เปนพืชในวงศ์
เดียวกับ “กัญชา” ซึงมีลักษณะทางกายภาพบางอย่างคล้ายคลึง
กัน แต่ก็ยังสามารถแยกแยะได้จากลักษณะลําต้นและใบ ซึงกัญ
ชงจะมีลักษณะต้นสูงกว่าและใบทีเรียวยาวและสีอ่อนกว่า และ
นอกจากลักษณะทางกายภาพแล้ว กัญชงยังมีลักษณะทางเคมีที
แตกต่างกับกัญชาอีกด้วย โดยกัญชงมีปริมาณของสารทีเอชซี ที
ออกฤทธิต่อจิตประสาทค่อนข้างตํา ในขณะทีมีสารซีบีดีทีช่วยใน
การรักษาโรคบางชนิดในปริมาณทีสูงกว่ากัญชา
โดยทีนโยบายของรัฐบาลทีส่งเสริมและพัฒนากัญชาและกัญชงเปนพืชเศรษฐกิจและเปนภูมิปญญาไทย
โดยการออกประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วย ระบุชือยาเสพติดให้โทษในประเภท 5
ยกเว้นบางส่วนของกัญชาและกัญชงทีเปนไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงือนไขตามทีคณะกรรมการ
ควบคุมยาเสพติดให้โทษออกประกาศกําหนดไว้ ให้สามารถนํามาใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร และ
อุตสาหกรรมอืน ๆ ได้ ทังนี การนํามาใช้เปนอาหารต้องเปนไปตามกฎหมายวาด้วยอาหารและต้องใช้
ตามวัตถุประสงค์ทางอาหารเท่านัน
อาศัยอํานาจในมาตราที 5 วรรคหนึง และมาตรา 6 (1) (2) (4) (5) (6) (7) (8) (9) และ(10)
แห่งพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี
ข้อ 1 ให้ผลิตภัณฑ์อาหารทีมีส่วนประกอบของส่วนของกัญชาหรือกัญชง เปนอาหารควบคุมเฉพาะข้อ 2
ในประกาศ “ส่วนของกัญชา” ดังต่อไปนี เฉพาะทีได้รับอนุญาตให้ผลิตในประเทศเท่านัน ได้แก่
(1) เปลือก ลําต้น เส้นใย กิงก้าน และ ราก
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
เรือง ผลิตภัณฑ์อาหารทีมีส่วนประกอบของกัญชาหรือกัญชง
(2) ใบซึงไม่มียอดหรือช่อดอกติดมาด้วย
“ส่วนของกัญชง” หมายความว่า ส่วนของพืชกัญชงหรือทีมีชือเรียกว่า เฮมพ์ (Hemp)
ดังต่อไปนี เฉพาะทีได้รับอนุญาตให้ผลิตในประเทศเท่านัน ได้แก่
(1) เปลือก ลําต้น เส้นใย กิงก้าน และราก
(2) ใบซึงไม่มียอดหรือช่อดอกติดมาด้วย
ข้อ 3 ห้ามมิให้ผลิต นําเข้า หรือจําหน่าย ผลิตภัณฑ์อาหารทีมีส่วนประกอบของส่วนของกัญชา
หรือกัญชง ดังต่อไปนี
(1) อาหารทารกและอาหารสูตรต่อเนืองสําหรับทารกและเด็กเล็ก
(2) นมดัดแปลงสําหรับทารกและนมดัดแปลงสูตรต่อเนืองสําหรับทารกและเด็กเล็ก
(3) อาหารเสริมสําหรับทารกและเด็กเล็ก
(4) เครืองดืมทีผสมกาเฟอีน
(5) อาหารอืนทีรัฐมนตรีประกาศกําหนด
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
เรือง ผลิตภัณฑ์อาหารทีมีส่วนประกอบของกัญชาหรือกัญชง
ข้อ 4 ผลิตภัณฑ์อาหารทีมีส่วนประกอบของส่วนของกัญชาหรือกัญชง ต้องมีคุณภาพ
หรือมาตรฐาน ดังนี
(1) ตรวจพบสารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล ไม่เกิน 1.6 มิลลิกรัมต่อหน่วยบรรจุ
(2) ตรวจพบสารแคนนาบิไดออล ไม่เกิน 1.41 มิลลิกรัมต่อหน่วยบรรจุ
วิธีการตรวจวิเคราะห์ตาม
(1) และ(2) ให้ใช้หลักเกณฑ์และวิธีการตรวจยืนยัน
ทีห้องปฏิบัติการตรวจวิเคราะห์ด้วยเครืองมือทีใช้หลักการโครมาโตกราฟแบบของเหลวสมรรถนะสูงหรือสูงกว่า
(3) สารพิษตกค้างให้เปนไปตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยอาหารทีมีสารพิษตกค้าง
(4) สารปนเปอนให้เปนไปตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยมาตรฐานอาหารทีมีสารปนเปอน
(5) จุลินทรีย์ทีทําให้เกิดโรคให้เปนไปตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยกําหนด
คุณภาพหรือมาตรฐาน หลักเกณฑ์เงือนไข และวิธีการในการตรวจวิเคราะห์ของอาหารด้านจุลินทรีย์ ทีทําให้เกิดโรค
(6) คุณภาพหรือมาตรฐานสําหรับอาหารชนิดนันให้เปนไปตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข
ทีเกียวข้อง แล้วแต่กรณี
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
เรือง ผลิตภัณฑ์อาหารทีมีส่วนประกอบของกัญชาหรือกัญชง
ข้อ 5 ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์อาหารทีมีส่วนประกอบของส่วนของกัญชาหรือกัญชงต้องได้มา
ซึงส่วนของกัญชาหรือกัญชงโดยชอบด้วยกฎหมาย และต้องมีการควบคุมกระบวนการผลิตให้เปนไปตาม
ประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยวิธีการผลิต เครืองมือเครืองใช้ในการผลิต และการเก็บรักษาอาหาร
ผู้ผลิตตามวรรคหนึง ต้องมีบันทึกการรับจ่ายส่วนของกัญชาหรือกัญชงไว้ทีสถานทีผลิตด้วย
ข้อ 6 การใช้วัตถุเจือปนอาหารในผลิตภัณฑ์อาหารทีมีส่วนประกอบของส่วนของกัญชา
หรือกัญชง ให้ใช้ได้ตามชนิดและปริมาณทีกําหนดไว้ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยวัตถุเจือปนอาหาร
ข้อ 7 การใช้ภาชนะบรรจุสําหรับผลิตภัณฑ์อาหารทีมีส่วนประกอบของส่วนของกัญชา
หรือกัญชงให้ปฏิบัติตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยภาชนะบรรจุ
ข้อ 8 การแสดงฉลากของผลิตภัณฑ์อาหารทีมีส่วนประกอบของส่วนของกัญชาหรือกัญชง
ให้ปฏิบัติตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยการแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ
และประกาศกระทรวงสาธารณสุขทีกําหนดการแสดงฉลากไว้เปนการเฉพาะ แล้วแต่กรณี
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
เรือง ผลิตภัณฑ์อาหารทีมีส่วนประกอบของกัญชาหรือกัญชง
ข้อ 9 การแสดงฉลากของผลิตภัณฑ์อาหารทีมีส่วนประกอบของส่วนของกัญชาหรือกัญชง
ให้แสดงข้อความดังต่อไปนีด้วย
(1) ข้อความ “คําเตือน” ด้วยตัวอักษรขนาดไม่เล็กกว่า 1.5 มม. ในกรอบสีเหลียม
สีของตัวอักษรตัดกับสีของพืนกรอบ และสีกรอบตัดกับสีของพืนฉลาก
(2) ข้อความ “เด็ก สตรีมีครรภ์ และสตรีให้นมบุตร ไม่ควรรับประทาน”
(3) ข้อความ “หากมีอาการผิดปกติ ควรหยุดรับประทานทันที”
(4) ข้อความ “ผู้ทีแพ้หรือไวต่อสาร THC หรือ CBD ควรระวังในการรับประทาน”
(5) ข้อความ “อาจทําให้ง่วงซึมได้ ควรหลีกเลียงการขับขียานพาหนะ หรือทํางานเกียวกับเครืองจักรกล”
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
เรือง ผลิตภัณฑ์อาหารทีมีส่วนประกอบของกัญชาหรือกัญชง
(6) ข้อความแสดงปริมาณสารเตตราไฮโดรแคนนาบินอลต่อหน่วยบรรจุ โดยแสดงข้อความ
“มีสาร THC ไม่เกิน 1.6 มิลลิกรัม ต่อหน่วยบรรจุ”
(7) ข้อความ “ไม่ควรบริโภคเกินวันละ 2 หน่วยบรรจุ”
(8) คําว่า “กัญชา” หรือ “กัญชง” หรือชือส่วนของกัญชาหรือกัญชงทีใช้เปนส่วนประกอบ
ของอาหารเปนส่วนหนึงของชืออาหารหรือกํากับชืออาหาร
(9) ข้อความอืน ๆ ตามทีรัฐมนตรีประกาศกําหนด
ข้อ 10 การแสดงข้อความกล่าวอ้างทางโภชนาการบนฉลากผลิตภัณฑ์อาหารทีมีส่วนประกอบ
ของส่วนของกัญชาหรือกัญชงให้เปนไปตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยฉลากโภชนาการ
ข้อ 11 การแสดงข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพบนฉลากผลิตภัณฑ์อาหารทีมีส่วนประกอบ
ของส่วนของกัญชาหรือกัญชงให้เปนไปตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยการกล่าวอ้างทางสุขภาพ
ของอาหาร
ข้อ 12 ประกาศนีให้ใช้บังคับตังแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เปนต้นไป
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
เรือง ผลิตภัณฑ์อาหารทีมีส่วนประกอบของกัญชาหรือกัญชง
หน่วยงานทีได้รับอนุญาตปลูกกัญชาได้ถูกกฎหมาย
1.องค์การเภสัชกรรม
ชือผู้ดําเนินกิจการ : นางนันทกาญจน์ สุวรรณปฏกกุล
ชือสถานที : องค์การเภสัชกรรม (ปทุมธานี)
ทีตัง : 138 รังสิต-นครนายก 4 บึงสนัน ธัญบุรี ปทุมธานี 0 2203 6171
2.มหาวิทยาลัยรังสิต
ชือผู้ดําเนินกิจการ : นายธนภัทร ทรงศักดิ
ชือสถานที : คณะนวัตกรรมการเกษตร วิทยาลัยนวัตกรรมการเกษตร เทคโนโลยีชีวภาพและอาหารมหาวิทยาลัยรังสิต (ปทุมธานี)
ทีตัง : 52/347 พหลโยธิน 87 พหลโยธิน 7 หลักหก เมืองปทุมธานี ปทุมธานี 0 2997 2222
3.มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
ชือผู้ดําเนินกิจการ : นายโฆษิต ศรีภูธร
ชือสถานที : คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร (สกลนคร)
ทีตัง : 205 10 แร่ พังโคน สกลนคร 06 5829 2562
4.สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข และวิสาหกิจชุมชนศูนย์กลางการพัฒนาสมุนไพร เพ ลา เพลิน เพือชุมชน
ชือผู้ดําเนินกิจการ : นายกิตติ โล่สุวรรณรักษ์
ชือสถานที : วิสาหกิจชุมชนศูนย์กลางการพัฒนาสมุนไพร เพ ลา เพลิน เพือชุมชน (บุรีรัมย์)
ทีตัง : 252 7 หนองขมาร คูเมือง บุรีรัมย์ 0 4469 9238-40
5.มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ชือผู้ดําเนินกิจการ : นายวัชรพงษ์ อินทรวงศ์
ชือสถานที : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร (สกลนคร)
ทีตัง : 59 วปรอ.366 1 เชียงเครือ เมืองสกลนคร สกลนคร 0 4272 5042
6.มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ชือผู้ดําเนินกิจการ : นายวีระพล ทองมา
ชือสถานที : โรงเรือนปลูกกัญชาระบบปด สาขาพืชผัก คณะผลิตกรรมการเกษตร (เชียงใหม่)
ทีตัง : 63 4 หนองหาร สันทราย เชียงใหม่ 0 5387 3000
7.มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ชือผู้ดําเนินกิจการ : นายวีระพล ทองมา
ชือสถานที : โรงเรือนของศูนย์วิจัยและพัฒนาไส้เดือนดิน พืนทีสํานักฟาร์ม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ (เชียงใหม่)
ทีตัง : 151 7 ปาไผ่ สันทราย เชียงใหม่ 0 5387 3000
8.มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ชือผู้ดําเนินกิจการ : นายสมชาย แก้ววังชัย
ชือสถานที : อาคารเรียนรู้การเกษตรและอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม(มหาสารคาม)
ทีตัง : 162 17 นาสีนวน กันทรวิชัย มหาสารคาม 0 4375 4333
9.มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ชือผู้ดําเนินกิจการ : นายสมชาย แก้ววังชัย
ชือสถานที : อาคารวิทยาศาสตร์ชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (มหาสารคาม)
ทีตัง : 245 7 ขามเรียง กันทรวิชัย มหาสารคาม 04 3754 2246
10.กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ร่วมกับวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรอินทรีย์เพชรลานนา
ชือผู้ดําเนินกิจการ: นางมาลา สร้อยสําโรง
ชือสถานที : วิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรอินทรีย์เพชรลานนา (ลําปาง)
ทีตัง : 176 แจ้ห่ม-วังเหนือ 6 แม่สุก แจ้ห่ม ลําปาง 08 1888 6079
11.สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ร่วมกับวิสาหกิจชุมชนกลุ่มรักจังฟาร์ม วังนําเขียว
ชือผู้ดําเนินกิจการ : นางโศรยา ธรรมรักษ์
ชือสถานที : วิสาหกิจชุมชนกลุ่มรักจังฟาร์ม วังนําเขียว (นครราชสีมา)
ทีตัง : 105 1 ไทยสามัคคี วังนําเขียว นครราชสีมา 08 1348 4444
12.มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ชือผู้ดําเนินกิจการ : นายไพศาล การถาง
ชือสถานที : คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (กรุงเทพมหานคร)
ทีตัง : 1381 ประชาราษฎร์ 1 วงศ์สว่าง บางซือ กรุงเทพมหานคร 0 2836 3000
13.มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร
ชือผู้ดําเนินกิจการ : นายไพศาล การถาง
ชือสถานที : โรงพยาบาล สูงเนิน (นครราชสีมา)
ทีตัง : 280 มิตรสัมพันธ์ 8 สูงเนิน สูงเนิน นครราชสีมา 0 4441 9712
14.มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ชือผู้ดําเนินกิจการ : นายสุรพล ใจวงศ์ษา
ชือสถานที : วิสาหกิจชุมชนกลุ่มปลูกและแปรรูปบุกเกษตรอินทรีย์บ้านทุ่งแพม (แม่ฮ่องสอน)
ทีตัง : 222/1 3 แม่ยวม แม่สะเรียง แม่ฮ่องสอน
15.สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
ชือผู้ดําเนินกิจการ : นายศรีเมฆ ชาวโพงพาง
ชือสถานที : อาคารกลุ่มนวัตกรรม 2 ทาวเวอร์ A สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ(ปทุมธานี)
ทีตัง : 144 พหลโยธิน 9 คลองหนึง คลองหลวง ปทุมธานี 0 2564 7000 ต่อ 6923
16.สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
ชือผู้ดําเนินกิจการ : นายศรีเมฆ ชาวโพงพาง
ชือสถานที : โรงเรือนปลูกพืชระบบปดควบคุมสภาพแวดล้อม อาคารโรงงานต้นแบบไบโอเทค (ปทุมธานี)
ทีตัง : 117 พหลโยธิน 9 คลองหนึง คลองหลวง ปทุมธานี 0 2564 7000 ต่อ 6923
17. สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ร่วมกับ มูลนิธิโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ
เจ้าฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี
ชือผู้ดําเนินกิจการ : นางโศรยา ธรรมรักษ์
ชือสถานที : มูลนิธิโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี
(ปราจีนบุรี)
ทีตัง : 32/7 ปราจีนอนุสรณ์ 12 ท่างาม เมืองปราจีนบุรี ปราจีนบุรี 0 3721 1088
18.สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ชือผู้ดําเนินกิจการ : นายสามิตร รมยาคม
ชือสถานที : โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลคลองม่วง (นครราชสีมา)
ทีตัง : 17 4 คลองม่วง ปากช่อง นครราชสีมา 0 4408 1456
19. มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
ชือผู้ดําเนินกิจการ: นาย ณัฏฐพล สันธิ
ชือสถานที : อาคารไอเอ01(IA01) มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย (เชียงราย)
ทีตัง : 80 9 บ้านดู่ เมืองเชียงราย เชียงราย 0 5377 6000-5
20. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ชือผู้ดําเนินกิจการ : นายทวีศักดิ นิยมบัณฑิต
ชือสถานที : คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สงขลา)
ทีตัง : 15 กาญจนวณิชย์ หาดใหญ่ หาดใหญ่ สงขลา 0 7428 6000
21.มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ชือผู้ดําเนินกิจการ : นายมนต์ชัย ดวงจินดา
ชือสถานที : หมวดพืชผัก สาขาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ขอนแก่น)
ทีตัง : 123 16 ในเมือง เมืองขอนแก่น ขอนแก่น 0 4320 2425
22.มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
ชือผู้ดําเนินกิจการ : นายอนันต์ ทองระอา
ชือสถานที : สวนเฉลิมพระเกียรติ 50 พรรษา บรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (นครราชสีมา)
ทีตัง : 111 มหาวิทยาลัย 6 สุรนารี เมืองนครราชสีมา นครราชสีมา 0 4422 5097
23.สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ชือผู้ดําเนินกิจการ : นางอมร คําทะริ
ชือสถานที : โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลเชียงพิณ (อุดรธานี)
ทีตัง : 745 9 เชียงพิณ เมืองอุดรธานี อุดรธานี 0 4226 3307
24.สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ชือผู้ดําเนินกิจการ : นายปญญา โสรมรรค
ชือสถานที : โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลบ้านหนองแซง (อุดรธานี)
ทีตัง : 250 อุดร-หนองบัวลําภู หนองบัวบาน หนองวัวซอ อุดรธานี 0 4212 5098
25.สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ชือผู้ดําเนินกิจการ : นางดรุณี จันทน์วัฒนวงษ์
ชือสถานที : โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลบ้านสระแก้ว (อุดรธานี)
ทีตัง : 155 14 บ้านดุง บ้านดุง อุดรธานี 0 4212 5098
26.สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ชือผู้ดําเนินกิจการ : นายกังวานไทย ออกตลาด
ชือสถานที : โรงพยาบาล ห้วยเกิง (อุดรธานี)
ทีตัง : 5 4 ห้วยเกิง กุมภวาป อุดรธานี 0 4239 8572
27.จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชือผู้ดําเนินกิจการ : นาย สถิรกร พงศ์พานิช
ชือสถานที : ศูนย์เครือข่ายการเรียนรู้เพือภูมิภาค จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จ.สระบุรี (สระบุรี)
ทีตัง : 158 2 ห้วยแห้ง แก่งคอย สระบุรี 0 2218 8152
28. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
ชือผู้ดําเนินกิจการ : นายธนากร เปลืองกลาง
ชือสถานที : วิสาหกิจชุมชน กลุ่มเกษตรกรทฤษฎีใหม่ตําบลเสมา (นครราชสีมา)
ทีตัง : 59 1 เสมา สูงเนิน นครราชสีมา 08 4417 9950
29.มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
ชือผู้ดําเนินกิจการ : นาย ธนากร เปลืองกลาง
ชือสถานที : ศูนย์วิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา(นครราชสีมา)
ทีตัง : 340 สุรนารายณ์ ในเมือง เมืองนครราชสีมา นครราชสีมา 0 4400 9009
30. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ก า ร นํา ไ ป สื อ ส า ร แ ล ะ โ ฆ ษ ณ า
ก ฎ ก า ร โ ฆ ษ ณ า แ ล ะ คํา ต้ อ ง ห้ า ม ใ ช้
สําหรับกฎกระทรวงกําหนดไว้ชัดเจนว่า การโฆษณาให้ข้อมูลใด ๆ เกียวกับกัญชา
ต้องได้รับอนุญาตจากเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา โดยให้โฆษณาได้เพียง 2 กรณี คือ
(1) การโฆษณาในลักษณะของการให้ข้อมูลทางวิชาการต่อผู้ประกอบวิชาชีพทางการแพทย์ ได้แก่ แพทย์
ทันตแพทย์ สัตวแพทย์ เภสัชกร แพทย์แผนไทย แพทย์แผนไทยประยุกต์และหมอพืนบ้าน
หรือ (2) การทําเปนเอกสารในลักษณะของการเลียนแบบฉลากหรือเอกสารกํากับยาทีภาชนะบรรจุกัญชา
ซึงการโฆษณารูปแบบเฉพาะดังกล่าว
ไม่ได้เปดให้มีการโฆษณาในทางการค้าต่อประชาชนหรือสังคมทัวไปแต่อย่างใด
กฎการโฆษณากัญชาทีผลิตในประเทศ
ศักดิสิทธิ มหัศจรรย์ ปาฏิหาริย์ วิเศษ
เลิศทีสุด ดีเลิศ ชนะเลิศ ชันเลิศ เลิศเลอ ลําเลิศ เลิศลํา
ยอด ยอดเยียม ยอดไปเลย เยียมยอด เยียมไปเลย สุดยอด
ทีหนึง หนึงเดียว ทีหนึงเลย
ทีสุด ดีทีสุด ดีเด็ด สูงสุด
เด็ดขาด หายห่วง หายขาด หมดกังวล
สุดเหวียง
ไม่มีผลข้างเคียง ไร้ผลข้างเคียง
อย. รับรอง ปลอดภัย
เห็นผลเร็ว
คําทีไม่อนุญาตในการใช้โฆษณาคุณภาพคุณประโยชน์
ลดคอเลสเตอรอล ลดความดันโลหิต ลดไขมันในเส้นเลือด ลดระดับนําตาลในเลือด
ปองกันโรคหัวใจ โรคมะเร็ง เนืองอก โรคเบาหวาน หลอดเลือดแข็งตัว ภูมิแพ้ หอบหืด
บรรเทาอาการปวดหัว ไมเกรน อาการชา บวมและเส้นเลือดขอด
แก้ปญหาปวดประจําเดือน ประจําเดือนมาไม่ปกติ อาการตกขาว
ยับยังการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย
ปองกันหรือต่อต้านเชือโรค เช่น เชือไวรัสโคโรนา (COVID-19) ไข้หวัด แบคทีเรีย เปนต้น
รักษาโรคติดเชือ
เพิมความจํา แก้อาการหลงลืม ความจําเสือม รักษาโรคอัลไซเมอร์
รักษาอาการซึมเศร้า นอนไม่หลับ
รักษาโรคไวรัสตับอักเสบ ไขมันพอกตับ
รักษาโรคไตเสือม นิวในไต
ข้อความทีสือแสดงสรรพคุณอันทําให้เข้าใจว่าสามารถบําบัด บรรเทา รักษา ปองกัน โรคหรือ
อาการ ของโรคหรือความเจ็บปวย เช่น
คําทีไม่อนุญาตในการใช้โฆษณาคุณภาพคุณประโยชน์
รักษาโรคเกาต์ รูมาตอยด์ เอสแอลอี
บรรเทาอาการข้ออักเสบ ข้อเข่าเสือม ปวดเข่า ปวดกล้ามเนือ กล้ามเนืออักเสบ
รักษาโรคต้อ วุ้นในตาเสือม กระจกตาเสือม จอประสาทตาเสือม ตาแห้ง เคืองตา แสบตา
บรรเทาอาการหูอือ ฟนฟูการได้ยิน
รักษาโรคริดสีดวงทวาร กรดไหลย้อน
รักษาโรคปอดอักเสบ วัณโรค หลอดลมอักเสบ ไอเรือรัง
รักษาโรคผิวหนังอักเสบ สะเก็ดเงิน
คําทีไม่อนุญาตในการใช้โฆษณาคุณภาพคุณประโยชน์
ตัวอย่างคําโฆษณาร้านทีจําหน่ายอาหารกัญชา
ตัวอย่างคําโฆษณาร้านทีจําหน่ายอาหารกัญชา
ตัวอย่างคําโฆษณาร้านทีจําหน่ายอาหารกัญชา
ตัวอย่างคําโฆษณาร้านทีจําหน่ายอาหารกัญชา
อินโฟกราฟกทีจะใช้สือสารเรืองกฎหมาย
กฎหมายกัญชา
กฎหมายกัญชา
กฎหมายกัญชา

More Related Content

What's hot

บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะKittichai Pinlert
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศmaerimwittayakom school
 
บันทึกข้อความ
บันทึกข้อความบันทึกข้อความ
บันทึกข้อความHom Rim
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศSrion Janeprapapong
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5kruwaeo
 
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่นวิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่นJindarat JB'x Kataowwy
 
งานเยี่ยมบ้านคุณภาพ High Quality Home Health Care Part 1
งานเยี่ยมบ้านคุณภาพ High Quality Home Health Care Part 1งานเยี่ยมบ้านคุณภาพ High Quality Home Health Care Part 1
งานเยี่ยมบ้านคุณภาพ High Quality Home Health Care Part 1kridauakridathikarn
 
แบบทดสอบบทนำชีววิทยา
แบบทดสอบบทนำชีววิทยาแบบทดสอบบทนำชีววิทยา
แบบทดสอบบทนำชีววิทยาWichai Likitponrak
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมจตุรพล ชานันโท
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติการวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติSambushi Kritsada
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013Kruthai Kidsdee
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนnang_phy29
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้AomJi Math-ed
 
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นพจีกานต์ หว่านพืช
 
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็คtumetr1
 

What's hot (20)

แบบสอบถาม
แบบสอบถามแบบสอบถาม
แบบสอบถาม
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
บันทึกข้อความ
บันทึกข้อความบันทึกข้อความ
บันทึกข้อความ
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่นวิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
 
งานเยี่ยมบ้านคุณภาพ High Quality Home Health Care Part 1
งานเยี่ยมบ้านคุณภาพ High Quality Home Health Care Part 1งานเยี่ยมบ้านคุณภาพ High Quality Home Health Care Part 1
งานเยี่ยมบ้านคุณภาพ High Quality Home Health Care Part 1
 
แบบทดสอบบทนำชีววิทยา
แบบทดสอบบทนำชีววิทยาแบบทดสอบบทนำชีววิทยา
แบบทดสอบบทนำชีววิทยา
 
การนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัยการนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัย
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
 
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติการวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
 
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทคัดย่อเล่มโปรเจ็ค
 
Genogram
GenogramGenogram
Genogram
 

Similar to กฎหมายกัญชา

Health Data Privacy Law in Action: Balancing Privacy and Utilization in the R...
Health Data Privacy Law in Action: Balancing Privacy and Utilization in the R...Health Data Privacy Law in Action: Balancing Privacy and Utilization in the R...
Health Data Privacy Law in Action: Balancing Privacy and Utilization in the R...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Presentation Consumersouth
Presentation ConsumersouthPresentation Consumersouth
Presentation Consumersouthguest78694ed
 
10 เรื่องควรรู้ สิทธิหลักประกัน - “สิทธิบัตรทอง”
10 เรื่องควรรู้ สิทธิหลักประกัน - “สิทธิบัตรทอง”  10 เรื่องควรรู้ สิทธิหลักประกัน - “สิทธิบัตรทอง”
10 เรื่องควรรู้ สิทธิหลักประกัน - “สิทธิบัตรทอง” Peerasak C.
 
Personal Data Protection Act and Human Subjects Research and Patients' Health...
Personal Data Protection Act and Human Subjects Research and Patients' Health...Personal Data Protection Act and Human Subjects Research and Patients' Health...
Personal Data Protection Act and Human Subjects Research and Patients' Health...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Personal Data Protection Act & National Health Security Office (September 30,...
Personal Data Protection Act & National Health Security Office (September 30,...Personal Data Protection Act & National Health Security Office (September 30,...
Personal Data Protection Act & National Health Security Office (September 30,...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Jaratpan Onghununtakul
 
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคตกลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคตfreelance
 
Area based health system evaluation
Area based health system evaluationArea based health system evaluation
Area based health system evaluationThira Woratanarat
 
แนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบให้เยาวชน
แนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบให้เยาวชนแนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบให้เยาวชน
แนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบให้เยาวชนChakkraphan Phetphum
 

Similar to กฎหมายกัญชา (20)

Health Data Privacy Law in Action: Balancing Privacy and Utilization in the R...
Health Data Privacy Law in Action: Balancing Privacy and Utilization in the R...Health Data Privacy Law in Action: Balancing Privacy and Utilization in the R...
Health Data Privacy Law in Action: Balancing Privacy and Utilization in the R...
 
Presentation Consumersouth
Presentation ConsumersouthPresentation Consumersouth
Presentation Consumersouth
 
10 เรื่องควรรู้ สิทธิหลักประกัน - “สิทธิบัตรทอง”
10 เรื่องควรรู้ สิทธิหลักประกัน - “สิทธิบัตรทอง”  10 เรื่องควรรู้ สิทธิหลักประกัน - “สิทธิบัตรทอง”
10 เรื่องควรรู้ สิทธิหลักประกัน - “สิทธิบัตรทอง”
 
Personal Data Protection Act and Human Subjects Research and Patients' Health...
Personal Data Protection Act and Human Subjects Research and Patients' Health...Personal Data Protection Act and Human Subjects Research and Patients' Health...
Personal Data Protection Act and Human Subjects Research and Patients' Health...
 
Personal Data Protection Act & National Health Security Office (September 30,...
Personal Data Protection Act & National Health Security Office (September 30,...Personal Data Protection Act & National Health Security Office (September 30,...
Personal Data Protection Act & National Health Security Office (September 30,...
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 6 ฉบับที่ 4 ประจำเดือนกรกฎาคม 2563
 
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
Healthcare ปัญหาและอุปสรรค ในการพัฒนาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2560NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2560
NSTDA Newsletter ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนเมษายน 2560
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม 2564
 
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคตกลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
กลุ่ม Ol o --วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยจากอดีตสู่อนาคต
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Toward Thailand's eHealth
Toward Thailand's eHealthToward Thailand's eHealth
Toward Thailand's eHealth
 
Area based health system evaluation
Area based health system evaluationArea based health system evaluation
Area based health system evaluation
 
รายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seekerรายงานTechnology seeker
รายงานTechnology seeker
 
Research r4i
Research r4iResearch r4i
Research r4i
 
S mbuyer 111
S mbuyer 111S mbuyer 111
S mbuyer 111
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2563NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2563
NSTDA Newsletter ปีที่ 5 ฉบับที่ 11 ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2563
 
G.u.y contest 2011
G.u.y contest 2011G.u.y contest 2011
G.u.y contest 2011
 
แนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบให้เยาวชน
แนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบให้เยาวชนแนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบให้เยาวชน
แนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ยาสูบให้เยาวชน
 
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม 2558NSTDA Newsletter ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม 2558
NSTDA Newsletter ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม 2558
 

More from Bangkok University

ภาพยนต์ไทยใน Netflix.pdf
ภาพยนต์ไทยใน Netflix.pdfภาพยนต์ไทยใน Netflix.pdf
ภาพยนต์ไทยใน Netflix.pdfBangkok University
 
การใช้บริการฟิตเนสของกลุ่มคนรักสุขภาพ.pdf
การใช้บริการฟิตเนสของกลุ่มคนรักสุขภาพ.pdfการใช้บริการฟิตเนสของกลุ่มคนรักสุขภาพ.pdf
การใช้บริการฟิตเนสของกลุ่มคนรักสุขภาพ.pdfBangkok University
 
No Child การเลือกที่จะไม่มีลูก.pdf
No Child การเลือกที่จะไม่มีลูก.pdfNo Child การเลือกที่จะไม่มีลูก.pdf
No Child การเลือกที่จะไม่มีลูก.pdfBangkok University
 
Brand guidelines อำเภอเมืองปทุมธานี.pdf
Brand guidelines อำเภอเมืองปทุมธานี.pdfBrand guidelines อำเภอเมืองปทุมธานี.pdf
Brand guidelines อำเภอเมืองปทุมธานี.pdfBangkok University
 
Lat Lum Kaeo Mapping_Infographic.pdf
Lat Lum Kaeo Mapping_Infographic.pdfLat Lum Kaeo Mapping_Infographic.pdf
Lat Lum Kaeo Mapping_Infographic.pdfBangkok University
 
Lad Lum Kaeo Brand Guidelines.pdf
Lad Lum Kaeo Brand Guidelines.pdfLad Lum Kaeo Brand Guidelines.pdf
Lad Lum Kaeo Brand Guidelines.pdfBangkok University
 
คลองหลวง เที่ยวชิดติดกรุง.pdf
คลองหลวง เที่ยวชิดติดกรุง.pdfคลองหลวง เที่ยวชิดติดกรุง.pdf
คลองหลวง เที่ยวชิดติดกรุง.pdfBangkok University
 
ผลิตภัณฑ์สบู่ใบชา.pdf
ผลิตภัณฑ์สบู่ใบชา.pdfผลิตภัณฑ์สบู่ใบชา.pdf
ผลิตภัณฑ์สบู่ใบชา.pdfBangkok University
 

More from Bangkok University (20)

ภาพยนต์ไทยใน Netflix.pdf
ภาพยนต์ไทยใน Netflix.pdfภาพยนต์ไทยใน Netflix.pdf
ภาพยนต์ไทยใน Netflix.pdf
 
Holistic Pet Food
Holistic Pet FoodHolistic Pet Food
Holistic Pet Food
 
BD032 ดูดวง.pdf
BD032 ดูดวง.pdfBD032 ดูดวง.pdf
BD032 ดูดวง.pdf
 
Edtech.pdf
Edtech.pdfEdtech.pdf
Edtech.pdf
 
การใช้บริการฟิตเนสของกลุ่มคนรักสุขภาพ.pdf
การใช้บริการฟิตเนสของกลุ่มคนรักสุขภาพ.pdfการใช้บริการฟิตเนสของกลุ่มคนรักสุขภาพ.pdf
การใช้บริการฟิตเนสของกลุ่มคนรักสุขภาพ.pdf
 
ศัลยกรรม.pdf
ศัลยกรรม.pdfศัลยกรรม.pdf
ศัลยกรรม.pdf
 
No Child การเลือกที่จะไม่มีลูก.pdf
No Child การเลือกที่จะไม่มีลูก.pdfNo Child การเลือกที่จะไม่มีลูก.pdf
No Child การเลือกที่จะไม่มีลูก.pdf
 
Beauty Standard.pdf
Beauty Standard.pdfBeauty Standard.pdf
Beauty Standard.pdf
 
Brand guidelines อำเภอเมืองปทุมธานี.pdf
Brand guidelines อำเภอเมืองปทุมธานี.pdfBrand guidelines อำเภอเมืองปทุมธานี.pdf
Brand guidelines อำเภอเมืองปทุมธานี.pdf
 
Lat Lum Kaeo Mapping_Infographic.pdf
Lat Lum Kaeo Mapping_Infographic.pdfLat Lum Kaeo Mapping_Infographic.pdf
Lat Lum Kaeo Mapping_Infographic.pdf
 
Lat Lum Kaeo Mapping.pdf
Lat Lum Kaeo Mapping.pdfLat Lum Kaeo Mapping.pdf
Lat Lum Kaeo Mapping.pdf
 
Lad Lum Kaeo Brand Guidelines.pdf
Lad Lum Kaeo Brand Guidelines.pdfLad Lum Kaeo Brand Guidelines.pdf
Lad Lum Kaeo Brand Guidelines.pdf
 
คลองหลวง เที่ยวชิดติดกรุง.pdf
คลองหลวง เที่ยวชิดติดกรุง.pdfคลองหลวง เที่ยวชิดติดกรุง.pdf
คลองหลวง เที่ยวชิดติดกรุง.pdf
 
Re-U Pitching
Re-U PitchingRe-U Pitching
Re-U Pitching
 
Jelly bug
Jelly bugJelly bug
Jelly bug
 
beyonder
beyonderbeyonder
beyonder
 
Klaum_PITCHING
Klaum_PITCHINGKlaum_PITCHING
Klaum_PITCHING
 
VVIC.pdf
VVIC.pdfVVIC.pdf
VVIC.pdf
 
ผลิตภัณฑ์สบู่ใบชา.pdf
ผลิตภัณฑ์สบู่ใบชา.pdfผลิตภัณฑ์สบู่ใบชา.pdf
ผลิตภัณฑ์สบู่ใบชา.pdf
 
Klaum_PITCHING_Sec.411C.pdf
Klaum_PITCHING_Sec.411C.pdfKlaum_PITCHING_Sec.411C.pdf
Klaum_PITCHING_Sec.411C.pdf
 

กฎหมายกัญชา

  • 1. CA 002 Media Law and Ethics กฎหมายร้านอาหารกัญชาและการนําไปสือสาร วริษา รุ่งวัฒนภักดิ 1600204505 ca002
  • 2. วัตถุประสงค์ ในปจจุบันนันมีข้อกฎหมายใหม่ๆทีมีการแก้ไขมากมาย และมี 1 กฎหมายทีได้รับความสนใจจากสังคมไทยมาก ในปจจุบัน นันคือ การปลดล็อกสารเสพติดประเภทที 5 บางส่วนของกัญชาและกัญชงให้นํามาใช้ในอุตสาหกรรมอาหารได้ ดังนันจึงอยากศึกษากฎหมายและสือสารข้อกฎหมายทีถูกต้อง ออกไปเพือความปลอดภัยและเปนประโยชน์แก่สังคม
  • 3. กัญชา คืออะไร ทําไมต้องปลดล็อก ในอดีตประเทศไทยจัดว่ากัญชาเปนสารเสพติดและเปนพืชทีผิดกฎหมาย แต่เมือวันที 5 กรกฏาคม 2564 กระทรวงสาธารณสุข ได้ออกประกาศ ระบุชือยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ให้บางส่วนของกัญชา ไม่จัดว่าเปน ยาเสพติด ซึงบางส่วนทีว่านัน ได้แก่ เปลือกกัญชา ลําต้นกัญชา เส้นใยกัญชา กิงและก้านกัญชา รากกัญชา และ ใบกัญชา ออกประกาศโดย นายอนุทิน ชาญวีรกุล รัฐมนตรีกระทรวงสาธารณสุข
  • 4. กัญชงสารเสพติดชนิดที 5 ทีคล้ายกัญชาคืออะไร? “กัญชง” หรือเรียกอีกอย่างว่า “เฮมพ์ (Hemp)” เปนพืชในวงศ์ เดียวกับ “กัญชา” ซึงมีลักษณะทางกายภาพบางอย่างคล้ายคลึง กัน แต่ก็ยังสามารถแยกแยะได้จากลักษณะลําต้นและใบ ซึงกัญ ชงจะมีลักษณะต้นสูงกว่าและใบทีเรียวยาวและสีอ่อนกว่า และ นอกจากลักษณะทางกายภาพแล้ว กัญชงยังมีลักษณะทางเคมีที แตกต่างกับกัญชาอีกด้วย โดยกัญชงมีปริมาณของสารทีเอชซี ที ออกฤทธิต่อจิตประสาทค่อนข้างตํา ในขณะทีมีสารซีบีดีทีช่วยใน การรักษาโรคบางชนิดในปริมาณทีสูงกว่ากัญชา
  • 5. โดยทีนโยบายของรัฐบาลทีส่งเสริมและพัฒนากัญชาและกัญชงเปนพืชเศรษฐกิจและเปนภูมิปญญาไทย โดยการออกประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วย ระบุชือยาเสพติดให้โทษในประเภท 5 ยกเว้นบางส่วนของกัญชาและกัญชงทีเปนไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงือนไขตามทีคณะกรรมการ ควบคุมยาเสพติดให้โทษออกประกาศกําหนดไว้ ให้สามารถนํามาใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร และ อุตสาหกรรมอืน ๆ ได้ ทังนี การนํามาใช้เปนอาหารต้องเปนไปตามกฎหมายวาด้วยอาหารและต้องใช้ ตามวัตถุประสงค์ทางอาหารเท่านัน อาศัยอํานาจในมาตราที 5 วรรคหนึง และมาตรา 6 (1) (2) (4) (5) (6) (7) (8) (9) และ(10) แห่งพระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี ข้อ 1 ให้ผลิตภัณฑ์อาหารทีมีส่วนประกอบของส่วนของกัญชาหรือกัญชง เปนอาหารควบคุมเฉพาะข้อ 2 ในประกาศ “ส่วนของกัญชา” ดังต่อไปนี เฉพาะทีได้รับอนุญาตให้ผลิตในประเทศเท่านัน ได้แก่ (1) เปลือก ลําต้น เส้นใย กิงก้าน และ ราก ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือง ผลิตภัณฑ์อาหารทีมีส่วนประกอบของกัญชาหรือกัญชง
  • 6. (2) ใบซึงไม่มียอดหรือช่อดอกติดมาด้วย “ส่วนของกัญชง” หมายความว่า ส่วนของพืชกัญชงหรือทีมีชือเรียกว่า เฮมพ์ (Hemp) ดังต่อไปนี เฉพาะทีได้รับอนุญาตให้ผลิตในประเทศเท่านัน ได้แก่ (1) เปลือก ลําต้น เส้นใย กิงก้าน และราก (2) ใบซึงไม่มียอดหรือช่อดอกติดมาด้วย ข้อ 3 ห้ามมิให้ผลิต นําเข้า หรือจําหน่าย ผลิตภัณฑ์อาหารทีมีส่วนประกอบของส่วนของกัญชา หรือกัญชง ดังต่อไปนี (1) อาหารทารกและอาหารสูตรต่อเนืองสําหรับทารกและเด็กเล็ก (2) นมดัดแปลงสําหรับทารกและนมดัดแปลงสูตรต่อเนืองสําหรับทารกและเด็กเล็ก (3) อาหารเสริมสําหรับทารกและเด็กเล็ก (4) เครืองดืมทีผสมกาเฟอีน (5) อาหารอืนทีรัฐมนตรีประกาศกําหนด ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือง ผลิตภัณฑ์อาหารทีมีส่วนประกอบของกัญชาหรือกัญชง
  • 7. ข้อ 4 ผลิตภัณฑ์อาหารทีมีส่วนประกอบของส่วนของกัญชาหรือกัญชง ต้องมีคุณภาพ หรือมาตรฐาน ดังนี (1) ตรวจพบสารเตตราไฮโดรแคนนาบินอล ไม่เกิน 1.6 มิลลิกรัมต่อหน่วยบรรจุ (2) ตรวจพบสารแคนนาบิไดออล ไม่เกิน 1.41 มิลลิกรัมต่อหน่วยบรรจุ วิธีการตรวจวิเคราะห์ตาม (1) และ(2) ให้ใช้หลักเกณฑ์และวิธีการตรวจยืนยัน ทีห้องปฏิบัติการตรวจวิเคราะห์ด้วยเครืองมือทีใช้หลักการโครมาโตกราฟแบบของเหลวสมรรถนะสูงหรือสูงกว่า (3) สารพิษตกค้างให้เปนไปตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยอาหารทีมีสารพิษตกค้าง (4) สารปนเปอนให้เปนไปตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยมาตรฐานอาหารทีมีสารปนเปอน (5) จุลินทรีย์ทีทําให้เกิดโรคให้เปนไปตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยกําหนด คุณภาพหรือมาตรฐาน หลักเกณฑ์เงือนไข และวิธีการในการตรวจวิเคราะห์ของอาหารด้านจุลินทรีย์ ทีทําให้เกิดโรค (6) คุณภาพหรือมาตรฐานสําหรับอาหารชนิดนันให้เปนไปตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข ทีเกียวข้อง แล้วแต่กรณี ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือง ผลิตภัณฑ์อาหารทีมีส่วนประกอบของกัญชาหรือกัญชง
  • 8. ข้อ 5 ผู้ผลิตผลิตภัณฑ์อาหารทีมีส่วนประกอบของส่วนของกัญชาหรือกัญชงต้องได้มา ซึงส่วนของกัญชาหรือกัญชงโดยชอบด้วยกฎหมาย และต้องมีการควบคุมกระบวนการผลิตให้เปนไปตาม ประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยวิธีการผลิต เครืองมือเครืองใช้ในการผลิต และการเก็บรักษาอาหาร ผู้ผลิตตามวรรคหนึง ต้องมีบันทึกการรับจ่ายส่วนของกัญชาหรือกัญชงไว้ทีสถานทีผลิตด้วย ข้อ 6 การใช้วัตถุเจือปนอาหารในผลิตภัณฑ์อาหารทีมีส่วนประกอบของส่วนของกัญชา หรือกัญชง ให้ใช้ได้ตามชนิดและปริมาณทีกําหนดไว้ตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยวัตถุเจือปนอาหาร ข้อ 7 การใช้ภาชนะบรรจุสําหรับผลิตภัณฑ์อาหารทีมีส่วนประกอบของส่วนของกัญชา หรือกัญชงให้ปฏิบัติตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยภาชนะบรรจุ ข้อ 8 การแสดงฉลากของผลิตภัณฑ์อาหารทีมีส่วนประกอบของส่วนของกัญชาหรือกัญชง ให้ปฏิบัติตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยการแสดงฉลากของอาหารในภาชนะบรรจุ และประกาศกระทรวงสาธารณสุขทีกําหนดการแสดงฉลากไว้เปนการเฉพาะ แล้วแต่กรณี ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือง ผลิตภัณฑ์อาหารทีมีส่วนประกอบของกัญชาหรือกัญชง
  • 9. ข้อ 9 การแสดงฉลากของผลิตภัณฑ์อาหารทีมีส่วนประกอบของส่วนของกัญชาหรือกัญชง ให้แสดงข้อความดังต่อไปนีด้วย (1) ข้อความ “คําเตือน” ด้วยตัวอักษรขนาดไม่เล็กกว่า 1.5 มม. ในกรอบสีเหลียม สีของตัวอักษรตัดกับสีของพืนกรอบ และสีกรอบตัดกับสีของพืนฉลาก (2) ข้อความ “เด็ก สตรีมีครรภ์ และสตรีให้นมบุตร ไม่ควรรับประทาน” (3) ข้อความ “หากมีอาการผิดปกติ ควรหยุดรับประทานทันที” (4) ข้อความ “ผู้ทีแพ้หรือไวต่อสาร THC หรือ CBD ควรระวังในการรับประทาน” (5) ข้อความ “อาจทําให้ง่วงซึมได้ ควรหลีกเลียงการขับขียานพาหนะ หรือทํางานเกียวกับเครืองจักรกล” ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือง ผลิตภัณฑ์อาหารทีมีส่วนประกอบของกัญชาหรือกัญชง
  • 10. (6) ข้อความแสดงปริมาณสารเตตราไฮโดรแคนนาบินอลต่อหน่วยบรรจุ โดยแสดงข้อความ “มีสาร THC ไม่เกิน 1.6 มิลลิกรัม ต่อหน่วยบรรจุ” (7) ข้อความ “ไม่ควรบริโภคเกินวันละ 2 หน่วยบรรจุ” (8) คําว่า “กัญชา” หรือ “กัญชง” หรือชือส่วนของกัญชาหรือกัญชงทีใช้เปนส่วนประกอบ ของอาหารเปนส่วนหนึงของชืออาหารหรือกํากับชืออาหาร (9) ข้อความอืน ๆ ตามทีรัฐมนตรีประกาศกําหนด ข้อ 10 การแสดงข้อความกล่าวอ้างทางโภชนาการบนฉลากผลิตภัณฑ์อาหารทีมีส่วนประกอบ ของส่วนของกัญชาหรือกัญชงให้เปนไปตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยฉลากโภชนาการ ข้อ 11 การแสดงข้อความกล่าวอ้างทางสุขภาพบนฉลากผลิตภัณฑ์อาหารทีมีส่วนประกอบ ของส่วนของกัญชาหรือกัญชงให้เปนไปตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยการกล่าวอ้างทางสุขภาพ ของอาหาร ข้อ 12 ประกาศนีให้ใช้บังคับตังแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เปนต้นไป ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือง ผลิตภัณฑ์อาหารทีมีส่วนประกอบของกัญชาหรือกัญชง
  • 12. 1.องค์การเภสัชกรรม ชือผู้ดําเนินกิจการ : นางนันทกาญจน์ สุวรรณปฏกกุล ชือสถานที : องค์การเภสัชกรรม (ปทุมธานี) ทีตัง : 138 รังสิต-นครนายก 4 บึงสนัน ธัญบุรี ปทุมธานี 0 2203 6171 2.มหาวิทยาลัยรังสิต ชือผู้ดําเนินกิจการ : นายธนภัทร ทรงศักดิ ชือสถานที : คณะนวัตกรรมการเกษตร วิทยาลัยนวัตกรรมการเกษตร เทคโนโลยีชีวภาพและอาหารมหาวิทยาลัยรังสิต (ปทุมธานี) ทีตัง : 52/347 พหลโยธิน 87 พหลโยธิน 7 หลักหก เมืองปทุมธานี ปทุมธานี 0 2997 2222 3.มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ชือผู้ดําเนินกิจการ : นายโฆษิต ศรีภูธร ชือสถานที : คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร (สกลนคร) ทีตัง : 205 10 แร่ พังโคน สกลนคร 06 5829 2562 4.สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข และวิสาหกิจชุมชนศูนย์กลางการพัฒนาสมุนไพร เพ ลา เพลิน เพือชุมชน ชือผู้ดําเนินกิจการ : นายกิตติ โล่สุวรรณรักษ์ ชือสถานที : วิสาหกิจชุมชนศูนย์กลางการพัฒนาสมุนไพร เพ ลา เพลิน เพือชุมชน (บุรีรัมย์) ทีตัง : 252 7 หนองขมาร คูเมือง บุรีรัมย์ 0 4469 9238-40 5.มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ชือผู้ดําเนินกิจการ : นายวัชรพงษ์ อินทรวงศ์ ชือสถานที : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร (สกลนคร) ทีตัง : 59 วปรอ.366 1 เชียงเครือ เมืองสกลนคร สกลนคร 0 4272 5042
  • 13. 6.มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ชือผู้ดําเนินกิจการ : นายวีระพล ทองมา ชือสถานที : โรงเรือนปลูกกัญชาระบบปด สาขาพืชผัก คณะผลิตกรรมการเกษตร (เชียงใหม่) ทีตัง : 63 4 หนองหาร สันทราย เชียงใหม่ 0 5387 3000 7.มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ชือผู้ดําเนินกิจการ : นายวีระพล ทองมา ชือสถานที : โรงเรือนของศูนย์วิจัยและพัฒนาไส้เดือนดิน พืนทีสํานักฟาร์ม มหาวิทยาลัยแม่โจ้ (เชียงใหม่) ทีตัง : 151 7 ปาไผ่ สันทราย เชียงใหม่ 0 5387 3000 8.มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ชือผู้ดําเนินกิจการ : นายสมชาย แก้ววังชัย ชือสถานที : อาคารเรียนรู้การเกษตรและอุตสาหกรรม คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม(มหาสารคาม) ทีตัง : 162 17 นาสีนวน กันทรวิชัย มหาสารคาม 0 4375 4333 9.มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ชือผู้ดําเนินกิจการ : นายสมชาย แก้ววังชัย ชือสถานที : อาคารวิทยาศาสตร์ชีวภาพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (มหาสารคาม) ทีตัง : 245 7 ขามเรียง กันทรวิชัย มหาสารคาม 04 3754 2246 10.กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ร่วมกับวิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรอินทรีย์เพชรลานนา ชือผู้ดําเนินกิจการ: นางมาลา สร้อยสําโรง ชือสถานที : วิสาหกิจชุมชนกลุ่มเกษตรอินทรีย์เพชรลานนา (ลําปาง) ทีตัง : 176 แจ้ห่ม-วังเหนือ 6 แม่สุก แจ้ห่ม ลําปาง 08 1888 6079
  • 14. 11.สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ร่วมกับวิสาหกิจชุมชนกลุ่มรักจังฟาร์ม วังนําเขียว ชือผู้ดําเนินกิจการ : นางโศรยา ธรรมรักษ์ ชือสถานที : วิสาหกิจชุมชนกลุ่มรักจังฟาร์ม วังนําเขียว (นครราชสีมา) ทีตัง : 105 1 ไทยสามัคคี วังนําเขียว นครราชสีมา 08 1348 4444 12.มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ชือผู้ดําเนินกิจการ : นายไพศาล การถาง ชือสถานที : คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร (กรุงเทพมหานคร) ทีตัง : 1381 ประชาราษฎร์ 1 วงศ์สว่าง บางซือ กรุงเทพมหานคร 0 2836 3000 13.มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ชือผู้ดําเนินกิจการ : นายไพศาล การถาง ชือสถานที : โรงพยาบาล สูงเนิน (นครราชสีมา) ทีตัง : 280 มิตรสัมพันธ์ 8 สูงเนิน สูงเนิน นครราชสีมา 0 4441 9712 14.มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ชือผู้ดําเนินกิจการ : นายสุรพล ใจวงศ์ษา ชือสถานที : วิสาหกิจชุมชนกลุ่มปลูกและแปรรูปบุกเกษตรอินทรีย์บ้านทุ่งแพม (แม่ฮ่องสอน) ทีตัง : 222/1 3 แม่ยวม แม่สะเรียง แม่ฮ่องสอน 15.สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ชือผู้ดําเนินกิจการ : นายศรีเมฆ ชาวโพงพาง ชือสถานที : อาคารกลุ่มนวัตกรรม 2 ทาวเวอร์ A สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ(ปทุมธานี) ทีตัง : 144 พหลโยธิน 9 คลองหนึง คลองหลวง ปทุมธานี 0 2564 7000 ต่อ 6923
  • 15. 16.สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ชือผู้ดําเนินกิจการ : นายศรีเมฆ ชาวโพงพาง ชือสถานที : โรงเรือนปลูกพืชระบบปดควบคุมสภาพแวดล้อม อาคารโรงงานต้นแบบไบโอเทค (ปทุมธานี) ทีตัง : 117 พหลโยธิน 9 คลองหนึง คลองหลวง ปทุมธานี 0 2564 7000 ต่อ 6923 17. สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ร่วมกับ มูลนิธิโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี ชือผู้ดําเนินกิจการ : นางโศรยา ธรรมรักษ์ ชือสถานที : มูลนิธิโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร ในพระอุปถัมภ์สมเด็จพระเจ้าภคินีเธอ เจ้าฟาเพชรรัตนราชสุดา สิริโสภาพัณณวดี (ปราจีนบุรี) ทีตัง : 32/7 ปราจีนอนุสรณ์ 12 ท่างาม เมืองปราจีนบุรี ปราจีนบุรี 0 3721 1088 18.สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ชือผู้ดําเนินกิจการ : นายสามิตร รมยาคม ชือสถานที : โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลคลองม่วง (นครราชสีมา) ทีตัง : 17 4 คลองม่วง ปากช่อง นครราชสีมา 0 4408 1456 19. มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย ชือผู้ดําเนินกิจการ: นาย ณัฏฐพล สันธิ ชือสถานที : อาคารไอเอ01(IA01) มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย (เชียงราย) ทีตัง : 80 9 บ้านดู่ เมืองเชียงราย เชียงราย 0 5377 6000-5
  • 16. 20. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ชือผู้ดําเนินกิจการ : นายทวีศักดิ นิยมบัณฑิต ชือสถานที : คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (สงขลา) ทีตัง : 15 กาญจนวณิชย์ หาดใหญ่ หาดใหญ่ สงขลา 0 7428 6000 21.มหาวิทยาลัยขอนแก่น ชือผู้ดําเนินกิจการ : นายมนต์ชัย ดวงจินดา ชือสถานที : หมวดพืชผัก สาขาพืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ขอนแก่น) ทีตัง : 123 16 ในเมือง เมืองขอนแก่น ขอนแก่น 0 4320 2425 22.มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ชือผู้ดําเนินกิจการ : นายอนันต์ ทองระอา ชือสถานที : สวนเฉลิมพระเกียรติ 50 พรรษา บรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี (นครราชสีมา) ทีตัง : 111 มหาวิทยาลัย 6 สุรนารี เมืองนครราชสีมา นครราชสีมา 0 4422 5097 23.สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ชือผู้ดําเนินกิจการ : นางอมร คําทะริ ชือสถานที : โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลเชียงพิณ (อุดรธานี) ทีตัง : 745 9 เชียงพิณ เมืองอุดรธานี อุดรธานี 0 4226 3307 24.สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ชือผู้ดําเนินกิจการ : นายปญญา โสรมรรค ชือสถานที : โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลบ้านหนองแซง (อุดรธานี) ทีตัง : 250 อุดร-หนองบัวลําภู หนองบัวบาน หนองวัวซอ อุดรธานี 0 4212 5098
  • 17. 25.สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ชือผู้ดําเนินกิจการ : นางดรุณี จันทน์วัฒนวงษ์ ชือสถานที : โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตําบลบ้านสระแก้ว (อุดรธานี) ทีตัง : 155 14 บ้านดุง บ้านดุง อุดรธานี 0 4212 5098 26.สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ชือผู้ดําเนินกิจการ : นายกังวานไทย ออกตลาด ชือสถานที : โรงพยาบาล ห้วยเกิง (อุดรธานี) ทีตัง : 5 4 ห้วยเกิง กุมภวาป อุดรธานี 0 4239 8572 27.จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ชือผู้ดําเนินกิจการ : นาย สถิรกร พงศ์พานิช ชือสถานที : ศูนย์เครือข่ายการเรียนรู้เพือภูมิภาค จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จ.สระบุรี (สระบุรี) ทีตัง : 158 2 ห้วยแห้ง แก่งคอย สระบุรี 0 2218 8152 28. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ชือผู้ดําเนินกิจการ : นายธนากร เปลืองกลาง ชือสถานที : วิสาหกิจชุมชน กลุ่มเกษตรกรทฤษฎีใหม่ตําบลเสมา (นครราชสีมา) ทีตัง : 59 1 เสมา สูงเนิน นครราชสีมา 08 4417 9950 29.มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ชือผู้ดําเนินกิจการ : นาย ธนากร เปลืองกลาง ชือสถานที : ศูนย์วิทยาศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา(นครราชสีมา) ทีตัง : 340 สุรนารายณ์ ในเมือง เมืองนครราชสีมา นครราชสีมา 0 4400 9009 30. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 18. ก า ร นํา ไ ป สื อ ส า ร แ ล ะ โ ฆ ษ ณ า ก ฎ ก า ร โ ฆ ษ ณ า แ ล ะ คํา ต้ อ ง ห้ า ม ใ ช้
  • 19. สําหรับกฎกระทรวงกําหนดไว้ชัดเจนว่า การโฆษณาให้ข้อมูลใด ๆ เกียวกับกัญชา ต้องได้รับอนุญาตจากเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา โดยให้โฆษณาได้เพียง 2 กรณี คือ (1) การโฆษณาในลักษณะของการให้ข้อมูลทางวิชาการต่อผู้ประกอบวิชาชีพทางการแพทย์ ได้แก่ แพทย์ ทันตแพทย์ สัตวแพทย์ เภสัชกร แพทย์แผนไทย แพทย์แผนไทยประยุกต์และหมอพืนบ้าน หรือ (2) การทําเปนเอกสารในลักษณะของการเลียนแบบฉลากหรือเอกสารกํากับยาทีภาชนะบรรจุกัญชา ซึงการโฆษณารูปแบบเฉพาะดังกล่าว ไม่ได้เปดให้มีการโฆษณาในทางการค้าต่อประชาชนหรือสังคมทัวไปแต่อย่างใด กฎการโฆษณากัญชาทีผลิตในประเทศ
  • 20. ศักดิสิทธิ มหัศจรรย์ ปาฏิหาริย์ วิเศษ เลิศทีสุด ดีเลิศ ชนะเลิศ ชันเลิศ เลิศเลอ ลําเลิศ เลิศลํา ยอด ยอดเยียม ยอดไปเลย เยียมยอด เยียมไปเลย สุดยอด ทีหนึง หนึงเดียว ทีหนึงเลย ทีสุด ดีทีสุด ดีเด็ด สูงสุด เด็ดขาด หายห่วง หายขาด หมดกังวล สุดเหวียง ไม่มีผลข้างเคียง ไร้ผลข้างเคียง อย. รับรอง ปลอดภัย เห็นผลเร็ว คําทีไม่อนุญาตในการใช้โฆษณาคุณภาพคุณประโยชน์
  • 21. ลดคอเลสเตอรอล ลดความดันโลหิต ลดไขมันในเส้นเลือด ลดระดับนําตาลในเลือด ปองกันโรคหัวใจ โรคมะเร็ง เนืองอก โรคเบาหวาน หลอดเลือดแข็งตัว ภูมิแพ้ หอบหืด บรรเทาอาการปวดหัว ไมเกรน อาการชา บวมและเส้นเลือดขอด แก้ปญหาปวดประจําเดือน ประจําเดือนมาไม่ปกติ อาการตกขาว ยับยังการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย ปองกันหรือต่อต้านเชือโรค เช่น เชือไวรัสโคโรนา (COVID-19) ไข้หวัด แบคทีเรีย เปนต้น รักษาโรคติดเชือ เพิมความจํา แก้อาการหลงลืม ความจําเสือม รักษาโรคอัลไซเมอร์ รักษาอาการซึมเศร้า นอนไม่หลับ รักษาโรคไวรัสตับอักเสบ ไขมันพอกตับ รักษาโรคไตเสือม นิวในไต ข้อความทีสือแสดงสรรพคุณอันทําให้เข้าใจว่าสามารถบําบัด บรรเทา รักษา ปองกัน โรคหรือ อาการ ของโรคหรือความเจ็บปวย เช่น คําทีไม่อนุญาตในการใช้โฆษณาคุณภาพคุณประโยชน์
  • 22. รักษาโรคเกาต์ รูมาตอยด์ เอสแอลอี บรรเทาอาการข้ออักเสบ ข้อเข่าเสือม ปวดเข่า ปวดกล้ามเนือ กล้ามเนืออักเสบ รักษาโรคต้อ วุ้นในตาเสือม กระจกตาเสือม จอประสาทตาเสือม ตาแห้ง เคืองตา แสบตา บรรเทาอาการหูอือ ฟนฟูการได้ยิน รักษาโรคริดสีดวงทวาร กรดไหลย้อน รักษาโรคปอดอักเสบ วัณโรค หลอดลมอักเสบ ไอเรือรัง รักษาโรคผิวหนังอักเสบ สะเก็ดเงิน คําทีไม่อนุญาตในการใช้โฆษณาคุณภาพคุณประโยชน์