SlideShare a Scribd company logo
1 of 72
Download to read offline
คายสิ่งแวดลอมศึกษา
หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา”
โดย นายสมภพ เพ็ชรเกลี้ยง และคณะ
อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ
อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
พฤศจิกายน 2548
สารบัญ
กําหนดการ 1
น้ํานั้น...สําคัญนะ 3
นิทานสายน้ํา 7
ชุมชนชาวสายน้ํา 10
นักสืบสายน้ํา 13
มนุษยสายน้ําผจญภัย 18
คําสัญญาสายน้ํา 21
เกม “เพื่อนสายน้ํา” 22
ใบความรู 25
ใบงาน 51
เอกสารอางอิง 70
กําหนดการ
วัน เวลา กิจกรรม
วันแรก
08.00 น. ลงทะเบียน
ละลายพฤติกรรม
08.30 น. แบงกลุมเพื่อนสายน้ํา
09.00 น. พิธีเปด/แนะนําโครงการ
มอบผาพันคอ
09.30 น. อาหารวาง
09.45 น. น้ํานั้น..สําคัญนะ
นิทานสายน้ํา
12.00 น. อาหารกลางวัน
13.00 น. ชุมชนชาวสายน้ํา
14.00 น. นักสืบสายน้ํา - ประเมินสายน้ําดวยประสบการณตนเอง
นักสืบสายน้ํา - การสํารวจคุณภาพน้ํา
14.45 น. อาหารวาง
15.00 น. นักสืบสายน้ํา - ฝกเปนนักสืบสายน้ํา
18.00 น. อาหารเย็น
18.30 น. นักสืบสายน้ํา – เกม “แฟนพันธุแท”
19.30 น. นักสืบสายน้ํา - วางแผนการสํารวจ
20.30 น. พักผอน
วันที่สอง
08.00 น. อาหารเชา
08.30 น. แนะนําวิทยากรกลุม (เพิ่มเติม)
08.45 น. สํารวจสายน้ํา
09.45 น. อาหารวาง
10.00 น. สํารวจสายน้ํา (ตอ)
12.00 น. อาหารกลางวัน
13.00 น. นําเสนอผลการสํารวจ
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 1
อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
วัน เวลา กิจกรรม
สรุปผลการประเมินคุณภาพน้ําหวยผาก
14.30 น อาหารวาง
14.45 น. มนุษยสายน้ําผจญภัย
คําสัญญาสายน้ํา
เกม “เพื่อนสายน้ํา”
18.00 น. อาหารเย็น
19.00 น. สืบทอดเจตนา
22.00 น. พักผอน
วันที่สาม
08.00 น. อาหารเชา
08.30 น. นําเสนอวิธีการใชน้ําอยางรูคุณคา
09.45 น. อาหารวาง
10.00 น. มอบประกาศนียบัตร
กลาวปฏิญาณ
ปลูกตนไมประจํารุน
12.00 น. อาหารกลางวัน
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 2
อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
น้ํานั้น..สําคัญนะ
วัตถุประสงค
1. ทราบชนิดของน้ําประเภทตางๆ ที่มีอยูบนโลก
2. เรียงลําดับปริมาณน้ําแตละชนิดจากมากไปยังนอย
3. ทราบสถานการณน้ําในประเทศไทย
4. ตระหนักถึงความสําคัญของน้ํา
สื่ออบรม
1. เยลลี่ถาดกลม
2. น้ําตาลสี ครีม และ ท็อปปงอื่นๆ
3. ธงสัญลักษณทําดวยไมจิ้มฟน
4. บัตรคําชนิดของน้ํา
5. แผนภาพ “น้ําในโลก”
6. ใบความรู เรื่อง “ความรูเบื้องตน เรื่อง น้ํา”
วิธีการ
1. ขั้นนํา
ผูสอนตั้งคําถามเพื่อเขาสูการอภิปรายเรื่อง แหลงน้ําของโลก
ถาม นึกถึงน้ํา นึกถึงอะไร
ตอบ ......
2. ขั้นกิจกรรม
2.1 ผูสอนนําแผนภาพ “น้ําในโลก” มาใหนักเรียนพิจารณาภาพลูกโลก พรอมทั้งตั้ง
คําถามเพื่อใหนักเรียนรวมกันคิดหาคําตอบ ดังนี้
ถาม เมื่อมองโลกของเรามาจากอวกาศ เราจะเห็นสีฟาปรากฏอยูเปนสวนใหญบนพื้นผิวโลก ซึ่งสีฟาที่
เราเห็นเปนสีของน้ํา นักเรียนทราบหรือไมวาบนโลกของเรานี้ประกอบดวยน้ํากี่สวน และพื้นดินกี่สวน
ตอบ ปริมาณน้ําในโลกมีจํานวน 2 ใน 3 ของพื้นผิวโลก
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 3
อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
2.2 ผูสอน นําเยลลี่ถาดกลม และน้ําตาลสี ครีม และ ท็อปปงอื่นๆ ขึ้นแสดง แลวอธิบาย
เกี่ยวกับอัตราสวนปริมาณน้ําในโลกที่มีจํานวนถึง 2 ใน 3 ของพื้นผิวโลก โดยสมมติใหเยลลี่เปนพื้นที่
โลกทั้งหมด ใหนักเรียนใช น้ําตาลสี ครีม และ ท็อปปงอื่นๆ แบงพื้นที่น้ําและพื้นดินบนเยลลี่ใน
อัตราสวน 2 ใน 3 พรอมทั้งปกธงสัญลักษณ “พื้นดิน” ลงบนเยลลี่ แสดงพื้นที่ที่เปนพื้นดินไว
2.3 ผูสอนตั้งคําถามเพื่อใหนักเรียนรวมกันคิดหาคําตอบจากขอมูลที่วาน้ําบนโลกมี
ปริมาณถึง 2 ใน 3 นั้น ประกอบดวยน้ําประเภทใดบาง จากนั้นผูสอนอธิบายชนิดของน้ําประเภทตางๆ
บนโลกดวยบัตรคํา แลวใหนักเรียนรวมกันเรียงลําดับบัตรคําชนิดของน้ําตามปริมาณของน้ําแตละชนิด
โดยเรียงลําดับจากปริมาณมากที่สุดไปยังปริมาณนอยที่สุด
ถาม จากขอมูลที่วาน้ําบนโลกมีปริมาณถึง 2 ใน 3 นั้น นักเรียนคิดวาเปนน้ําอะไรบาง
ตอบ 1. น้ําที่มีอยูในโลก ประกอบดวย น้ําเค็มในทะเลและมหาสมุทร
น้ําจืด
น้ําแข็ง
น้ําจืดบนผิวโลก
น้ําบาดาล
ละอองน้ําในบรรยากาศ
2.เรียงลําดับจาก มาก-นอย
น้ําเค็ม
ในทะเลและ
มหาสมุทร
รอยละ 97.3
น้ําจืด
รอยละ 2.7
น้ําแข็ง
รอยละ 2
น้ําจืดบนผิวโลก
รอยละ 0.03
น้ําบาดาล
รอยละ 0.6
ละอองน้ําใน
บรรยากาศ
รอยละ 0.001
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 4
อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
2.4 ผูสอนเฉลยคําตอบพรอมทั้งบอกปริมาณรอยละของน้ําแตละชนิด แลวใหนักเรียนใช
น้ําตาลสี ครีม และ ท็อปปงอื่นๆ แบงสัดสวนของพื้นที่น้ํา พรอมทั้งปกธงสัญลักษณของน้ําแตละชนิดลง
บนเยลลี่ หลังจากนั้นอธิบายเรื่องสถานการณน้ําจืดของโลก และของไทย
ถาม น้ําที่เราดื่มและใชในชีวิตประจําวัน มาจากไหน มีปริมาณมากหรือนอย แลวนักเรียนคิดวา
ปริมาณน้ําที่เราใชในชีวิตประจําวันเปนน้ําที่มีคุณภาพดี และสามารถนําใชไดอยางปลอดภัย มีเทาไร
ตอบ น้ําดื่มในประเทศไทยที่เราใชบริโภคกันนั้น รอยละ 70 นํามาจากน้ําในแมน้ําลําธาร อางเก็บน้ํา
และบึงน้ําจืด ซึ่งในป พ.ศ. 2540 กระทรวงสาธารณสุข พบวา แมน้ําที่มีคุณภาพเหมาะสมแกการอุปโภค
บริโภคมีเพียง รอยละ 58 สวนที่เหลือรอยละ 42 มีแบคทีเรียปนเปอนมาก
2.5 ใหนักเรียนแตละกลุมวาดภาพสายน้ําตามความคิดความเขาใจ และนําเสนอผลงาน
ของแตละกลุม
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 5
อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
หมายเหตุ การวาดภาพ เปนการทดสอบความรูความเขาใจเรื่องสายน้ําของผูเรียน มีคะแนนเต็ม
10 คะแนน โดยมีตัวชี้วัดในการใหคะแนน
องคประกอบของภาพ ดังนี้
- ตนน้ํา 1 คะแนน
- ลําน้ํา และน้ําสาขา 2 คะแนน
- ปลายน้ํา 1 คะแนน
- สิ่งมีชีวิตน้ํา 2 คะแนน
- ชุมชน 2 คะแนน
- กิจกรรมการใชน้ําของชุมชน 2 คะแนน
3. ขั้นสรุป
ผูสอนไดอธิบายเรื่องแหลงน้ําของโลก สถานการณ
น้ําของโลกและของโลกไทย ใหนักเรียนเขาใจดีแลว ในขั้นนี้เพื่อเปน
การสรุปความรูรวบยอด จึงจัดอภิปรายระดมความคิด เรื่อง ประโยชน
ของน้ําจืด
ถาม เราใชน้ําทําอะไรบางในชีวิตประจําวัน
ตอบ ......
จากนั้นแจกใบความรูใหแกนักเรียน
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 6
อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
นิทานสายน้ํา
วัตถุประสงค
1. ทราบถึงกิจกรรมการใชน้ําที่อาจกอความขัดแยงขึ้นในชุมชน
2. หาสาเหตุของปญหา และคิดวิเคราะหหาแนวทางแกไข
3. ตระหนักถึงความสําคัญของน้ํา และการใชน้ํารวมกัน
สื่ออบรม
1. ตัวละคร
- เด็กชายดี ผูแสดงนําชาย
- เด็กหญิงปลา ผูแสดงนําหญิง
- ครอบครัวเด็กชายดี (พอ+แม)
- ครอบครัวเด็กหญิงปลา (พอ+แม)
- ครูใจดี
2. เสียงประกอบ (นักเรียนที่เหลือ)
3. อุปกรณประกอบฉาก
- สวิงจับปลา
- เรียงรอนแร
วิธีการ
เลานิทาน โดยมีผูแสดงประกอบ
เนื้อเรื่อง
ไมนานมานี้ ในหมูบานหวยผากอันอุดมสมบูรณ มีสองพี่นองซึ่งเปนครอบครัวเดียวกันอาศัยอยู
อยางมีความสุข
ครอบครัวดีบุก มีอาชีพทําเหมืองแรดีบุก มีลูกชายสุดหลอชื่อวา เด็กชายดี ครอบครัวนี้มีฐานะร่ํารวย
จากการทําเหมืองแรดีบุก และคิดเพียงอยางเดียววา จะขุดแรใหไดมากที่สุด และจะขุด
ใหรวยกวาทักษิณ??? โดยในระหวางมื้อค่ําวันหนึ่ง ในชวงฤดูฝน
(มีเสียงฟารองฟาผา และฝนตก ประกอบ)
พอดีบุก **เราคือ พี่บุก และนี่ ลูกชายของเรา เด็กชายดี
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 7
อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
เด็กชายดี **ผมชื่อ เด็กชายดี ครับ
พอดีบุก **(คิดอยูในใจ) พรุงนี้เราจะเปดเหมืองใหมเพิ่มขึ้นอีก บนเขาลันดา ตรงนั้นมี
แรมากคงทําใหเรารวยกวา ทักษิณ แนๆๆ
ครอบครัวดีบุก **(ตอบในใจ) เราจะรวยกันแลว ฮิฮิ..
ครอบครัวยี่สก มีอาชีพเลี้ยงปลาในกระชัง มีลูกสาวสุดสวยชื่อวา เด็กหญิงปลา ครอบครัวนี้มีฐานะ
ปานกลาง ประกอบอาชีพตามหลักเกษตรพอเพียง และยึดคติประจําใจวา ทุกสรรพสิ่ง
เปนสวนหนึ่งของธรรมชาติ ตอนมีชีวิตอยูเราไดกินปลา หากเราตายไปปลาคงไดกิน
เรา!!!! โดยในระหวางมื้อเชาวันหนึ่ง ในชวงฤดูฝน เชนกัน แตฝนหยุดแลว
(มีเสียงนก เสียงกา รองยามเชา ประกอบ)
พอยี่สก **เราคือ ยี่สก และนี่ ลูกสาวของเรา เด็กหญิงปลา
เด็กหญิงปลา **หนูชื่อ เด็กหญิงปลา คะ
พอยี่สก **(คิดอยูในใจ) วันนี้เราจะเพิ่มกระชังปลาอีก หวยผากของเราน้ําคุณภาพดี เรา
จะมีปลากินตลอดป แนๆๆ
ครอบครัวยี่สก **(ตอบในใจ) ดีจังเราจะมีปลา.....กันแลว ฮิฮิ..
ความฝนของครอบครัวดีบุก เริ่มมองเห็นความเปนจริงชัดขึ้นทุกวัน ในขณะที่ครอบครัวยี่สกไม
วาจะเพิ่มกระชังหรือพันธุปลามากขึ้นเทาไหรแตกลับกลายเปนวายิ่งเปนการบั่นทอนเงินที่สะสมมาทั้ง
ชีวิต นับวันครอบครัวยี่สกก็ จนลงๆ ทุกวันๆ ถึงแมวาจะขยันขันแข็งสักเทาไหรแตก็ไมทําใหประสพ
ผลสําเร็จเสียที ครอบครัวยี่สกจึงไปขอความชวยเหลือจากครอบครัวดีบุก
พอยี่สก **พี่บุกครับ ตอนนี้ปลาที่ผมเลี้ยงไวกําลังจะตายหมดแลวครับ ผมยังไมมีเงิน
จะไปจายคาเทอมใหหญิงปลา ลูกสาวของเลยผมครับ
**หากผมจะขอยืมเงินพี่ จะไดไหมครับ
พอดีบุก **คงไมไดหรอกนะ..เพราะครอบครัวของเอ็งไมขยันทํางานทํามาหากิน เอาแต
เก็บผักหาปลาไปวันๆๆ และที่สําคัญไมเคยมาชวยพี่ทําเหมืองของตระกูลเลย
เอ็งก็ตองอยูอยาง อดๆ อยากๆ ตอไป
เด็กหญิงปลา **ฮะ!!!!
เด็กชายดี **ฮะ!!!!
เด็กชายดี กับ เด็กหญิงปลา เห็นครอบครัวทั้ง 2 ตองมาทะเลาะกัน จึงทนนิ่งอยูไมได ก็เลยชวน
กันไป เพื่อจะสืบใหไดวามันเกิดอะไรขึ้นกันแน และแลวทั้ง 2 ก็นึกขึ้นไดวานาจะไปปรึกษา ครูใจดี
ครูใจดี **ดิฉัน ชื่อ ครูใจดี นามสกุล ดีใจ คะ
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 8
อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
เด็กชายดี **ครูครับ ผมจะทําอยางไรดีครับ พอของผมกับพอของเด็กหญิงปลา ทะเลาะ
กันใหญเลยครับ
ครูใจดี **เรื่องมันเปนอยางไร ไหนเลาใหครูฟงซิ
เด็กหญิงปลา **เรื่องมันเปนอยางนี้คะ..........................................
ครูใจดี **เฮอ เรื่องมันเปนอยางนี้ นี่เอง
**พอดีบุก ทําเหมืองแรบนเขาลันดา สวนพอยี่สกเลี้ยงปลาในหวยผา หรือวา!!!!
**....................................
**อาจเปนไปไดวา มีใครสักคนทําใหเกิดน้ําเสียที่ตนน้ํา และน้ํานั้นก็ไหลลงสู
หวยผากจนทําใหปลาของพอยี่สก ตายในที่สุด
เด็กชายดี กับ เด็กหญิงปลา ตัดสินใจออกสืบเสาะ หาคําตอบใหรูใหไดวาเหตุใดปลาที่เลี้ยงไวถึง
ตายไปเปนจํานวนมากขนาดนี้ แตเด็กทั้งสองคนหาคําตอบไดไมนานเทาไหร
และแลววันหนึ่ง เรื่องรายๆๆ ก็...........
ขอเท็จจริง การทําเหมืองแรบนภูเขา ทําใหเกิดการชะลางหนาดิน และ ตะกอนเหมืองจํานวนมาก
ไหลลงสูลําธารตางๆ อีกทั้งเปนชวงฤดูฝนมีน้ํามาก ทําใหเกิดการชะลางตะกอนเหมือง
มากเปนเทาทวีคูณ สารพิษที่มาจากเหมืองแร และตะกอนในน้ํานี้เอง ที่เปนสาเหตุหลัก
ทําใหปลาตาย
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 9
อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
ชุมชนชาวสายน้ํา
วัตถุประสงค
1. ทราบชนิดของสัตวเล็กน้ําจืดที่เปนตัวบงชี้คุณภาพน้ํา
2. เขาใจหลักการใชสัตวเล็กน้ําจืดเปนตัวบงชี้คุณภาพน้ํา และความสัมพันธทางนิเวศวิทยาของ
สายน้ํา
3. ตระหนักถึงความสําคัญของนิเวศวิทยาสายน้ํา
สื่ออบรม
1. บลูแทก หรือกระดาษกาว
2. ภาพตัดขวางแหลงน้ํา
3. บัตรภาพสัตวเล็กน้ําจืด
4. แผนภาพ “โลกใตสายน้ํา”
5. แผนภาพสัญญาณไฟ
6. ปายชื่อนักเรียน ที่มีภาพสัตวเล็กน้ําจืดพรอมชื่อสัตว
7. ดินสอ หรือ ปากกา
8. ใบงาน “ทายซิใครเอย”
9. ใบงาน “สัตวเล็กน้ําจืด”
10. ใบความรู เรื่อง “ความรูเบื้องตน เรื่อง นิเวศวิทยาสายน้ํา”
วิธีการ
1. ขั้นนํา
ผูสอนนําเลนเกมทายซิใครเอย ซึ่งจะแจกใบงาน “ทายซิใครเอย” ใหนักเรียนแตละคน
จากนั้นใหนักเรียนทําความรูจักกับเพื่อนที่เขารวมอบรม โดยสอบถามทั้งชื่อเพื่อน และชื่อสัตวเล็กน้ําจืด
ที่อยูบนปายชื่อของเพื่อน บันทึกลงในใบงานโดยใหทําความรูจักกับเพื่อนใหไดมากที่สุดภายในเวลาที่
กําหนด หลังจากนั้น ผูสอนทําการตรวจสอบความถูกตอง (อาจมีรางวัลใหแกนักเรียนที่ทําความรูจัก
กับเพื่อนไดถูกตองมากที่สุด และจําเพื่อนคนนั้นๆ ได)
คําสั่ง 1) ใหแตละคนสอบถามชื่อเพื่อน และชื่อสัตวเล็กน้ําจืดที่อยูบนปายชื่อของเพื่อน แลวบันทึกลง
ในใบงาน ใหไดมากที่สุด ภายในเวลา 15 นาที
2) ทําการตรวจสอบความถูกตอง และมอบรางวัล
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 10
อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
2. ขั้นกิจกรรม
2.1 ผูสอนแจกบัตรภาพสัตวเล็กน้ําจืดใหแกนักเรียนแตละคน เพื่อศึกษาชื่อสัตว
ลักษณะรูปราง และรูปแบบการดํารงชีวิต จากนั้นนําบัตรภาพสัตวเล็กน้ําจืด ไปติดลงบนภาพตัดขวาง
สายน้ําหนาชั้นเรียน ในตําแหนงที่คิดวานาจะเปนที่อยู
อาศัยของสัตวชนิดนั้นๆดวยบลูแทกหรือกระดาษกาว
คําสั่ง 1) ใหแตละคนศึกษาชื่อสัตว ลักษณะรูปราง
และรูปแบบการดํารงชีวิต จากบัตรภาพสัตวเล็กน้ําจืดที่
แจกให
2) ใหแตละคนนําบัตรภาพสัตวเล็กน้ําจืดไป
ติดลงบนภาพตัดขวางสายน้ําหนาชั้นเรียน ในตําแหนง
ที่คิดวานาจะเปนที่อยูอาศัยของสัตวชนิดนั้นๆ
2.2 ผูสอนอธิบายเรื่อง นิเวศวิทยา
สายน้ํา ดวยแผนภาพ “โลกใตสายน้ํา” จากนั้นอธิบาย
ถึงความสัมพันธระหวางการดํารงชีวิตสัตวเล็กน้ําจืด
กับคุณภาพน้ํา โดยเนนจัดกลุมระบบการหายใจและการใชออกซิเจนของสัตวเล็กน้ําจืดแตละชนิด ซึ่งจะ
เปนตัวบงบอกคุณภาพน้ําดวยแผนภาพสัญญาณไฟจราจรน้ํา จากนั้นแนะนําใหนักเรียนรูจักกับสัตวเล็ก
น้ําจืดที่เปนตัวบงชี้ของแตละกลุมไฟจราจรน้ํา โดยแจกใบงาน “สัตวเล็กน้ําจืด” ใหนักเรียนบันทึกขอมูล
สําคัญ
คําอธิบาย สัตวไฟแดง - น้ําสกปรก ไดแกกลุมของหนอนริ้นน้ําจืด ไสเดือนน้ํา
สัตวพวกนี้ออกจะเฉื่อย จึงไมตองการออกซิเจนมากนัก พวกมันหายใจ
โดยดูดซึมอากาศผานผิวบาง บางชนิดมีเหงือกชวยดวย และมีสารฮีโมโกบินคลาย
เลือดเรา สามารถเก็บออกซิเจนไวไดนานๆ พวกมันจึงทนมลภาวะไดดี
สัตวไฟเหลือง - น้ําคุณภาพพอใชได ไดแกกลุมของตัวออนแมลงปอ ตัวออน
แมลงปอเข็ม กุงน้ําจืด หอยสองฝา หอยฝาเดียว
สัตวพวกนี้หายใจดวยเหงือกและผิว ตัวออนแมลงปอจะปมน้ําผาน
เหงือกขางในตัว จึงดึงออกซิเจนในน้ํามาใชไดมากกวาสัตวไฟเขียว สวนหอยฝา
เดียวหลายชนิดมีชองเก็บอากาศคลายปอดอยูในเปลือก สามารถลอยตัวขึ้นไปเติม
อากาศจากผิวน้ําได พวกมันจึงทนมลภาวะไดพอสมควร
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 11
อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
สัตวไฟเขียว-น้ําสะอาด ไดแกกลุมของตัวออนชีปกขาว ตัวออนแมลงเกาะหิน ตัวออน
แมลงหนอนปลอกน้ํามีปลอก ตัวออนแมลงหนอนปลอกน้ําไมมีปลอก ตัวออนแมลงชางกรามโต
สัตวพวกนี้ตองการออกซิเจนมาก จึงทนมลภาวะไมได พวกมันพึ่งพาอากาศที่ละลายอยู
ในน้ํา โดยหายใจผานเหงือกและผิวบาง
3. ขั้นสรุป
ผูสอนอธิบายสรุปเกี่ยวกับสัตวเล็กน้ําจืดกับคุณภาพน้ําโดยพยายามเชื่อมโยงไปยังหวงโซ
อาหารและสายใยอาหาร ดวยแผนภาพ “โลกใตสายน้ํา” แลวแจกใบความรูใหแกนักเรียน
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 12
อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
นักสืบสายน้ํา
วัตถุประสงค
1. ทราบและเขาใจเกี่ยวกับวิธีการสํารวจคุณภาพน้ํา
2. ทราบวิธีการและสามารถใชอุปกรณชุดนักสืบสายน้ํา
3. ทดลองและฝกการสํารวจคุณภาพน้ําโดยวิธีการนักสืบสายน้ํา
4. เขาใจและสามารถวางแผนสํารวจสายน้ําได
สื่ออบรม
1. ชุดอุปกรณนักสืบสายน้ํา
2. แผนภาพ “สายน้ําหวยผาก”
3. กระดาษบรูฟ
4. ปากกาสีน้ําสีตาง ๆ
5. แบบบันทึกการประเมินคุณภาพน้ําดวยประสบการณสวนตัว
6. แบบบันทึกการสํารวจสายน้ํา
7. ใบความรู เรื่อง “ ความรูเบื้องตน ของนักสืบสายน้ํา”
8. ใบความรู เรื่อง “การสํารวจสายน้ํา”
วิธีการ
1. ขั้นนํา
ผูสอนอธิบายเปรียบเทียบวารางกายมนุษยเหมือนกับโลกของเรา โดยมีสายน้ําตาง ๆ เปน
เหมือนกับเสนเลือดของมนุษยนั่นเอง หมอตรวจวัดชีพจร ความดัน อุณหภูมิของรางกายเรา เมื่อเราไม
สบาย เพื่อใหทราบวาเรามีความผิดปกติหรือไม เชนเดียวกับโลกของเราหากเราตองการรูวาโลกเรามี
ปญหาหรือไมสบายก็ตองมีการตรวจ โดยพวกเราทุกคนคือ “คุณหมอ” ที่มีหนาที่ในการตรวจคนไขที่ชื่อ
วา“โลก”เพราะฉะนั้น“การตรวจคุณภาพน้ําก็เปรียบไดกับการตรวจชีพจรแผนดิน”
2. ขั้นกิจกรรม
2.1 ประเมินสายน้ําดวยประสบการณตนเอง
ผูสอนแจก แบบบันทึกการประเมินคุณภาพน้ําดวยประสบการณสวนตัวให
นักเรียนคนละ 1 แผน พรอมดินสอหรือปากกาคนละ 1 ดาม แลวใหนักเรียนนั่งเงียบ ๆ ริมลําน้ําพรอมกับ
หลับตา เปดรับการสัมผัสตาง (ฟงเสียง สัมผัสน้ํา อากาศ) หลังจากนั้นใหลืมตาแลวใหวาดรูปสายน้ําที่เห็น
ลงบนแบบบันทึกที่แจกให พรอมทั้งเขียนรายละเอียดอธิบายภาพวาดจากการที่ไดสัมผัสทั้งขณะลืมตา
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 13
อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
และหลับตา และใหประเมินวาลําน้ํามีคุณภาพเปนอยางไร นั่นคือการประเมินคุณภาพน้ําดวย
ประสบการณตนเอง หลังจากนั้นใหตัวแทนนําเสนอ กลุมละ 1 คน
2.2 การสํารวจคุณภาพน้ํา
2.2.1 ผูสอนแจกกระดาษบรูฟ
และปากกาสีน้ํา กลุมละ1ชุดใหรวมกันวาดรูปคนขึ้นมา
หนึ่งรูปใชเปนตัวแทนนักสืบสายน้ํา ใหแตละกลุมระดม
ความคิด เชื่อมโยงสวนตางๆ ของรางกายที่เปนประโยชน
และสามารถใชในการสํารวจน้ําไดอยางไรบาง จากนั้น
ใหแตละกลุมสงตัวแทนออกมานําเสนอ
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 14
อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
2.2.2 ผูสอนสรุปความรูทั่วไปเกี่ยวกับการสํารวจคุณภาพน้ํา 3 วิธี
-วิธีทางกายภาพ ไดแก สี ความขุนใส อุณหภูมิ กลิ่น
-วิธีทางชีวภาพ/นักสืบสายน้ํา เชน ดูปลา พืช แมลงและสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ
-วิธีทางเคมี เชนความเปนกรดเบสแรธาตุ สารเคมี ปริมาณออกซิเจนเปนตน
จากนั้นแจกใบความรูเรื่อง“ ความรูเบื้องตน ของนักสืบสายน้ํา”
2.3 ฝกเปนนักสืบสายน้ํา
2.3.1 ผูสอนแนะนําอุปกรณชุดนักสืบสายน้ํา และวิธีการใชอุปกรณแตละชนิด
โดยตั้งคําถามใหนักเรียนรวมกันคิดวา“อุปกรณแตละชนิดใชอยางไร” เลือกตัวแทนออกมาแลวใหแสดง
วิธีการใชอุปกรณแตละชนิด โดยใชเวลาพอประมาณ หลังจากนั้นผูสอนสรุปการใชอุปกรณแตละชนิด
ใหแกเด็กนักเรียน
2.3.2 ผูสอนแจกอุปกรณ
ใบความรู เรื่อง “การ
สํารวจสายน้ํา” และแบบ
บันทึกการสํารวจสายน้ํา
ใหนักเรียนกลุมละ 1 ชุด
พรอมกับใหนักเรียน
ทดลองฝกใชอุปกรณใน
การสํารวจสายน้ําทาง
ชีวภาพ และบันทึกวาได
พบสิ่งมีชีวิตอะไรบางใน
การฝกปฏิบัติ ใชเวลาไม
เกิน 1 ชั่วโมง
2.3.3 ผูสอนแสดง
แผนภาพ อธิบายสรุปให
นักเรียนทราบวาสิ่งมีชีวิต
ในน้ําแตละชนิดมีการ
ดํารงชีวิตตางกัน ทําใหมี
ถิ่นที่อยูอาศัยตางกันดวย
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 15
อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
2.4 เกม “แฟนพันธุแท”
ผูสอนทบทวนเรื่องสัตวเล็กน้ําจืดที่
พบ โดยใชเกม “แฟนพันธุแท” (เปดภาพบางสวน เพื่อทาย
ชนิดสัตวในภาพ และ 5 คําใบ ชื่อชนิดสัตว สําหรับใหผูเลน
แสดงทาทางตามคําใบ เพื่อใหสมาชิกในกลุมทายวาคืออะไร)
2.5 วางแผนการสํารวจ
2.5.1 การวางแผนสํารวจสายน้ํา
ผูสอนตั้งคําถามวาใหทุกคนคิดวา“เราควรสํารวจสายน้ํากันบริเวณไหนบางกี่จุด” เพื่อใหนักเรียนแสดง
ความคิดเห็น
ถาม เราควรสํารวจสายน้ําบริเวณไหนบาง และกี่จุดจึงจะดีที่สุด
ตอบ ....................................
2.5.2 ผูสอนนําแผนภาพสายน้ํา แสดงใหนักเรียนพิจารณา พรอมทั้งแจกกระดาษ
รูปภาพสายน้ําใหแกทุกคนและใหแตละคนทดลองกําหนดจุดสํารวจลงบนกระดาษที่ใหไปพรอมทั้ง
อธิบายการกําหนดจุดสํารวจของตนเองลงในกระดาษตามความเขาใจ ผูสอนสุมหาตัวแทนอธิบายการ
กําหนดจุดสํารวจ
2.5.3 ผูสอนสรุปและทําความเขาใจกับนักเรียนอีกครั้งเกี่ยวกับการตั้งสมมติฐาน
และการกําหนดจุดสํารวจ เพื่อเปนพื้นฐานในการสํารวจในวันตอไป โดยชี้แจงวากอนการสํารวจใด ๆ
ตองมีการกําหนดวัตถุประสงคใหชัดเจน เพื่อกําหนดจุดสํารวจและวิธีการสํารวจที่เหมาะสมกับ
วัตถุประสงคที่ตั้งไว และไดขอมูลที่นําไปตอบคําถามไดจริง ซึ่งวัตถุประสงคหลักของการสํารวจมี 2
วัตถุประสงค คือ
- เพื่อตรวจสอบบริเวณที่สรางมลภาวะ ตองวางจุดสํารวจอยางนอย 2 จุด บน
และลางแหลงสรางมลภาวะ มีลักษณะกายภาพลําน้ําคลายคลึงกัน เพื่อเปรียบเทียบขอมูลได
- เพื่อเปนสถานีตรวจวัดการเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาล มักวางจุดเดียว แลว
กําหนดชวงเวลาในการสํารวจอยางตอเนื่องและเปนประจํา แลวนําขอมูลมาเปรียบเทียบกัน
ขอควรปฏิบัติ
- การสํารวจในแตละครั้ง/แตละจุดตองใชเครื่องมือและวิธีการสํารวจแบบเดียวกัน
- จุดสํารวจ ตองหางจากทางรวมหรือทางแยก ไมนอยกวา 20 เมตร
- แตละจุดสํารวจที่กําหนดตองเก็บตัวอยาง 10 ตัวอยาง เพื่อเปนตัวแทนของประชากร
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 16
อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
2.5.4 สรุปหลักการสํารวจ และเปดเวทีใหนักเรียนซักถามปญหา ผูสอนตั้ง
คําถามเพื่อใหนักเรียนรวมกันคิดหาคําตอบ และนอกจากนี้ผูสอนอธิบายสรุปเกี่ยวกับขอดี ขอดอยของการ
สํารวจคุณภาพน้ําวิธีการตางๆโดยใหนักเรียนรวมกันคิด
ถาม - ทําไมเราตองสํารวจคุณภาพน้ํา
- วิธีการสํารวจคุณภาพน้ํามีกี่วิธี
- ควรตั้งสมมติฐานกอนการสํารวจคุณภาพน้ําหรือไม หากควรจะกําหนดบริเวณไหนบาง อยางไร
ตอบ -............................
-3วิธี
-.............................
วิธีการตรวจคุณภาพน้ํา ขอดี ขอจํากัด
1. ทางกายภาพ -ไมตองใชอุปกรณ
-สํารวจไดทุกเวลา
-ใหขอสังเกตไดดี
-ไมไดมาตรฐาน
-พื้นฐานประสบการณตางกัน
-ไมแมนยํา/ขอมูลคราวๆ
2. ทางชีวภาพ
/นักสืบสายน้ํา
-ราคาถูก
-ตรวจสอบไดแมมลภาวะผาน
ไปแลว
-เชื่อมโยงกับชุมชนไดงาย
-ตรวจมลภาวะจากสารอนินทรียไมได
ชัดเจน
-ตรวจไดแตน้ําไหล
-พึ่งความรูทางอนุกรมวิธาน และ
ชีววิทยา
3. ทางเคมี -ตรวจมลภาวะไดทุกประเภท
-ตรวจแหลงน้ําไดทุกประเภท
-ใหคุณคามาตรฐาน
-ราคาแพง
-ตรวจไดเฉพาะขณะเกิดมลภาวะ
-เชื่อมโยงกับชุมชนไดยาก
หมายเหตุ หากตองการความถูกตองในการตรวจสอบคุณภาพน้ําควรจะใชการตรวจสอบทั้ง 3 วิธี
รวมกัน รวมทั้งตองทําการตรวจสอบอยางตอเนื่องและเปนประจํา
3. ขั้นสรุป
การสรุปและประเมินคุณภาพน้ํา จะใชหลักของนักสืบสายน้ํา โดยการมีสวนรวมของ
ทุกกลุม เพื่อหาคาเฉลี่ย โดยหลังจากที่นักเรียนไดทําการสํารวจคุณภาพน้ําทั้ง 2 จุด และบันทึกขอมูลลง
ในใบงานเรียบรอยแลว ผูสอนจะรวมกับนักเรียนประเมินคุณภาพน้ําทีละจุด ซึ่งจะเริ่มจากตนน้ํากอน
โดยการใหนักเรียนนําบัตรภาพรูปสัตวน้ําที่พบไปติดบนกระดานตามกลุมไฟจราจร และนับจํานวนชนิด
ที่พบในแตละกลุมสัญญาณไฟ เพื่อสรุปคุณภาพน้ํา และอภิปรายถึงการเปลี่ยนแปลงของคุณภาพน้ําที่
เกิดขึ้น
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 17
อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
มนุษยสายน้ําผจญภัย
วัตถุประสงค
1. ทราบถึงผลกระทบของน้ําเสีย และสารพิษ ที่สงตอชีวิตสัตวเล็กน้ําจืดและคุณภาพน้ํา
2. ตระหนักถึงผลรายที่เกิดจากน้ําเสีย
สื่ออบรม
1. ตัวละคร
กลุม STREAM RANGER 5 คน
V 1 ชีปะขาวตัวแบน
V 2 แมลงเกาะหินจั๊กกะแรฟู
V 3 แมลงหนอนปลอกน้ําปลอกแตร
V 4 ชีปะขาวขุดรู
V 5 แมลงเกาะหินหัวปอม
กลุมน้ําขุน 3 คน ทําหนาที่จับและทําอันตราย STREAM RANGER
กลุมน้ําผงซักฟอก 5 คน ทําหนาที่จับและทําอันตราย STREAM RANGER
กลุมน้ําเสีย 10 คน ทําหนาที่จับและทําอันตราย STREAM RANGER
2. อุปกรณ
- หนากาก
วิธีการ
เลานิทาน โดยมีผูแสดงประกอบ
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 18
อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
เนื้อเรื่อง
ขบวนการมนุษยสายน้ํา “ STREAM RANGER ” ผูพิทักษสายน้ํา วันนี้เสนอตอน....กําเนิด
ผูพิทักษสายน้ํา
ณ ลําน้ําหวยผาก อันอุดมสมบูรณ มีเด็กกลุมหนึ่งกําลังสํารวจคุณภาพน้ําอยู จูจู ก็เกิด
เหตุการณมหัศจรรยขึ้น เด็กทั้ง 5 คน กลายเปน......
ตัวออนชีปะขาวตัวแบน
ตัวออนแมลงเกาะหินจั๊กกะแรฟู
ตัวออนแมลงหนอนปลอกน้ําปลอกแตร
ตัวออนชีปะขาวขุดรู
ตัวออนแมลงเกาะหินตัวปอม
เมื่อเปนดังนั้นแลว ทั้ง 5 ก็ชักชวนกัน ออก
เดินทางทองลําน้ําหวยผาก ระหวางที่กําลังสนุกกับการสํารวจสายน้ําอยูนั้น จูจู ก็ถูกน้ําพัดพาเขาไป
บริเวณรอนแร บริเวณนั้นน้ําขุนมาก ทําให ทั้ง 5 หายใจไมออก
(กลุมน้ําขุนไลจับ STREAM RANGER ทําให ทั้ง
5 หายใจไมออก)
แตทั้ง 5 ก็รอดชีวิตมาได ถึงแมวาจะ
เหนื่อยหนักจากการหายใจไมออกก็ตาม และ
หลังจากนั้น ทั้ง 5 ก็ออกเดินทางตอจนเขาสูชุมชน
จูจู ก็มีคนเทน้ําซักผาลงสูลําน้ํา น้ําผงซักฟองมี
สารพิษทําให ทั้ง 5 ตองรีบหนีไปใหพนอีกครั้ง
กอนที่จะไดรับอันตราย
(กลุมผงซักฟอก 5 คน ไลจับ STREAM RANGER)
ดวยความโชคดี ที่น้ําผงซักฟอกที่เทลงมานั้นมีปริมาณนอย ทั้ง 5 สามารถหนีพนอันตรายจากน้ํา
ผงซักฟอกได และเดินทางทองไปตามลําน้ําตอไป จนถึงเมือง...........
ในเมืองมีน้ําเสียจํานวนมาก ทั้ง 5 ตองดิ้นรนสุดชีวิต เพื่อหาหนทางมีชีวิตรอดตอไป
(กลุมน้ําเสีย 10 คน ไลจับ STREAM RANGER)
ถาม จะทําอยางไรจึงจะชวย STREAM RANGER
ตอบ เราตองชวยกันรักษาสภาพน้ําใหดี
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 19
อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
ทันใดนั้น ก็มีกลุมเพื่อนสายน้ํา เขามาชวย STREAM RANGER ใหรอดพนจากอันตราย และ
STREAM RANGER ทั้ง 5 ก็แปลงราง เปนคน ดังเดิม
ขอเท็จจริง มลพิษทางน้ําสงผลกระทบอยางตอเนื่องในการดํารงชีวิตของสัตวเล็กน้ําจืด หากมี
มลพิษเพิ่มมากขึ้นยิ่งจะทําใหสัตวเล็กน้ําจืดดํารงชีวิตดวยความยากลําบากเพิ่มมากขึ้นจน
อาจถึงขั้นไมสามารถดํารงชีวิตอยูได และหากไมชวยกันดูแลรักษาคุณภาพน้ําใหดี เรา
อาจไมมีน้ําใชในอนาคต
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 20
อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
คําสัญญาสายน้ํา
วัตถุประสงค
1. หาแนวทางในการใชน้ําอยางคุมคา
2. สรางความตระหนักเรื่องการอนุรักษน้ํา
สื่ออบรม
1. กระดาษบรูฟ
2. ปากกาสีน้ําสีตาง ๆ
3. ไปรษณียบัตร
4. ปากกา หรือ ดินสอ
5. ใบความรู เรื่อง “ความรูเบื้องตน เรื่อง
การอนุรักษน้ํา”
วิธีการ
1. ใหนักเรียนแตละกลุมคิดวิธีการใชน้ําอยางคุมคา และสามารถปฏิบัติไดดวยตนเอง พรอมทั้ง
นําเสนอ
2. ผูสอนและนักเรียนรวมกันสรุปขอมูลจากทุกกลุมใหเปนแนวทางการใชน้ําอยางคุมคา
3. ใหนักเรียนแตละคนเขียนไปรษณียบัตรถึงตนเอง หรือคนที่ตนเองรัก เพื่อขอความรวมมือให
ชวยกันใชน้ําอยางคุมคา โดยเลือกแนวทางการใชน้ําอยางคุมคา อยางนอย 3 ขอ เขียนลงบนไปรษณียบัตร
พรอมทั้งเขียน ชื่อที่อยูผูฝาก และชื่อที่อยูผูรับ ใหเรียบรอย
4. ผูสอนทําการรวบรวมไปรษณียบัตร เพื่อจัดสงไปรษณีย จากนั้นแจกใบความรูใหแกนักเรียน
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 21
อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
เกม “เพื่อนสายน้ํา”
วัตถุประสงค
1. ประเมินความรู และทัศนคติ หลังผานการอบรม
สื่ออบรม
1. แผนกระดาษเกม
2. ไมเสี่ยงแตม
3. ใบคําถาม
วิธีการ
1. เลือกตัวแทนกลุม กลุมละหนึ่งคน เปนตัวเดินใน
เกม ยืนบนกระดาษจุดเริ่มตน เลือกลําดับการเลนกอนหลัง และ
เลือกสัตวเล็กน้ําจืดกลุมละหนึ่งชนิดไมซ้ํากัน ไดแก ตัวออนแมลงชางกรามโต ตัวออนแมลงปอเสือหาง
เดียว ไสเดือนปลอกแดง ตัวออนชีปะขาวตัวแบน และ ตัวออนแมลงเกาะหินจั๊กกะแรฟู โดยตลอดการ
เลนเกมใหตัวเดินในเกมแสดงทาทางของสัตวเล็กน้ําจืดที่ไดเลือกไว
2. ตัวเดินในเกมเขยาไมเสี่ยงแตม แลวเดินบนกระดาษตามจํานวนที่ได หากเดินไปเจอ
เครื่องหมายปรัศนี จะมีคําถามใหสมาชิกในกลุมชวยกัน
ตอบ โดยคําถามจะแบงเปน 2 ชุด คือ
คําถาม ชุด A ถาตอบถูกจะไดเดินหนาอีก 1 ชอง หาก
ตอบผิดจะตองถอยหลังไป 2 ชอง
คําถาม ชุด B ถาตอบถูกจะไดเลนเกมตอ แตถาหาก
ตอบผิดจะตองหยุดเลนเกม 1 ครั้ง
3. ตัวเดินในเกมกลุมใดถึงกระดาษเสนชัยกอนจะ
เปนผูชนะ
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 22
อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
ชุดคําถาม
1. สัตวเล็กน้ําจืดที่กลุมเลือกเปนตัวเดินในเกมมีชื่อวาอะไร
กลุม ............................................................. ตัวออนแมลงชางกรามโต
กลุม ............................................................. ตัวออนแมลงปอเสือหางเดียว
กลุม ............................................................. ไสเดือนปลอกแดง
กลุม ............................................................. ตัวออนชีปะขาวตัวแบน
กลุม ............................................................. ตัวออนแมลงเกาะหินจั๊กกะแรฟู
2. บอกชื่อสัตวเล็กน้ําจืดที่สามารถพบเห็นไดงายในน้ําสกปรก มา 1 ชื่อ (หามซ้ําชื่อที่เคยตอบแลว)
ริ้นน้ําจืดแดง
ไสเดือนน้ําเสีย
ไสเดือนปลอกแดง
3. บอกชื่อสัตวเล็กน้ําจืดที่สามารถพบเห็นไดงายในน้ําคุณภาพพอใช มา 1 ชื่อ (หามซ้ําชื่อที่เคยตอบแลว)
ตัวออนแมลงปอชนิดตางๆ
กุงน้ําตก
กุงฝอย
หอยชนิดตางๆ
4. บอกชื่อสัตวเล็กน้ําจืดที่สามารถพบเห็นไดงายในน้ําสะอาด มา 1 ชื่อ (หามซ้ําชื่อที่เคยตอบแลว)
ตัวออนแมลงหนอนปลอกน้ําชนิดตางๆ
ตัวออนชีปะขาวชนิดตางๆ
ตัวออนแมลงเกาะหินชนิดตางๆ
ตัวออนแมลงชางกรามโต
คําถามตอไปนี้ใหนักเรียนตอบตามความเปนจริงที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําวัน
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 23
อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
ขอที่ คําถาม คําตอบ
5. เราลางจานครั้งละหลายใบ ใชหรือไม ใช ไมใช
6. เราเปดน้ําทิ้งไวขณะแปรงฟน ใชหรือไม ใช ไมใช
7. เราใชแกวหรือขันน้ํารองน้ําเวลาแปรงฟน ใชหรือไม ใช ไมใช
8. เรารินน้ําแตพอดื่ม ใชหรือไม ใช ไมใช
9. เรานําน้ําจากการซักผา มารดน้ําตนไม ใชหรือไม ใช ไมใช
10. เราเทน้ําที่เหลือดื่มลงบนพื้นหรืออางลางจาน ใชหรือไม ใช ไมใช
11. เราปดกอกน้ําไมเคยสนิท ใชหรือไม ใช ไมใช
12. เรามองดูเฉยๆ เมื่อเห็นเพื่อนหรือคนรูจัก ทิ้งขยะลงในแหลงน้ํา
ใชหรือไม
ใช ไมใช
13. เราปดกอกน้ําทุกครั้งเมื่อเห็นวาถูกเปดทิ้งไว ใชหรือไม ใช ไมใช
14. เราทิ้งเศษอาหาร หรือขยะอื่นๆลงในทอน้ําหรือแหลงน้ํา ใช
หรือไม
ใช ไมใช
15. เราดื่มน้ําไมหมดแกว หรือขวด ใชหรือไม ใช ไมใช
16. เราใชกะละมัง หรืออางน้ํารองน้ําลางผัก และ ผลไม ใชหรือไม ใช ไมใช
17. เราสาดน้ําดวยขันน้ํา ถังน้ํา กะละมังหรือสายยาง เวลาเลนน้ํา
สงกรานต ใชหรือไม
ใช ไมใช
18. เรามีสวนทําใหน้ําเสีย ใชหรือไม ใช ไมใช
19. เรามีสวนชวยทําใหน้ําดีขึ้นได ใชหรือไม ใช ไมใช
20. สัตวเล็กน้ําจืดที่กลุมเลือกเปนตัวเดินในเกมเมื่อโตขึ้นเปนตัวเต็มวัยจะแปลงรางเปนตัวอะไร
กลุม ............................................................. ตัวออนแมลงชางกรามโต
กลุม ............................................................. ตัวออนแมลงปอเสือหางเดียว
กลุม ............................................................. ไสเดือนปลอกแดง
กลุม ............................................................. ตัวออนชีปะขาวตัวแบน
กลุม ............................................................. ตัวออนแมลงเกาะหินจั๊กกะแรฟู
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 24
อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ความรูเบื้องตน เรื่อง น้ํา 1
ความรูเบื้องตน เรื่อง น้ํา
ที่มา : มูลนิธิโลกสีเขียว
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 25
อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ความรูเบื้องตน เรื่อง น้ํา 2
ที่มา : มูลนิธิโลกสีเขียว
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 26
อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ความรูเบื้องตน เรื่อง นิเวศวิทยาสายน้ํา 3
ความรูเบื้องตน เรื่อง นิเวศวิทยาสายน้ํา
สายน้ํา ธรรมชาติไมเคยไหลเปนเสนตรง แตจะไหลคดเคี้ยว เร็วบางชาบางไมเทากันตลอด
สาย ทําใหเกิดบริเวณน้ําตื้นและลึกคละกัน มีกอนหินและกรวดทรายขนาดตางๆ กัน ลักษณะพื้นทองน้ํา
ที่ตางกันเหลานี้เปนเสมือนหอง ตลาด และโรงเลี้ยง เด็กในเมืองใหญใตน้ํา ปลาหลายชนิดวางไขตามกอง
กรวดบริเวณแกงน้ําไหลเร็ว และหลบภัยหาอาหารบริเวณแองน้ําลึก สวนสัตวเล็ก เชน แมลงในน้ําชนิดตาง
ก็ชอบอยูในพื้นที่แตกตางกันไป
ที่มา : มูลนิธิโลกสีเขียว
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 27
อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ความรูเบื้องตน เรื่อง นิเวศวิทยาสายน้ํา 4
ที่มา : มูลนิธิโลกสีเขียว
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 28
อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ความรูเบื้องตน เรื่อง นิเวศวิทยาสายน้ํา 5
ที่มา : มูลนิธิโลกสีเขียว
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 29
อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ความรูเบื้องตน เรื่อง นิเวศวิทยาสายน้ํา 6
ที่มา : มูลนิธิโลกสีเขียว
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 30
อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ความรูเบื้องตน เรื่อง นิเวศวิทยาสายน้ํา 7
ที่มา : มูลนิธิโลกสีเขียว
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 31
อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ความรูเบื้องตน เรื่อง นิเวศวิทยาสายน้ํา 8
ที่มา : มูลนิธิโลกสีเขียว
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 32
อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ความรูเบื้องตน เรื่อง นิเวศวิทยาสายน้ํา 9
ที่มา : มูลนิธิโลกสีเขียว
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 33
อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ความรูเบื้องตน เรื่อง นิเวศวิทยาสายน้ํา 10
หวงโซอาหาร
ที่มา : มูลนิธิโลกสีเขียว
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 34
อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ความรูเบื้องตน เรื่อง นิเวศวิทยาสายน้ํา 11
ไฟจราจรน้ํา
ปญหาใหญของชีวิตในน้ํา คือ อากาศหายใจ แมวาในน้ําจะมีออกซิเจนละลายอยู แตก็นอย
กวาในอากาศหลายเทา ออกซิเจนจะถายเทเขามาไดมากขึ้นในบริเวณแกงหินกรวดที่น้ําไหลเร็วและผิวน้ํา
แตกกระเซ็น แกงหินจึงมีความสําคัญมาก เปรียบไดกับปอดของสายน้ํา
สัตวน้ําบงบอกคุณภาพน้ําได เนื่องจากสัตวสวนมากชอบอยูในน้ําสะอาด มีออกซิเจนสูง
แตหลายชนิดสามารถปรับตัวใหอยูในที่ที่มีออกซิเจนนอยได และบางชนิดก็ทนอยูไดในที่ที่เกือบไมมี
ออกซิเจนเลย ดังนั้นเมื่อเกิดมลภาวะ ทําใหออกซิเจนในน้ําลดลง สัตวที่ตองการออกซิเจนสูงจะทนอยูไมได
เหลือแตสัตวที่ทนอยูในภาวะออกซิเจนต่ําไดดีกวา เราจึงประเมินระดับมลภาวะในลําน้ําไดจากการสังเกต
ประเภทสัตวน้ํา
สัตวไฟแดง - น้ําสกปรก ไดแกกลุมของ หนอนริ้นน้ําจืด ไสเดือนน้ํา
- สัตวพวกนี้ออกจะเฉื่อย จึงไมตองการออกซิเจนมากนัก พวกมันหายใจโดยดูดซึมอากาศ
ผานผิวบาง บางชนิดมีเหงือกชวยดวย และมีสารฮีโมโกบินคลายเลือดเรา สามารถเก็บ
ออกซิเจนไวไดนานๆ พวกมันจึงทนมลภาวะไดดี
สัตวเหลือง - น้ําคุณภาพพอใชได ไดแกกลุมของ ตัวออนแมลงปอ ตัวออนแมลงปอเข็ม กุงน้ําจืด
หอยสองฝา หอยฝาเดียว
- สัตวพวกนี้หายใจดวยเหงือกและผิว ตัวออนแมลงปอจะปมน้ําผานเหงือกขางในตัว จึง
ดึงออกซิเจนในน้ํามาใชไดมากกวาสัตวไฟเขียว สวนหอยฝาเดียวหลายชนิดมีชองเก็บ
อากาศคลายปอดอยูในเปลือก สามารถลอยตัวขึ้นไปเติมอากาศจากผิวน้ําได พวกมันจึง
ทนมลภาวะไดพอสมควร
สัตวไฟเขียว - น้ําสะอาด ไดแกกลุมของ ตัวออนชีปกขาว ตัวออนแมลงเกาะหิน ตัวออนแมลงหนอน
ปลอกน้ํามีปลอก ตัวออนแมลงหนอนปลอกน้ําไมมีปลอก ตัวออนแมลงชางกรามโต
- สัตวพวกนี้ตองการออกซิเจนมาก จึงทนมลภาวะไมได พวกมันพึ่งพาอากาศที่ละลายอยู
ในน้ํา โดยหายใจผานเหงือกและผิวบาง
ที่มา : มูลนิธิโลกสีเขียว
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 35
อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ความรูเบื้องตน ของ นักสืบสายน้ํา 12
ความรูเบื้องตน ของ นักสืบสายน้ํา
คุณภาพน้ํา หมายถึง ความสะอาด ความสกปรกของน้ํา สําหรับชีวิตในน้ํา ผูตองดื่มน้ําและหายใจเอา
ออกซิเจนเชนเดียวกับชีวิตอื่นๆ คุณภาพน้ําหมายถึงทั้งคุณภาพของน้ําที่รางกายมันใช และคุณภาพของ
บรรยากาศรอบตัว ไมวาจะเปนปริมาณออกซิเจนที่ละลายอยูในน้ํา ความขุนใสของน้ํา แรธาตุและสสาร
ที่เจือปนในน้ํา ตลอดจนความเปนกรดดางของน้ํา
เราสามารถสํารวจคุณภาพน้ําอยางงายๆ ไดจาก เครื่องมือวิเศษ ของนักสืบสายน้ํา
ที่มา : มูลนิธิโลกสีเขียว
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 36
อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ความรูเบื้องตน ของ นักสืบสายน้ํา 13
สํารวจกายภาพลําน้ํา
ที่มา : มูลนิธิโลกสีเขียว
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 37
อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ความรูเบื้องตน ของ นักสืบสายน้ํา 14
ที่มา : มูลนิธิโลกสีเขียว
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 38
อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ความรูเบื้องตน ของ นักสืบสายน้ํา 15
ที่มา : มูลนิธิโลกสีเขียว
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 39
อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ความรูเบื้องตน ของ นักสืบสายน้ํา 16
นักสืบสายน้ํา
ที่มา : มูลนิธิโลกสีเขียว
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 40
อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ความรูเบื้องตน ของ นักสืบสายน้ํา 17
ที่มา : มูลนิธิโลกสีเขียว
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 41
อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ความรูเบื้องตน ของ นักสืบสายน้ํา 18
ที่มา : มูลนิธิโลกสีเขียว
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 42
อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
การสํารวจสายน้ํา 19
ที่มา : มูลนิธิโลกสีเขียว
ยาว ๑๐ เมตร
ผายางรองนั่ง นั่งได ๘ คน หรือมากกวา
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 43
อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
การสํารวจสายน้ํา 20
ที่มา : มูลนิธิโลกสีเขียว
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 44
อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
การสํารวจสายน้ํา 21
ที่มา : มูลนิธิโลกสีเขียว
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 45
อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
การสํารวจสายน้ํา 22
ที่มา : มูลนิธิโลกสีเขียว
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 46
อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
การสํารวจสายน้ํา 23
ที่มา : มูลนิธิโลกสีเขียว
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 47
อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
การสํารวจสายน้ํา 24
ที่มา : มูลนิธิโลกสีเขียว
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 48
อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
การสํารวจสายน้ํา 25
ที่มา : มูลนิธิโลกสีเขียว
เสร็จแลว อยาลืมปลอยสัตวและนํากอนหินไปคืนลํา
น้ํา คอยๆ ทําอยางเบามือ กลาวขอบคุณสัตวและ
ขอใหมันอยูอยางเปนสุข
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 49
อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ความรูเบื้องตน เรื่อง การอนุรักษน้ํา 26
ความรูเบื้องตน เรื่อง การอนุรักษน้ํา
ที่มา : กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม
- ศึกษาวาตนไมชนิดใดตองการน้ํา
มากหรือนอยเพื่อที่จะสามารถรดน้ําไดอยาง
เหมาะสม
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 50
อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
ค่ายสิ่งแวดล้อมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ำ”
ค่ายสิ่งแวดล้อมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ำ”
ค่ายสิ่งแวดล้อมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ำ”
ค่ายสิ่งแวดล้อมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ำ”
ค่ายสิ่งแวดล้อมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ำ”
ค่ายสิ่งแวดล้อมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ำ”
ค่ายสิ่งแวดล้อมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ำ”
ค่ายสิ่งแวดล้อมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ำ”
ค่ายสิ่งแวดล้อมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ำ”
ค่ายสิ่งแวดล้อมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ำ”
ค่ายสิ่งแวดล้อมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ำ”
ค่ายสิ่งแวดล้อมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ำ”
ค่ายสิ่งแวดล้อมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ำ”
ค่ายสิ่งแวดล้อมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ำ”
ค่ายสิ่งแวดล้อมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ำ”
ค่ายสิ่งแวดล้อมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ำ”
ค่ายสิ่งแวดล้อมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ำ”
ค่ายสิ่งแวดล้อมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ำ”
ค่ายสิ่งแวดล้อมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ำ”
ค่ายสิ่งแวดล้อมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ำ”

More Related Content

What's hot

การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationPat Pataranutaporn
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์Jiraporn
 
การสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสงการสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสงพัน พัน
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่Wijitta DevilTeacher
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมWichai Likitponrak
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดพัน พัน
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชาการวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชาkkrunuch
 
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อมปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อมTangkwa Pawarisa
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสงPinutchaya Nakchumroon
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59Wan Ngamwongwan
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560Thitaree Samphao
 
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีPhakawat Owat
 

What's hot (20)

ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
Science
ScienceScience
Science
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
การสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสงการสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสง
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
 
ประชากร1
ประชากร1ประชากร1
ประชากร1
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดโครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัด
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชาการวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา  คำประชา
การวิจารย์งานศิลปะและศิลปะตะวันออก ครูรัตติยา คำประชา
 
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อมปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
 
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
 

Viewers also liked

หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยน้อง มัดไหม
 
หลักสูตรแกนกลางการงานและเทคโนโลยี
หลักสูตรแกนกลางการงานและเทคโนโลยีหลักสูตรแกนกลางการงานและเทคโนโลยี
หลักสูตรแกนกลางการงานและเทคโนโลยีcomed
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางsawitreesantawee
 
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55Nun'Top Lovely LoveLove
 
1.หลักสูตรภาษาไทย
1.หลักสูตรภาษาไทย1.หลักสูตรภาษาไทย
1.หลักสูตรภาษาไทยnang_phy29
 

Viewers also liked (6)

槦+5.4
槦+5.4槦+5.4
槦+5.4
 
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
หลักสูตรแกนกลางภาษาไทย
 
หลักสูตรแกนกลางการงานและเทคโนโลยี
หลักสูตรแกนกลางการงานและเทคโนโลยีหลักสูตรแกนกลางการงานและเทคโนโลยี
หลักสูตรแกนกลางการงานและเทคโนโลยี
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
วิเคราะห์หลักสูตรไทย55
 
1.หลักสูตรภาษาไทย
1.หลักสูตรภาษาไทย1.หลักสูตรภาษาไทย
1.หลักสูตรภาษาไทย
 

More from Sompop Petkleang

คู่มือจัดการประชุมระหว่างประเทศ
คู่มือจัดการประชุมระหว่างประเทศคู่มือจัดการประชุมระหว่างประเทศ
คู่มือจัดการประชุมระหว่างประเทศSompop Petkleang
 
การจัดกิจกรรมอนุรักษ์ป่าไม้
การจัดกิจกรรมอนุรักษ์ป่าไม้การจัดกิจกรรมอนุรักษ์ป่าไม้
การจัดกิจกรรมอนุรักษ์ป่าไม้Sompop Petkleang
 
คู่มือจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ตามพระราชดำริ
คู่มือจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ตามพระราชดำริคู่มือจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ตามพระราชดำริ
คู่มือจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ตามพระราชดำริSompop Petkleang
 
ประวัติศาสตร์พม่า
ประวัติศาสตร์พม่าประวัติศาสตร์พม่า
ประวัติศาสตร์พม่าSompop Petkleang
 
คู่มือการค้าการลงทุนในพม่า
คู่มือการค้าการลงทุนในพม่าคู่มือการค้าการลงทุนในพม่า
คู่มือการค้าการลงทุนในพม่าSompop Petkleang
 
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aecคู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก AecSompop Petkleang
 
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจคู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจSompop Petkleang
 
คู่มืออบรมอาสาสมัครดับไฟป่า เรื่องความปลอดภัยในการป้องกันและควบคุมไฟป่า
คู่มืออบรมอาสาสมัครดับไฟป่า เรื่องความปลอดภัยในการป้องกันและควบคุมไฟป่าคู่มืออบรมอาสาสมัครดับไฟป่า เรื่องความปลอดภัยในการป้องกันและควบคุมไฟป่า
คู่มืออบรมอาสาสมัครดับไฟป่า เรื่องความปลอดภัยในการป้องกันและควบคุมไฟป่าSompop Petkleang
 
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสานเอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสานSompop Petkleang
 
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้Sompop Petkleang
 
การเตรียมดินส่งวิเคราะห์
การเตรียมดินส่งวิเคราะห์การเตรียมดินส่งวิเคราะห์
การเตรียมดินส่งวิเคราะห์Sompop Petkleang
 

More from Sompop Petkleang (20)

คู่มือจัดการประชุมระหว่างประเทศ
คู่มือจัดการประชุมระหว่างประเทศคู่มือจัดการประชุมระหว่างประเทศ
คู่มือจัดการประชุมระหว่างประเทศ
 
การจัดกิจกรรมอนุรักษ์ป่าไม้
การจัดกิจกรรมอนุรักษ์ป่าไม้การจัดกิจกรรมอนุรักษ์ป่าไม้
การจัดกิจกรรมอนุรักษ์ป่าไม้
 
คู่มือจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ตามพระราชดำริ
คู่มือจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ตามพระราชดำริคู่มือจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ตามพระราชดำริ
คู่มือจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ตามพระราชดำริ
 
ประวัติศาสตร์พม่า
ประวัติศาสตร์พม่าประวัติศาสตร์พม่า
ประวัติศาสตร์พม่า
 
คู่มือการค้าการลงทุนในพม่า
คู่มือการค้าการลงทุนในพม่าคู่มือการค้าการลงทุนในพม่า
คู่มือการค้าการลงทุนในพม่า
 
คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aecคู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
 
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจคู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
 
คู่มืออบรมอาสาสมัครดับไฟป่า เรื่องความปลอดภัยในการป้องกันและควบคุมไฟป่า
คู่มืออบรมอาสาสมัครดับไฟป่า เรื่องความปลอดภัยในการป้องกันและควบคุมไฟป่าคู่มืออบรมอาสาสมัครดับไฟป่า เรื่องความปลอดภัยในการป้องกันและควบคุมไฟป่า
คู่มืออบรมอาสาสมัครดับไฟป่า เรื่องความปลอดภัยในการป้องกันและควบคุมไฟป่า
 
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสานเอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
 
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
 
AEC Blue Print
AEC Blue PrintAEC Blue Print
AEC Blue Print
 
Flood r7 sainoi
Flood r7 sainoiFlood r7 sainoi
Flood r7 sainoi
 
Flood r6 bangyai
Flood r6 bangyaiFlood r6 bangyai
Flood r6 bangyai
 
Flood r5 bangkroi
Flood r5 bangkroiFlood r5 bangkroi
Flood r5 bangkroi
 
Flood r4 bangbuathong
Flood r4 bangbuathongFlood r4 bangbuathong
Flood r4 bangbuathong
 
Flood r3 paked
Flood r3 pakedFlood r3 paked
Flood r3 paked
 
Flood r2 nont
Flood r2 nontFlood r2 nont
Flood r2 nont
 
Flood r1
Flood r1Flood r1
Flood r1
 
Flood management
Flood managementFlood management
Flood management
 
การเตรียมดินส่งวิเคราะห์
การเตรียมดินส่งวิเคราะห์การเตรียมดินส่งวิเคราะห์
การเตรียมดินส่งวิเคราะห์
 

ค่ายสิ่งแวดล้อมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ำ”

  • 1. คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” โดย นายสมภพ เพ็ชรเกลี้ยง และคณะ อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี พฤศจิกายน 2548
  • 2. สารบัญ กําหนดการ 1 น้ํานั้น...สําคัญนะ 3 นิทานสายน้ํา 7 ชุมชนชาวสายน้ํา 10 นักสืบสายน้ํา 13 มนุษยสายน้ําผจญภัย 18 คําสัญญาสายน้ํา 21 เกม “เพื่อนสายน้ํา” 22 ใบความรู 25 ใบงาน 51 เอกสารอางอิง 70
  • 3. กําหนดการ วัน เวลา กิจกรรม วันแรก 08.00 น. ลงทะเบียน ละลายพฤติกรรม 08.30 น. แบงกลุมเพื่อนสายน้ํา 09.00 น. พิธีเปด/แนะนําโครงการ มอบผาพันคอ 09.30 น. อาหารวาง 09.45 น. น้ํานั้น..สําคัญนะ นิทานสายน้ํา 12.00 น. อาหารกลางวัน 13.00 น. ชุมชนชาวสายน้ํา 14.00 น. นักสืบสายน้ํา - ประเมินสายน้ําดวยประสบการณตนเอง นักสืบสายน้ํา - การสํารวจคุณภาพน้ํา 14.45 น. อาหารวาง 15.00 น. นักสืบสายน้ํา - ฝกเปนนักสืบสายน้ํา 18.00 น. อาหารเย็น 18.30 น. นักสืบสายน้ํา – เกม “แฟนพันธุแท” 19.30 น. นักสืบสายน้ํา - วางแผนการสํารวจ 20.30 น. พักผอน วันที่สอง 08.00 น. อาหารเชา 08.30 น. แนะนําวิทยากรกลุม (เพิ่มเติม) 08.45 น. สํารวจสายน้ํา 09.45 น. อาหารวาง 10.00 น. สํารวจสายน้ํา (ตอ) 12.00 น. อาหารกลางวัน 13.00 น. นําเสนอผลการสํารวจ คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 1 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
  • 4. วัน เวลา กิจกรรม สรุปผลการประเมินคุณภาพน้ําหวยผาก 14.30 น อาหารวาง 14.45 น. มนุษยสายน้ําผจญภัย คําสัญญาสายน้ํา เกม “เพื่อนสายน้ํา” 18.00 น. อาหารเย็น 19.00 น. สืบทอดเจตนา 22.00 น. พักผอน วันที่สาม 08.00 น. อาหารเชา 08.30 น. นําเสนอวิธีการใชน้ําอยางรูคุณคา 09.45 น. อาหารวาง 10.00 น. มอบประกาศนียบัตร กลาวปฏิญาณ ปลูกตนไมประจํารุน 12.00 น. อาหารกลางวัน คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 2 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
  • 5. น้ํานั้น..สําคัญนะ วัตถุประสงค 1. ทราบชนิดของน้ําประเภทตางๆ ที่มีอยูบนโลก 2. เรียงลําดับปริมาณน้ําแตละชนิดจากมากไปยังนอย 3. ทราบสถานการณน้ําในประเทศไทย 4. ตระหนักถึงความสําคัญของน้ํา สื่ออบรม 1. เยลลี่ถาดกลม 2. น้ําตาลสี ครีม และ ท็อปปงอื่นๆ 3. ธงสัญลักษณทําดวยไมจิ้มฟน 4. บัตรคําชนิดของน้ํา 5. แผนภาพ “น้ําในโลก” 6. ใบความรู เรื่อง “ความรูเบื้องตน เรื่อง น้ํา” วิธีการ 1. ขั้นนํา ผูสอนตั้งคําถามเพื่อเขาสูการอภิปรายเรื่อง แหลงน้ําของโลก ถาม นึกถึงน้ํา นึกถึงอะไร ตอบ ...... 2. ขั้นกิจกรรม 2.1 ผูสอนนําแผนภาพ “น้ําในโลก” มาใหนักเรียนพิจารณาภาพลูกโลก พรอมทั้งตั้ง คําถามเพื่อใหนักเรียนรวมกันคิดหาคําตอบ ดังนี้ ถาม เมื่อมองโลกของเรามาจากอวกาศ เราจะเห็นสีฟาปรากฏอยูเปนสวนใหญบนพื้นผิวโลก ซึ่งสีฟาที่ เราเห็นเปนสีของน้ํา นักเรียนทราบหรือไมวาบนโลกของเรานี้ประกอบดวยน้ํากี่สวน และพื้นดินกี่สวน ตอบ ปริมาณน้ําในโลกมีจํานวน 2 ใน 3 ของพื้นผิวโลก คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 3 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
  • 6. 2.2 ผูสอน นําเยลลี่ถาดกลม และน้ําตาลสี ครีม และ ท็อปปงอื่นๆ ขึ้นแสดง แลวอธิบาย เกี่ยวกับอัตราสวนปริมาณน้ําในโลกที่มีจํานวนถึง 2 ใน 3 ของพื้นผิวโลก โดยสมมติใหเยลลี่เปนพื้นที่ โลกทั้งหมด ใหนักเรียนใช น้ําตาลสี ครีม และ ท็อปปงอื่นๆ แบงพื้นที่น้ําและพื้นดินบนเยลลี่ใน อัตราสวน 2 ใน 3 พรอมทั้งปกธงสัญลักษณ “พื้นดิน” ลงบนเยลลี่ แสดงพื้นที่ที่เปนพื้นดินไว 2.3 ผูสอนตั้งคําถามเพื่อใหนักเรียนรวมกันคิดหาคําตอบจากขอมูลที่วาน้ําบนโลกมี ปริมาณถึง 2 ใน 3 นั้น ประกอบดวยน้ําประเภทใดบาง จากนั้นผูสอนอธิบายชนิดของน้ําประเภทตางๆ บนโลกดวยบัตรคํา แลวใหนักเรียนรวมกันเรียงลําดับบัตรคําชนิดของน้ําตามปริมาณของน้ําแตละชนิด โดยเรียงลําดับจากปริมาณมากที่สุดไปยังปริมาณนอยที่สุด ถาม จากขอมูลที่วาน้ําบนโลกมีปริมาณถึง 2 ใน 3 นั้น นักเรียนคิดวาเปนน้ําอะไรบาง ตอบ 1. น้ําที่มีอยูในโลก ประกอบดวย น้ําเค็มในทะเลและมหาสมุทร น้ําจืด น้ําแข็ง น้ําจืดบนผิวโลก น้ําบาดาล ละอองน้ําในบรรยากาศ 2.เรียงลําดับจาก มาก-นอย น้ําเค็ม ในทะเลและ มหาสมุทร รอยละ 97.3 น้ําจืด รอยละ 2.7 น้ําแข็ง รอยละ 2 น้ําจืดบนผิวโลก รอยละ 0.03 น้ําบาดาล รอยละ 0.6 ละอองน้ําใน บรรยากาศ รอยละ 0.001 คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 4 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
  • 7. 2.4 ผูสอนเฉลยคําตอบพรอมทั้งบอกปริมาณรอยละของน้ําแตละชนิด แลวใหนักเรียนใช น้ําตาลสี ครีม และ ท็อปปงอื่นๆ แบงสัดสวนของพื้นที่น้ํา พรอมทั้งปกธงสัญลักษณของน้ําแตละชนิดลง บนเยลลี่ หลังจากนั้นอธิบายเรื่องสถานการณน้ําจืดของโลก และของไทย ถาม น้ําที่เราดื่มและใชในชีวิตประจําวัน มาจากไหน มีปริมาณมากหรือนอย แลวนักเรียนคิดวา ปริมาณน้ําที่เราใชในชีวิตประจําวันเปนน้ําที่มีคุณภาพดี และสามารถนําใชไดอยางปลอดภัย มีเทาไร ตอบ น้ําดื่มในประเทศไทยที่เราใชบริโภคกันนั้น รอยละ 70 นํามาจากน้ําในแมน้ําลําธาร อางเก็บน้ํา และบึงน้ําจืด ซึ่งในป พ.ศ. 2540 กระทรวงสาธารณสุข พบวา แมน้ําที่มีคุณภาพเหมาะสมแกการอุปโภค บริโภคมีเพียง รอยละ 58 สวนที่เหลือรอยละ 42 มีแบคทีเรียปนเปอนมาก 2.5 ใหนักเรียนแตละกลุมวาดภาพสายน้ําตามความคิดความเขาใจ และนําเสนอผลงาน ของแตละกลุม คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 5 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
  • 8. หมายเหตุ การวาดภาพ เปนการทดสอบความรูความเขาใจเรื่องสายน้ําของผูเรียน มีคะแนนเต็ม 10 คะแนน โดยมีตัวชี้วัดในการใหคะแนน องคประกอบของภาพ ดังนี้ - ตนน้ํา 1 คะแนน - ลําน้ํา และน้ําสาขา 2 คะแนน - ปลายน้ํา 1 คะแนน - สิ่งมีชีวิตน้ํา 2 คะแนน - ชุมชน 2 คะแนน - กิจกรรมการใชน้ําของชุมชน 2 คะแนน 3. ขั้นสรุป ผูสอนไดอธิบายเรื่องแหลงน้ําของโลก สถานการณ น้ําของโลกและของโลกไทย ใหนักเรียนเขาใจดีแลว ในขั้นนี้เพื่อเปน การสรุปความรูรวบยอด จึงจัดอภิปรายระดมความคิด เรื่อง ประโยชน ของน้ําจืด ถาม เราใชน้ําทําอะไรบางในชีวิตประจําวัน ตอบ ...... จากนั้นแจกใบความรูใหแกนักเรียน คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 6 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
  • 9. นิทานสายน้ํา วัตถุประสงค 1. ทราบถึงกิจกรรมการใชน้ําที่อาจกอความขัดแยงขึ้นในชุมชน 2. หาสาเหตุของปญหา และคิดวิเคราะหหาแนวทางแกไข 3. ตระหนักถึงความสําคัญของน้ํา และการใชน้ํารวมกัน สื่ออบรม 1. ตัวละคร - เด็กชายดี ผูแสดงนําชาย - เด็กหญิงปลา ผูแสดงนําหญิง - ครอบครัวเด็กชายดี (พอ+แม) - ครอบครัวเด็กหญิงปลา (พอ+แม) - ครูใจดี 2. เสียงประกอบ (นักเรียนที่เหลือ) 3. อุปกรณประกอบฉาก - สวิงจับปลา - เรียงรอนแร วิธีการ เลานิทาน โดยมีผูแสดงประกอบ เนื้อเรื่อง ไมนานมานี้ ในหมูบานหวยผากอันอุดมสมบูรณ มีสองพี่นองซึ่งเปนครอบครัวเดียวกันอาศัยอยู อยางมีความสุข ครอบครัวดีบุก มีอาชีพทําเหมืองแรดีบุก มีลูกชายสุดหลอชื่อวา เด็กชายดี ครอบครัวนี้มีฐานะร่ํารวย จากการทําเหมืองแรดีบุก และคิดเพียงอยางเดียววา จะขุดแรใหไดมากที่สุด และจะขุด ใหรวยกวาทักษิณ??? โดยในระหวางมื้อค่ําวันหนึ่ง ในชวงฤดูฝน (มีเสียงฟารองฟาผา และฝนตก ประกอบ) พอดีบุก **เราคือ พี่บุก และนี่ ลูกชายของเรา เด็กชายดี คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 7 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
  • 10. เด็กชายดี **ผมชื่อ เด็กชายดี ครับ พอดีบุก **(คิดอยูในใจ) พรุงนี้เราจะเปดเหมืองใหมเพิ่มขึ้นอีก บนเขาลันดา ตรงนั้นมี แรมากคงทําใหเรารวยกวา ทักษิณ แนๆๆ ครอบครัวดีบุก **(ตอบในใจ) เราจะรวยกันแลว ฮิฮิ.. ครอบครัวยี่สก มีอาชีพเลี้ยงปลาในกระชัง มีลูกสาวสุดสวยชื่อวา เด็กหญิงปลา ครอบครัวนี้มีฐานะ ปานกลาง ประกอบอาชีพตามหลักเกษตรพอเพียง และยึดคติประจําใจวา ทุกสรรพสิ่ง เปนสวนหนึ่งของธรรมชาติ ตอนมีชีวิตอยูเราไดกินปลา หากเราตายไปปลาคงไดกิน เรา!!!! โดยในระหวางมื้อเชาวันหนึ่ง ในชวงฤดูฝน เชนกัน แตฝนหยุดแลว (มีเสียงนก เสียงกา รองยามเชา ประกอบ) พอยี่สก **เราคือ ยี่สก และนี่ ลูกสาวของเรา เด็กหญิงปลา เด็กหญิงปลา **หนูชื่อ เด็กหญิงปลา คะ พอยี่สก **(คิดอยูในใจ) วันนี้เราจะเพิ่มกระชังปลาอีก หวยผากของเราน้ําคุณภาพดี เรา จะมีปลากินตลอดป แนๆๆ ครอบครัวยี่สก **(ตอบในใจ) ดีจังเราจะมีปลา.....กันแลว ฮิฮิ.. ความฝนของครอบครัวดีบุก เริ่มมองเห็นความเปนจริงชัดขึ้นทุกวัน ในขณะที่ครอบครัวยี่สกไม วาจะเพิ่มกระชังหรือพันธุปลามากขึ้นเทาไหรแตกลับกลายเปนวายิ่งเปนการบั่นทอนเงินที่สะสมมาทั้ง ชีวิต นับวันครอบครัวยี่สกก็ จนลงๆ ทุกวันๆ ถึงแมวาจะขยันขันแข็งสักเทาไหรแตก็ไมทําใหประสพ ผลสําเร็จเสียที ครอบครัวยี่สกจึงไปขอความชวยเหลือจากครอบครัวดีบุก พอยี่สก **พี่บุกครับ ตอนนี้ปลาที่ผมเลี้ยงไวกําลังจะตายหมดแลวครับ ผมยังไมมีเงิน จะไปจายคาเทอมใหหญิงปลา ลูกสาวของเลยผมครับ **หากผมจะขอยืมเงินพี่ จะไดไหมครับ พอดีบุก **คงไมไดหรอกนะ..เพราะครอบครัวของเอ็งไมขยันทํางานทํามาหากิน เอาแต เก็บผักหาปลาไปวันๆๆ และที่สําคัญไมเคยมาชวยพี่ทําเหมืองของตระกูลเลย เอ็งก็ตองอยูอยาง อดๆ อยากๆ ตอไป เด็กหญิงปลา **ฮะ!!!! เด็กชายดี **ฮะ!!!! เด็กชายดี กับ เด็กหญิงปลา เห็นครอบครัวทั้ง 2 ตองมาทะเลาะกัน จึงทนนิ่งอยูไมได ก็เลยชวน กันไป เพื่อจะสืบใหไดวามันเกิดอะไรขึ้นกันแน และแลวทั้ง 2 ก็นึกขึ้นไดวานาจะไปปรึกษา ครูใจดี ครูใจดี **ดิฉัน ชื่อ ครูใจดี นามสกุล ดีใจ คะ คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 8 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
  • 11. เด็กชายดี **ครูครับ ผมจะทําอยางไรดีครับ พอของผมกับพอของเด็กหญิงปลา ทะเลาะ กันใหญเลยครับ ครูใจดี **เรื่องมันเปนอยางไร ไหนเลาใหครูฟงซิ เด็กหญิงปลา **เรื่องมันเปนอยางนี้คะ.......................................... ครูใจดี **เฮอ เรื่องมันเปนอยางนี้ นี่เอง **พอดีบุก ทําเหมืองแรบนเขาลันดา สวนพอยี่สกเลี้ยงปลาในหวยผา หรือวา!!!! **.................................... **อาจเปนไปไดวา มีใครสักคนทําใหเกิดน้ําเสียที่ตนน้ํา และน้ํานั้นก็ไหลลงสู หวยผากจนทําใหปลาของพอยี่สก ตายในที่สุด เด็กชายดี กับ เด็กหญิงปลา ตัดสินใจออกสืบเสาะ หาคําตอบใหรูใหไดวาเหตุใดปลาที่เลี้ยงไวถึง ตายไปเปนจํานวนมากขนาดนี้ แตเด็กทั้งสองคนหาคําตอบไดไมนานเทาไหร และแลววันหนึ่ง เรื่องรายๆๆ ก็........... ขอเท็จจริง การทําเหมืองแรบนภูเขา ทําใหเกิดการชะลางหนาดิน และ ตะกอนเหมืองจํานวนมาก ไหลลงสูลําธารตางๆ อีกทั้งเปนชวงฤดูฝนมีน้ํามาก ทําใหเกิดการชะลางตะกอนเหมือง มากเปนเทาทวีคูณ สารพิษที่มาจากเหมืองแร และตะกอนในน้ํานี้เอง ที่เปนสาเหตุหลัก ทําใหปลาตาย คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 9 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
  • 12. ชุมชนชาวสายน้ํา วัตถุประสงค 1. ทราบชนิดของสัตวเล็กน้ําจืดที่เปนตัวบงชี้คุณภาพน้ํา 2. เขาใจหลักการใชสัตวเล็กน้ําจืดเปนตัวบงชี้คุณภาพน้ํา และความสัมพันธทางนิเวศวิทยาของ สายน้ํา 3. ตระหนักถึงความสําคัญของนิเวศวิทยาสายน้ํา สื่ออบรม 1. บลูแทก หรือกระดาษกาว 2. ภาพตัดขวางแหลงน้ํา 3. บัตรภาพสัตวเล็กน้ําจืด 4. แผนภาพ “โลกใตสายน้ํา” 5. แผนภาพสัญญาณไฟ 6. ปายชื่อนักเรียน ที่มีภาพสัตวเล็กน้ําจืดพรอมชื่อสัตว 7. ดินสอ หรือ ปากกา 8. ใบงาน “ทายซิใครเอย” 9. ใบงาน “สัตวเล็กน้ําจืด” 10. ใบความรู เรื่อง “ความรูเบื้องตน เรื่อง นิเวศวิทยาสายน้ํา” วิธีการ 1. ขั้นนํา ผูสอนนําเลนเกมทายซิใครเอย ซึ่งจะแจกใบงาน “ทายซิใครเอย” ใหนักเรียนแตละคน จากนั้นใหนักเรียนทําความรูจักกับเพื่อนที่เขารวมอบรม โดยสอบถามทั้งชื่อเพื่อน และชื่อสัตวเล็กน้ําจืด ที่อยูบนปายชื่อของเพื่อน บันทึกลงในใบงานโดยใหทําความรูจักกับเพื่อนใหไดมากที่สุดภายในเวลาที่ กําหนด หลังจากนั้น ผูสอนทําการตรวจสอบความถูกตอง (อาจมีรางวัลใหแกนักเรียนที่ทําความรูจัก กับเพื่อนไดถูกตองมากที่สุด และจําเพื่อนคนนั้นๆ ได) คําสั่ง 1) ใหแตละคนสอบถามชื่อเพื่อน และชื่อสัตวเล็กน้ําจืดที่อยูบนปายชื่อของเพื่อน แลวบันทึกลง ในใบงาน ใหไดมากที่สุด ภายในเวลา 15 นาที 2) ทําการตรวจสอบความถูกตอง และมอบรางวัล คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 10 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
  • 13. 2. ขั้นกิจกรรม 2.1 ผูสอนแจกบัตรภาพสัตวเล็กน้ําจืดใหแกนักเรียนแตละคน เพื่อศึกษาชื่อสัตว ลักษณะรูปราง และรูปแบบการดํารงชีวิต จากนั้นนําบัตรภาพสัตวเล็กน้ําจืด ไปติดลงบนภาพตัดขวาง สายน้ําหนาชั้นเรียน ในตําแหนงที่คิดวานาจะเปนที่อยู อาศัยของสัตวชนิดนั้นๆดวยบลูแทกหรือกระดาษกาว คําสั่ง 1) ใหแตละคนศึกษาชื่อสัตว ลักษณะรูปราง และรูปแบบการดํารงชีวิต จากบัตรภาพสัตวเล็กน้ําจืดที่ แจกให 2) ใหแตละคนนําบัตรภาพสัตวเล็กน้ําจืดไป ติดลงบนภาพตัดขวางสายน้ําหนาชั้นเรียน ในตําแหนง ที่คิดวานาจะเปนที่อยูอาศัยของสัตวชนิดนั้นๆ 2.2 ผูสอนอธิบายเรื่อง นิเวศวิทยา สายน้ํา ดวยแผนภาพ “โลกใตสายน้ํา” จากนั้นอธิบาย ถึงความสัมพันธระหวางการดํารงชีวิตสัตวเล็กน้ําจืด กับคุณภาพน้ํา โดยเนนจัดกลุมระบบการหายใจและการใชออกซิเจนของสัตวเล็กน้ําจืดแตละชนิด ซึ่งจะ เปนตัวบงบอกคุณภาพน้ําดวยแผนภาพสัญญาณไฟจราจรน้ํา จากนั้นแนะนําใหนักเรียนรูจักกับสัตวเล็ก น้ําจืดที่เปนตัวบงชี้ของแตละกลุมไฟจราจรน้ํา โดยแจกใบงาน “สัตวเล็กน้ําจืด” ใหนักเรียนบันทึกขอมูล สําคัญ คําอธิบาย สัตวไฟแดง - น้ําสกปรก ไดแกกลุมของหนอนริ้นน้ําจืด ไสเดือนน้ํา สัตวพวกนี้ออกจะเฉื่อย จึงไมตองการออกซิเจนมากนัก พวกมันหายใจ โดยดูดซึมอากาศผานผิวบาง บางชนิดมีเหงือกชวยดวย และมีสารฮีโมโกบินคลาย เลือดเรา สามารถเก็บออกซิเจนไวไดนานๆ พวกมันจึงทนมลภาวะไดดี สัตวไฟเหลือง - น้ําคุณภาพพอใชได ไดแกกลุมของตัวออนแมลงปอ ตัวออน แมลงปอเข็ม กุงน้ําจืด หอยสองฝา หอยฝาเดียว สัตวพวกนี้หายใจดวยเหงือกและผิว ตัวออนแมลงปอจะปมน้ําผาน เหงือกขางในตัว จึงดึงออกซิเจนในน้ํามาใชไดมากกวาสัตวไฟเขียว สวนหอยฝา เดียวหลายชนิดมีชองเก็บอากาศคลายปอดอยูในเปลือก สามารถลอยตัวขึ้นไปเติม อากาศจากผิวน้ําได พวกมันจึงทนมลภาวะไดพอสมควร คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 11 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
  • 14. สัตวไฟเขียว-น้ําสะอาด ไดแกกลุมของตัวออนชีปกขาว ตัวออนแมลงเกาะหิน ตัวออน แมลงหนอนปลอกน้ํามีปลอก ตัวออนแมลงหนอนปลอกน้ําไมมีปลอก ตัวออนแมลงชางกรามโต สัตวพวกนี้ตองการออกซิเจนมาก จึงทนมลภาวะไมได พวกมันพึ่งพาอากาศที่ละลายอยู ในน้ํา โดยหายใจผานเหงือกและผิวบาง 3. ขั้นสรุป ผูสอนอธิบายสรุปเกี่ยวกับสัตวเล็กน้ําจืดกับคุณภาพน้ําโดยพยายามเชื่อมโยงไปยังหวงโซ อาหารและสายใยอาหาร ดวยแผนภาพ “โลกใตสายน้ํา” แลวแจกใบความรูใหแกนักเรียน คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 12 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
  • 15. นักสืบสายน้ํา วัตถุประสงค 1. ทราบและเขาใจเกี่ยวกับวิธีการสํารวจคุณภาพน้ํา 2. ทราบวิธีการและสามารถใชอุปกรณชุดนักสืบสายน้ํา 3. ทดลองและฝกการสํารวจคุณภาพน้ําโดยวิธีการนักสืบสายน้ํา 4. เขาใจและสามารถวางแผนสํารวจสายน้ําได สื่ออบรม 1. ชุดอุปกรณนักสืบสายน้ํา 2. แผนภาพ “สายน้ําหวยผาก” 3. กระดาษบรูฟ 4. ปากกาสีน้ําสีตาง ๆ 5. แบบบันทึกการประเมินคุณภาพน้ําดวยประสบการณสวนตัว 6. แบบบันทึกการสํารวจสายน้ํา 7. ใบความรู เรื่อง “ ความรูเบื้องตน ของนักสืบสายน้ํา” 8. ใบความรู เรื่อง “การสํารวจสายน้ํา” วิธีการ 1. ขั้นนํา ผูสอนอธิบายเปรียบเทียบวารางกายมนุษยเหมือนกับโลกของเรา โดยมีสายน้ําตาง ๆ เปน เหมือนกับเสนเลือดของมนุษยนั่นเอง หมอตรวจวัดชีพจร ความดัน อุณหภูมิของรางกายเรา เมื่อเราไม สบาย เพื่อใหทราบวาเรามีความผิดปกติหรือไม เชนเดียวกับโลกของเราหากเราตองการรูวาโลกเรามี ปญหาหรือไมสบายก็ตองมีการตรวจ โดยพวกเราทุกคนคือ “คุณหมอ” ที่มีหนาที่ในการตรวจคนไขที่ชื่อ วา“โลก”เพราะฉะนั้น“การตรวจคุณภาพน้ําก็เปรียบไดกับการตรวจชีพจรแผนดิน” 2. ขั้นกิจกรรม 2.1 ประเมินสายน้ําดวยประสบการณตนเอง ผูสอนแจก แบบบันทึกการประเมินคุณภาพน้ําดวยประสบการณสวนตัวให นักเรียนคนละ 1 แผน พรอมดินสอหรือปากกาคนละ 1 ดาม แลวใหนักเรียนนั่งเงียบ ๆ ริมลําน้ําพรอมกับ หลับตา เปดรับการสัมผัสตาง (ฟงเสียง สัมผัสน้ํา อากาศ) หลังจากนั้นใหลืมตาแลวใหวาดรูปสายน้ําที่เห็น ลงบนแบบบันทึกที่แจกให พรอมทั้งเขียนรายละเอียดอธิบายภาพวาดจากการที่ไดสัมผัสทั้งขณะลืมตา คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 13 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
  • 16. และหลับตา และใหประเมินวาลําน้ํามีคุณภาพเปนอยางไร นั่นคือการประเมินคุณภาพน้ําดวย ประสบการณตนเอง หลังจากนั้นใหตัวแทนนําเสนอ กลุมละ 1 คน 2.2 การสํารวจคุณภาพน้ํา 2.2.1 ผูสอนแจกกระดาษบรูฟ และปากกาสีน้ํา กลุมละ1ชุดใหรวมกันวาดรูปคนขึ้นมา หนึ่งรูปใชเปนตัวแทนนักสืบสายน้ํา ใหแตละกลุมระดม ความคิด เชื่อมโยงสวนตางๆ ของรางกายที่เปนประโยชน และสามารถใชในการสํารวจน้ําไดอยางไรบาง จากนั้น ใหแตละกลุมสงตัวแทนออกมานําเสนอ คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 14 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
  • 17. 2.2.2 ผูสอนสรุปความรูทั่วไปเกี่ยวกับการสํารวจคุณภาพน้ํา 3 วิธี -วิธีทางกายภาพ ไดแก สี ความขุนใส อุณหภูมิ กลิ่น -วิธีทางชีวภาพ/นักสืบสายน้ํา เชน ดูปลา พืช แมลงและสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ -วิธีทางเคมี เชนความเปนกรดเบสแรธาตุ สารเคมี ปริมาณออกซิเจนเปนตน จากนั้นแจกใบความรูเรื่อง“ ความรูเบื้องตน ของนักสืบสายน้ํา” 2.3 ฝกเปนนักสืบสายน้ํา 2.3.1 ผูสอนแนะนําอุปกรณชุดนักสืบสายน้ํา และวิธีการใชอุปกรณแตละชนิด โดยตั้งคําถามใหนักเรียนรวมกันคิดวา“อุปกรณแตละชนิดใชอยางไร” เลือกตัวแทนออกมาแลวใหแสดง วิธีการใชอุปกรณแตละชนิด โดยใชเวลาพอประมาณ หลังจากนั้นผูสอนสรุปการใชอุปกรณแตละชนิด ใหแกเด็กนักเรียน 2.3.2 ผูสอนแจกอุปกรณ ใบความรู เรื่อง “การ สํารวจสายน้ํา” และแบบ บันทึกการสํารวจสายน้ํา ใหนักเรียนกลุมละ 1 ชุด พรอมกับใหนักเรียน ทดลองฝกใชอุปกรณใน การสํารวจสายน้ําทาง ชีวภาพ และบันทึกวาได พบสิ่งมีชีวิตอะไรบางใน การฝกปฏิบัติ ใชเวลาไม เกิน 1 ชั่วโมง 2.3.3 ผูสอนแสดง แผนภาพ อธิบายสรุปให นักเรียนทราบวาสิ่งมีชีวิต ในน้ําแตละชนิดมีการ ดํารงชีวิตตางกัน ทําใหมี ถิ่นที่อยูอาศัยตางกันดวย คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 15 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
  • 18. 2.4 เกม “แฟนพันธุแท” ผูสอนทบทวนเรื่องสัตวเล็กน้ําจืดที่ พบ โดยใชเกม “แฟนพันธุแท” (เปดภาพบางสวน เพื่อทาย ชนิดสัตวในภาพ และ 5 คําใบ ชื่อชนิดสัตว สําหรับใหผูเลน แสดงทาทางตามคําใบ เพื่อใหสมาชิกในกลุมทายวาคืออะไร) 2.5 วางแผนการสํารวจ 2.5.1 การวางแผนสํารวจสายน้ํา ผูสอนตั้งคําถามวาใหทุกคนคิดวา“เราควรสํารวจสายน้ํากันบริเวณไหนบางกี่จุด” เพื่อใหนักเรียนแสดง ความคิดเห็น ถาม เราควรสํารวจสายน้ําบริเวณไหนบาง และกี่จุดจึงจะดีที่สุด ตอบ .................................... 2.5.2 ผูสอนนําแผนภาพสายน้ํา แสดงใหนักเรียนพิจารณา พรอมทั้งแจกกระดาษ รูปภาพสายน้ําใหแกทุกคนและใหแตละคนทดลองกําหนดจุดสํารวจลงบนกระดาษที่ใหไปพรอมทั้ง อธิบายการกําหนดจุดสํารวจของตนเองลงในกระดาษตามความเขาใจ ผูสอนสุมหาตัวแทนอธิบายการ กําหนดจุดสํารวจ 2.5.3 ผูสอนสรุปและทําความเขาใจกับนักเรียนอีกครั้งเกี่ยวกับการตั้งสมมติฐาน และการกําหนดจุดสํารวจ เพื่อเปนพื้นฐานในการสํารวจในวันตอไป โดยชี้แจงวากอนการสํารวจใด ๆ ตองมีการกําหนดวัตถุประสงคใหชัดเจน เพื่อกําหนดจุดสํารวจและวิธีการสํารวจที่เหมาะสมกับ วัตถุประสงคที่ตั้งไว และไดขอมูลที่นําไปตอบคําถามไดจริง ซึ่งวัตถุประสงคหลักของการสํารวจมี 2 วัตถุประสงค คือ - เพื่อตรวจสอบบริเวณที่สรางมลภาวะ ตองวางจุดสํารวจอยางนอย 2 จุด บน และลางแหลงสรางมลภาวะ มีลักษณะกายภาพลําน้ําคลายคลึงกัน เพื่อเปรียบเทียบขอมูลได - เพื่อเปนสถานีตรวจวัดการเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาล มักวางจุดเดียว แลว กําหนดชวงเวลาในการสํารวจอยางตอเนื่องและเปนประจํา แลวนําขอมูลมาเปรียบเทียบกัน ขอควรปฏิบัติ - การสํารวจในแตละครั้ง/แตละจุดตองใชเครื่องมือและวิธีการสํารวจแบบเดียวกัน - จุดสํารวจ ตองหางจากทางรวมหรือทางแยก ไมนอยกวา 20 เมตร - แตละจุดสํารวจที่กําหนดตองเก็บตัวอยาง 10 ตัวอยาง เพื่อเปนตัวแทนของประชากร คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 16 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
  • 19. 2.5.4 สรุปหลักการสํารวจ และเปดเวทีใหนักเรียนซักถามปญหา ผูสอนตั้ง คําถามเพื่อใหนักเรียนรวมกันคิดหาคําตอบ และนอกจากนี้ผูสอนอธิบายสรุปเกี่ยวกับขอดี ขอดอยของการ สํารวจคุณภาพน้ําวิธีการตางๆโดยใหนักเรียนรวมกันคิด ถาม - ทําไมเราตองสํารวจคุณภาพน้ํา - วิธีการสํารวจคุณภาพน้ํามีกี่วิธี - ควรตั้งสมมติฐานกอนการสํารวจคุณภาพน้ําหรือไม หากควรจะกําหนดบริเวณไหนบาง อยางไร ตอบ -............................ -3วิธี -............................. วิธีการตรวจคุณภาพน้ํา ขอดี ขอจํากัด 1. ทางกายภาพ -ไมตองใชอุปกรณ -สํารวจไดทุกเวลา -ใหขอสังเกตไดดี -ไมไดมาตรฐาน -พื้นฐานประสบการณตางกัน -ไมแมนยํา/ขอมูลคราวๆ 2. ทางชีวภาพ /นักสืบสายน้ํา -ราคาถูก -ตรวจสอบไดแมมลภาวะผาน ไปแลว -เชื่อมโยงกับชุมชนไดงาย -ตรวจมลภาวะจากสารอนินทรียไมได ชัดเจน -ตรวจไดแตน้ําไหล -พึ่งความรูทางอนุกรมวิธาน และ ชีววิทยา 3. ทางเคมี -ตรวจมลภาวะไดทุกประเภท -ตรวจแหลงน้ําไดทุกประเภท -ใหคุณคามาตรฐาน -ราคาแพง -ตรวจไดเฉพาะขณะเกิดมลภาวะ -เชื่อมโยงกับชุมชนไดยาก หมายเหตุ หากตองการความถูกตองในการตรวจสอบคุณภาพน้ําควรจะใชการตรวจสอบทั้ง 3 วิธี รวมกัน รวมทั้งตองทําการตรวจสอบอยางตอเนื่องและเปนประจํา 3. ขั้นสรุป การสรุปและประเมินคุณภาพน้ํา จะใชหลักของนักสืบสายน้ํา โดยการมีสวนรวมของ ทุกกลุม เพื่อหาคาเฉลี่ย โดยหลังจากที่นักเรียนไดทําการสํารวจคุณภาพน้ําทั้ง 2 จุด และบันทึกขอมูลลง ในใบงานเรียบรอยแลว ผูสอนจะรวมกับนักเรียนประเมินคุณภาพน้ําทีละจุด ซึ่งจะเริ่มจากตนน้ํากอน โดยการใหนักเรียนนําบัตรภาพรูปสัตวน้ําที่พบไปติดบนกระดานตามกลุมไฟจราจร และนับจํานวนชนิด ที่พบในแตละกลุมสัญญาณไฟ เพื่อสรุปคุณภาพน้ํา และอภิปรายถึงการเปลี่ยนแปลงของคุณภาพน้ําที่ เกิดขึ้น คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 17 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
  • 20. มนุษยสายน้ําผจญภัย วัตถุประสงค 1. ทราบถึงผลกระทบของน้ําเสีย และสารพิษ ที่สงตอชีวิตสัตวเล็กน้ําจืดและคุณภาพน้ํา 2. ตระหนักถึงผลรายที่เกิดจากน้ําเสีย สื่ออบรม 1. ตัวละคร กลุม STREAM RANGER 5 คน V 1 ชีปะขาวตัวแบน V 2 แมลงเกาะหินจั๊กกะแรฟู V 3 แมลงหนอนปลอกน้ําปลอกแตร V 4 ชีปะขาวขุดรู V 5 แมลงเกาะหินหัวปอม กลุมน้ําขุน 3 คน ทําหนาที่จับและทําอันตราย STREAM RANGER กลุมน้ําผงซักฟอก 5 คน ทําหนาที่จับและทําอันตราย STREAM RANGER กลุมน้ําเสีย 10 คน ทําหนาที่จับและทําอันตราย STREAM RANGER 2. อุปกรณ - หนากาก วิธีการ เลานิทาน โดยมีผูแสดงประกอบ คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 18 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
  • 21. เนื้อเรื่อง ขบวนการมนุษยสายน้ํา “ STREAM RANGER ” ผูพิทักษสายน้ํา วันนี้เสนอตอน....กําเนิด ผูพิทักษสายน้ํา ณ ลําน้ําหวยผาก อันอุดมสมบูรณ มีเด็กกลุมหนึ่งกําลังสํารวจคุณภาพน้ําอยู จูจู ก็เกิด เหตุการณมหัศจรรยขึ้น เด็กทั้ง 5 คน กลายเปน...... ตัวออนชีปะขาวตัวแบน ตัวออนแมลงเกาะหินจั๊กกะแรฟู ตัวออนแมลงหนอนปลอกน้ําปลอกแตร ตัวออนชีปะขาวขุดรู ตัวออนแมลงเกาะหินตัวปอม เมื่อเปนดังนั้นแลว ทั้ง 5 ก็ชักชวนกัน ออก เดินทางทองลําน้ําหวยผาก ระหวางที่กําลังสนุกกับการสํารวจสายน้ําอยูนั้น จูจู ก็ถูกน้ําพัดพาเขาไป บริเวณรอนแร บริเวณนั้นน้ําขุนมาก ทําให ทั้ง 5 หายใจไมออก (กลุมน้ําขุนไลจับ STREAM RANGER ทําให ทั้ง 5 หายใจไมออก) แตทั้ง 5 ก็รอดชีวิตมาได ถึงแมวาจะ เหนื่อยหนักจากการหายใจไมออกก็ตาม และ หลังจากนั้น ทั้ง 5 ก็ออกเดินทางตอจนเขาสูชุมชน จูจู ก็มีคนเทน้ําซักผาลงสูลําน้ํา น้ําผงซักฟองมี สารพิษทําให ทั้ง 5 ตองรีบหนีไปใหพนอีกครั้ง กอนที่จะไดรับอันตราย (กลุมผงซักฟอก 5 คน ไลจับ STREAM RANGER) ดวยความโชคดี ที่น้ําผงซักฟอกที่เทลงมานั้นมีปริมาณนอย ทั้ง 5 สามารถหนีพนอันตรายจากน้ํา ผงซักฟอกได และเดินทางทองไปตามลําน้ําตอไป จนถึงเมือง........... ในเมืองมีน้ําเสียจํานวนมาก ทั้ง 5 ตองดิ้นรนสุดชีวิต เพื่อหาหนทางมีชีวิตรอดตอไป (กลุมน้ําเสีย 10 คน ไลจับ STREAM RANGER) ถาม จะทําอยางไรจึงจะชวย STREAM RANGER ตอบ เราตองชวยกันรักษาสภาพน้ําใหดี คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 19 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
  • 22. ทันใดนั้น ก็มีกลุมเพื่อนสายน้ํา เขามาชวย STREAM RANGER ใหรอดพนจากอันตราย และ STREAM RANGER ทั้ง 5 ก็แปลงราง เปนคน ดังเดิม ขอเท็จจริง มลพิษทางน้ําสงผลกระทบอยางตอเนื่องในการดํารงชีวิตของสัตวเล็กน้ําจืด หากมี มลพิษเพิ่มมากขึ้นยิ่งจะทําใหสัตวเล็กน้ําจืดดํารงชีวิตดวยความยากลําบากเพิ่มมากขึ้นจน อาจถึงขั้นไมสามารถดํารงชีวิตอยูได และหากไมชวยกันดูแลรักษาคุณภาพน้ําใหดี เรา อาจไมมีน้ําใชในอนาคต คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 20 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
  • 23. คําสัญญาสายน้ํา วัตถุประสงค 1. หาแนวทางในการใชน้ําอยางคุมคา 2. สรางความตระหนักเรื่องการอนุรักษน้ํา สื่ออบรม 1. กระดาษบรูฟ 2. ปากกาสีน้ําสีตาง ๆ 3. ไปรษณียบัตร 4. ปากกา หรือ ดินสอ 5. ใบความรู เรื่อง “ความรูเบื้องตน เรื่อง การอนุรักษน้ํา” วิธีการ 1. ใหนักเรียนแตละกลุมคิดวิธีการใชน้ําอยางคุมคา และสามารถปฏิบัติไดดวยตนเอง พรอมทั้ง นําเสนอ 2. ผูสอนและนักเรียนรวมกันสรุปขอมูลจากทุกกลุมใหเปนแนวทางการใชน้ําอยางคุมคา 3. ใหนักเรียนแตละคนเขียนไปรษณียบัตรถึงตนเอง หรือคนที่ตนเองรัก เพื่อขอความรวมมือให ชวยกันใชน้ําอยางคุมคา โดยเลือกแนวทางการใชน้ําอยางคุมคา อยางนอย 3 ขอ เขียนลงบนไปรษณียบัตร พรอมทั้งเขียน ชื่อที่อยูผูฝาก และชื่อที่อยูผูรับ ใหเรียบรอย 4. ผูสอนทําการรวบรวมไปรษณียบัตร เพื่อจัดสงไปรษณีย จากนั้นแจกใบความรูใหแกนักเรียน คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 21 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
  • 24. เกม “เพื่อนสายน้ํา” วัตถุประสงค 1. ประเมินความรู และทัศนคติ หลังผานการอบรม สื่ออบรม 1. แผนกระดาษเกม 2. ไมเสี่ยงแตม 3. ใบคําถาม วิธีการ 1. เลือกตัวแทนกลุม กลุมละหนึ่งคน เปนตัวเดินใน เกม ยืนบนกระดาษจุดเริ่มตน เลือกลําดับการเลนกอนหลัง และ เลือกสัตวเล็กน้ําจืดกลุมละหนึ่งชนิดไมซ้ํากัน ไดแก ตัวออนแมลงชางกรามโต ตัวออนแมลงปอเสือหาง เดียว ไสเดือนปลอกแดง ตัวออนชีปะขาวตัวแบน และ ตัวออนแมลงเกาะหินจั๊กกะแรฟู โดยตลอดการ เลนเกมใหตัวเดินในเกมแสดงทาทางของสัตวเล็กน้ําจืดที่ไดเลือกไว 2. ตัวเดินในเกมเขยาไมเสี่ยงแตม แลวเดินบนกระดาษตามจํานวนที่ได หากเดินไปเจอ เครื่องหมายปรัศนี จะมีคําถามใหสมาชิกในกลุมชวยกัน ตอบ โดยคําถามจะแบงเปน 2 ชุด คือ คําถาม ชุด A ถาตอบถูกจะไดเดินหนาอีก 1 ชอง หาก ตอบผิดจะตองถอยหลังไป 2 ชอง คําถาม ชุด B ถาตอบถูกจะไดเลนเกมตอ แตถาหาก ตอบผิดจะตองหยุดเลนเกม 1 ครั้ง 3. ตัวเดินในเกมกลุมใดถึงกระดาษเสนชัยกอนจะ เปนผูชนะ คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 22 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
  • 25. ชุดคําถาม 1. สัตวเล็กน้ําจืดที่กลุมเลือกเปนตัวเดินในเกมมีชื่อวาอะไร กลุม ............................................................. ตัวออนแมลงชางกรามโต กลุม ............................................................. ตัวออนแมลงปอเสือหางเดียว กลุม ............................................................. ไสเดือนปลอกแดง กลุม ............................................................. ตัวออนชีปะขาวตัวแบน กลุม ............................................................. ตัวออนแมลงเกาะหินจั๊กกะแรฟู 2. บอกชื่อสัตวเล็กน้ําจืดที่สามารถพบเห็นไดงายในน้ําสกปรก มา 1 ชื่อ (หามซ้ําชื่อที่เคยตอบแลว) ริ้นน้ําจืดแดง ไสเดือนน้ําเสีย ไสเดือนปลอกแดง 3. บอกชื่อสัตวเล็กน้ําจืดที่สามารถพบเห็นไดงายในน้ําคุณภาพพอใช มา 1 ชื่อ (หามซ้ําชื่อที่เคยตอบแลว) ตัวออนแมลงปอชนิดตางๆ กุงน้ําตก กุงฝอย หอยชนิดตางๆ 4. บอกชื่อสัตวเล็กน้ําจืดที่สามารถพบเห็นไดงายในน้ําสะอาด มา 1 ชื่อ (หามซ้ําชื่อที่เคยตอบแลว) ตัวออนแมลงหนอนปลอกน้ําชนิดตางๆ ตัวออนชีปะขาวชนิดตางๆ ตัวออนแมลงเกาะหินชนิดตางๆ ตัวออนแมลงชางกรามโต คําถามตอไปนี้ใหนักเรียนตอบตามความเปนจริงที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําวัน คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 23 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
  • 26. ขอที่ คําถาม คําตอบ 5. เราลางจานครั้งละหลายใบ ใชหรือไม ใช ไมใช 6. เราเปดน้ําทิ้งไวขณะแปรงฟน ใชหรือไม ใช ไมใช 7. เราใชแกวหรือขันน้ํารองน้ําเวลาแปรงฟน ใชหรือไม ใช ไมใช 8. เรารินน้ําแตพอดื่ม ใชหรือไม ใช ไมใช 9. เรานําน้ําจากการซักผา มารดน้ําตนไม ใชหรือไม ใช ไมใช 10. เราเทน้ําที่เหลือดื่มลงบนพื้นหรืออางลางจาน ใชหรือไม ใช ไมใช 11. เราปดกอกน้ําไมเคยสนิท ใชหรือไม ใช ไมใช 12. เรามองดูเฉยๆ เมื่อเห็นเพื่อนหรือคนรูจัก ทิ้งขยะลงในแหลงน้ํา ใชหรือไม ใช ไมใช 13. เราปดกอกน้ําทุกครั้งเมื่อเห็นวาถูกเปดทิ้งไว ใชหรือไม ใช ไมใช 14. เราทิ้งเศษอาหาร หรือขยะอื่นๆลงในทอน้ําหรือแหลงน้ํา ใช หรือไม ใช ไมใช 15. เราดื่มน้ําไมหมดแกว หรือขวด ใชหรือไม ใช ไมใช 16. เราใชกะละมัง หรืออางน้ํารองน้ําลางผัก และ ผลไม ใชหรือไม ใช ไมใช 17. เราสาดน้ําดวยขันน้ํา ถังน้ํา กะละมังหรือสายยาง เวลาเลนน้ํา สงกรานต ใชหรือไม ใช ไมใช 18. เรามีสวนทําใหน้ําเสีย ใชหรือไม ใช ไมใช 19. เรามีสวนชวยทําใหน้ําดีขึ้นได ใชหรือไม ใช ไมใช 20. สัตวเล็กน้ําจืดที่กลุมเลือกเปนตัวเดินในเกมเมื่อโตขึ้นเปนตัวเต็มวัยจะแปลงรางเปนตัวอะไร กลุม ............................................................. ตัวออนแมลงชางกรามโต กลุม ............................................................. ตัวออนแมลงปอเสือหางเดียว กลุม ............................................................. ไสเดือนปลอกแดง กลุม ............................................................. ตัวออนชีปะขาวตัวแบน กลุม ............................................................. ตัวออนแมลงเกาะหินจั๊กกะแรฟู คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 24 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
  • 27. ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ความรูเบื้องตน เรื่อง น้ํา 1 ความรูเบื้องตน เรื่อง น้ํา ที่มา : มูลนิธิโลกสีเขียว คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 25 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
  • 28. ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ความรูเบื้องตน เรื่อง น้ํา 2 ที่มา : มูลนิธิโลกสีเขียว คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 26 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
  • 29. ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ความรูเบื้องตน เรื่อง นิเวศวิทยาสายน้ํา 3 ความรูเบื้องตน เรื่อง นิเวศวิทยาสายน้ํา สายน้ํา ธรรมชาติไมเคยไหลเปนเสนตรง แตจะไหลคดเคี้ยว เร็วบางชาบางไมเทากันตลอด สาย ทําใหเกิดบริเวณน้ําตื้นและลึกคละกัน มีกอนหินและกรวดทรายขนาดตางๆ กัน ลักษณะพื้นทองน้ํา ที่ตางกันเหลานี้เปนเสมือนหอง ตลาด และโรงเลี้ยง เด็กในเมืองใหญใตน้ํา ปลาหลายชนิดวางไขตามกอง กรวดบริเวณแกงน้ําไหลเร็ว และหลบภัยหาอาหารบริเวณแองน้ําลึก สวนสัตวเล็ก เชน แมลงในน้ําชนิดตาง ก็ชอบอยูในพื้นที่แตกตางกันไป ที่มา : มูลนิธิโลกสีเขียว คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 27 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
  • 30. ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ความรูเบื้องตน เรื่อง นิเวศวิทยาสายน้ํา 4 ที่มา : มูลนิธิโลกสีเขียว คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 28 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
  • 31. ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ความรูเบื้องตน เรื่อง นิเวศวิทยาสายน้ํา 5 ที่มา : มูลนิธิโลกสีเขียว คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 29 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
  • 32. ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ความรูเบื้องตน เรื่อง นิเวศวิทยาสายน้ํา 6 ที่มา : มูลนิธิโลกสีเขียว คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 30 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
  • 33. ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ความรูเบื้องตน เรื่อง นิเวศวิทยาสายน้ํา 7 ที่มา : มูลนิธิโลกสีเขียว คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 31 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
  • 34. ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ความรูเบื้องตน เรื่อง นิเวศวิทยาสายน้ํา 8 ที่มา : มูลนิธิโลกสีเขียว คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 32 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
  • 35. ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ความรูเบื้องตน เรื่อง นิเวศวิทยาสายน้ํา 9 ที่มา : มูลนิธิโลกสีเขียว คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 33 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
  • 36. ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ความรูเบื้องตน เรื่อง นิเวศวิทยาสายน้ํา 10 หวงโซอาหาร ที่มา : มูลนิธิโลกสีเขียว คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 34 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
  • 37. ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ความรูเบื้องตน เรื่อง นิเวศวิทยาสายน้ํา 11 ไฟจราจรน้ํา ปญหาใหญของชีวิตในน้ํา คือ อากาศหายใจ แมวาในน้ําจะมีออกซิเจนละลายอยู แตก็นอย กวาในอากาศหลายเทา ออกซิเจนจะถายเทเขามาไดมากขึ้นในบริเวณแกงหินกรวดที่น้ําไหลเร็วและผิวน้ํา แตกกระเซ็น แกงหินจึงมีความสําคัญมาก เปรียบไดกับปอดของสายน้ํา สัตวน้ําบงบอกคุณภาพน้ําได เนื่องจากสัตวสวนมากชอบอยูในน้ําสะอาด มีออกซิเจนสูง แตหลายชนิดสามารถปรับตัวใหอยูในที่ที่มีออกซิเจนนอยได และบางชนิดก็ทนอยูไดในที่ที่เกือบไมมี ออกซิเจนเลย ดังนั้นเมื่อเกิดมลภาวะ ทําใหออกซิเจนในน้ําลดลง สัตวที่ตองการออกซิเจนสูงจะทนอยูไมได เหลือแตสัตวที่ทนอยูในภาวะออกซิเจนต่ําไดดีกวา เราจึงประเมินระดับมลภาวะในลําน้ําไดจากการสังเกต ประเภทสัตวน้ํา สัตวไฟแดง - น้ําสกปรก ไดแกกลุมของ หนอนริ้นน้ําจืด ไสเดือนน้ํา - สัตวพวกนี้ออกจะเฉื่อย จึงไมตองการออกซิเจนมากนัก พวกมันหายใจโดยดูดซึมอากาศ ผานผิวบาง บางชนิดมีเหงือกชวยดวย และมีสารฮีโมโกบินคลายเลือดเรา สามารถเก็บ ออกซิเจนไวไดนานๆ พวกมันจึงทนมลภาวะไดดี สัตวเหลือง - น้ําคุณภาพพอใชได ไดแกกลุมของ ตัวออนแมลงปอ ตัวออนแมลงปอเข็ม กุงน้ําจืด หอยสองฝา หอยฝาเดียว - สัตวพวกนี้หายใจดวยเหงือกและผิว ตัวออนแมลงปอจะปมน้ําผานเหงือกขางในตัว จึง ดึงออกซิเจนในน้ํามาใชไดมากกวาสัตวไฟเขียว สวนหอยฝาเดียวหลายชนิดมีชองเก็บ อากาศคลายปอดอยูในเปลือก สามารถลอยตัวขึ้นไปเติมอากาศจากผิวน้ําได พวกมันจึง ทนมลภาวะไดพอสมควร สัตวไฟเขียว - น้ําสะอาด ไดแกกลุมของ ตัวออนชีปกขาว ตัวออนแมลงเกาะหิน ตัวออนแมลงหนอน ปลอกน้ํามีปลอก ตัวออนแมลงหนอนปลอกน้ําไมมีปลอก ตัวออนแมลงชางกรามโต - สัตวพวกนี้ตองการออกซิเจนมาก จึงทนมลภาวะไมได พวกมันพึ่งพาอากาศที่ละลายอยู ในน้ํา โดยหายใจผานเหงือกและผิวบาง ที่มา : มูลนิธิโลกสีเขียว คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 35 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
  • 38. ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ความรูเบื้องตน ของ นักสืบสายน้ํา 12 ความรูเบื้องตน ของ นักสืบสายน้ํา คุณภาพน้ํา หมายถึง ความสะอาด ความสกปรกของน้ํา สําหรับชีวิตในน้ํา ผูตองดื่มน้ําและหายใจเอา ออกซิเจนเชนเดียวกับชีวิตอื่นๆ คุณภาพน้ําหมายถึงทั้งคุณภาพของน้ําที่รางกายมันใช และคุณภาพของ บรรยากาศรอบตัว ไมวาจะเปนปริมาณออกซิเจนที่ละลายอยูในน้ํา ความขุนใสของน้ํา แรธาตุและสสาร ที่เจือปนในน้ํา ตลอดจนความเปนกรดดางของน้ํา เราสามารถสํารวจคุณภาพน้ําอยางงายๆ ไดจาก เครื่องมือวิเศษ ของนักสืบสายน้ํา ที่มา : มูลนิธิโลกสีเขียว คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 36 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
  • 39. ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ความรูเบื้องตน ของ นักสืบสายน้ํา 13 สํารวจกายภาพลําน้ํา ที่มา : มูลนิธิโลกสีเขียว คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 37 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
  • 40. ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ความรูเบื้องตน ของ นักสืบสายน้ํา 14 ที่มา : มูลนิธิโลกสีเขียว คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 38 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
  • 41. ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ความรูเบื้องตน ของ นักสืบสายน้ํา 15 ที่มา : มูลนิธิโลกสีเขียว คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 39 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
  • 42. ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ความรูเบื้องตน ของ นักสืบสายน้ํา 16 นักสืบสายน้ํา ที่มา : มูลนิธิโลกสีเขียว คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 40 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
  • 43. ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ความรูเบื้องตน ของ นักสืบสายน้ํา 17 ที่มา : มูลนิธิโลกสีเขียว คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 41 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
  • 44. ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ความรูเบื้องตน ของ นักสืบสายน้ํา 18 ที่มา : มูลนิธิโลกสีเขียว คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 42 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
  • 45. ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------- การสํารวจสายน้ํา 19 ที่มา : มูลนิธิโลกสีเขียว ยาว ๑๐ เมตร ผายางรองนั่ง นั่งได ๘ คน หรือมากกวา คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 43 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
  • 46. ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------- การสํารวจสายน้ํา 20 ที่มา : มูลนิธิโลกสีเขียว คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 44 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
  • 47. ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------- การสํารวจสายน้ํา 21 ที่มา : มูลนิธิโลกสีเขียว คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 45 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
  • 48. ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------- การสํารวจสายน้ํา 22 ที่มา : มูลนิธิโลกสีเขียว คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 46 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
  • 49. ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------- การสํารวจสายน้ํา 23 ที่มา : มูลนิธิโลกสีเขียว คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 47 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
  • 50. ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------- การสํารวจสายน้ํา 24 ที่มา : มูลนิธิโลกสีเขียว คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 48 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
  • 51. ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------- การสํารวจสายน้ํา 25 ที่มา : มูลนิธิโลกสีเขียว เสร็จแลว อยาลืมปลอยสัตวและนํากอนหินไปคืนลํา น้ํา คอยๆ ทําอยางเบามือ กลาวขอบคุณสัตวและ ขอใหมันอยูอยางเปนสุข คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 49 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
  • 52. ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ความรูเบื้องตน เรื่อง การอนุรักษน้ํา 26 ความรูเบื้องตน เรื่อง การอนุรักษน้ํา ที่มา : กรมสงเสริมคุณภาพสิ่งแวดลอม - ศึกษาวาตนไมชนิดใดตองการน้ํา มากหรือนอยเพื่อที่จะสามารถรดน้ําไดอยาง เหมาะสม คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ํา” 50 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี