SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
โครงการต�าราร่วมระหว่าง
คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
เวชศาสตร์ร่วมสมัย 2558เวชศาสตร์ร่วมสมัย 2558
CONTENT
ii
เวชศาสตร์ร่วมสมัย 2015
ISBN : 978-616-279-680-7
สงวนลิขสิทธิ์
โครงการต�าราร่วมระหว่าง คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะแพทยศาสตร์ศิริราช
พยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2558 จ�านวน 1,000 เล่ม
ราคา 400 บาท
พิมพ์ที่ บริษัท พี.เอ.ลีฟวิ่ง จ�ากัด
4 ซอยสิรินธร 7 บางพลัด กรุงเทพฯ 10700
โทรศัพท์ 0 2881 9890
CONTENTCOVER
กรณีศึกษาการประเมินระบบบริหารจัดการ
เขตบริการสุขภาพไทย
ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์1
รศ.ดร.พญ.ภัทรวัณย์ วรธนารัตน์2
1
ส�านักงานวิจัยและพัฒนาเพื่อการแปรงานวิจัยสุขภาพสู่การปฏิบัติ
ภาควิชาเวชศาสตร์ป้องกันและสังคม คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
ความเป็นมา
จากการที่กระทรวงสาธารณสุขได้ด�าเนินการปฏิรูประบบบริหารจัดการระบบสุขภาพของ
ประเทศไทย โดยพัฒนาระบบบริหารจัดการเขตบริการสุขภาพ แบ่งออกเป็น 12 เขตสุขภาพ ตั้งแต่
1 ตุลาคม พ.ศ. 2556 โดยมีการจัดคณะกรรมการนโยบายสาธารณสุขแห่งชาติ (National Health
Policy Board, NHPB) เพื่อเป็นกลไกทางนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพของประเทศ รวมถึง
การจัดตั้งให้มี National Health Service Board (NHSB) มีบทบาทก�ากับดูแลการด�าเนินงานของ
Area Health Board พัฒนารูปแบบกระบวนการระบบบริการสุขภาพเพื่อคนไทย จัดหลักประกัน
สุขภาพภายในระบบบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ ทั่วถึง เท่าเทียม และเป็นธรรม และพัฒนารูปแบบ
ระบบบริการสุขภาพสู่การกระจายอ�านาจที่รักษาไว้ซึ่งความเข้มแข็งของระบบบริการเพื่อประชาชน
ทั้งนี้ได้มีการก�าหนดให้แต่ละพื้นที่เขตบริการสุขภาพมีโครงสร้างคณะกรรมการสุขภาพระดับเขต(Area
Health Board) เพื่อให้มีบทบาทบริหารเขตเครือข่ายบริการแบบบูรณาการ เสริมสร้างความมีส่วน
ร่วมของท้องถิ่นและชุมชนและพัฒนาระบบสุขภาพในระบบฐานรากที่มีประชาชนร่วมรับผิดชอบระบบ
สุขภาพเพื่อสังคมอยู่เย็นเป็นสุข นอกจากนี้ยังได้มีนโยบายก�าหนดให้มีคณะกรรมการติดตามประเมิน
ผลทั้งภายใน และภายนอกกระทรวงสาธารณสุข
อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติแล้ว ส�านักผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขได้มีการท�างาน
โดยจ�าแนกแผนการท�างานเป็นแผนบริการแผนส่งเสริมสุขภาพและควบคุมป้องกันโรคแผนกฎหมาย
และการคุ้มครองผู้บริโภค และแผนบริหารจัดการ ซึ่งแนวทางดังกล่าวมีความแตกต่างกับนโยบายเขต
บริการสุขภาพอยู่พอสมควร โดยเฉพาะเรื่องโครงสร้างการสั่งการ การท�างาน และระบบการติดตาม
ก�ากับประเมินผล
CONTENTCOVER
662
กรณีศึกษาการประเมินระบบบริหารจัดการเขตบริการสุขภาพไทย
ทั้งนี้การจะท�าการก�ากับ ติดตาม และประเมินผลการด�าเนินงานของแต่ละเขตให้เป็นไปได้
อย่างมีประสิทธิภาพนั้น ต้องค�านึงถึงปัจจัยแวดล้อมที่มีความแตกต่างกันในแต่ละเขต เช่น โครงสร้าง
พื้นฐานที่มีความบริบูรณ์เพียบพร้อมมากน้อยแตกต่างกันทั้งเรื่องก�าลังคนงบประมาณลักษณะการก
ระจายของปัญหาสุขภาพ รวมไปถึงปัจจัยด้านการเมืองการปกครองระดับท้องถิ่น เป็นต้น ถึงแม้ผู้
บริหารกระทรวงสาธารณสุขจะพยายามจัดท�าตัวชี้วัดผลการด�าเนินงานของแต่ละเขตสุขภาพจ�านวน
44 ตัวชี้วัด จ�าแนกตามยุทธศาสตร์หลัก 3 ด้านแล้วก็ตาม แต่หลายตัวชี้วัดก็อาจไม่เหมาะสมในการใช้
เพื่อท�าการติดตาม ก�ากับ ประเมินผลด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้น อันจะน�ามาซึ่งความไม่เป็นธรรมใน
การใช้ประเมินผลการด�าเนินงานทั้งภายในเขตสุขภาพเดียวกัน และระหว่างเขตสุขภาพ
กระบวนการประเมินระบบบริหารจัดการเขตบริการสุขภาพ
คณะผู้วิจัยน�าโดยผศ.นพ. ธีระ วรธนารัตน์ และคณะ ได้รับการสนับสนุนโดยสถาบันวิจัย
ระบบสาธารณสุข ได้ท�าการศึกษาสถานการณ์การด�าเนินการตามนโยบายเขตบริการสุขภาพตั้งแต่ 1
ตุลาคม พ.ศ. 2556 ถึง 30 กันยายน พ.ศ. 2557 ภายหลังจากที่กระทรวงสาธารณสุขได้ประกาศ
นโยบายเขตบริการสุขภาพอย่างเป็นทางการในเดือนตุลาคมพ.ศ.2556โดยจ�าแนกเขตบริการสุขภาพ
ตามรูปที่ 1
คณะผู้วิจัยได้ท�าการลงพื้นที่เพื่อประเมินสมรรถนะในการด�าเนินงานของเขตบริการสุขภาพ
โดยมีกรณีศึกษาตัวอย่างจ�านวน 4 เขต ได้แก่ เขต 2 เขต 5 เขต 7 และ เขต 11 และท�าการเก็บรวบรวม
ข้อมูลทุติยภูมิตั้งแต่เรื่องปัจจัยน�าเข้าสู่ระบบ กระบวนการด�าเนินงานตามนโยบาย รวมถึงผลผลิตที่
เกิดขึ้นจากการด�าเนินนโยบาย พร้อมกับการออกแบบสอบถามเพื่อเก็บข้อมูลปฐมภูมิเกี่ยวกับ
ความคิดเห็นต่อนโยบาย, ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นหลังด�าเนินนโยบาย, ปัจจัยที่เกื้อหนุน และ
อุปสรรค, ผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นในพื้นที่, ลักษณะการอภิบาลระบบเขตบริการสุขภาพ, และ
ข้อเสนอแนะต่อกระทรวงสาธารณสุข ทั้งนี้แบบสอบถามดังกล่าวจะใช้เพื่อรวบรวมข้อมูลผ่านการ
ส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์ การสอบถามทางโทรศัพท์ และการนัดสัมภาษณ์เชิงลึกแบบเผชิญหน้า
และแบบสนทนากลุ่ม กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกระดับในแต่ละพื้นที่ ตั้งแต่ผู้ตรวจราชการ สาธารณสุข
นิเทศก์สาธารณสุขจังหวัดผู้อ�านวยการโรงพยาบาลศูนย์ผู้อ�านวยการโรงพยาบาลทั่วไปผู้อ�านวยการ
โรงพยาบาลชุมชน สาธารณสุขอ�าเภอ ผู้อ�านวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�าบล รวมถึงบุคลากร
ที่สังกัดหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และภาคประชาสังคม ในพื้นที่เขต 2, 5, 7 และ 11 จ�านวน
174 ราย โดยมีระยะเวลาเก็บรวบรวมข้อมูลตั้งแต่เดือนมีนาคม-กันยายน พ.ศ. 2556 อย่างไรก็ดี
บทความนี้จะน�าเสนอข้อมูลระดับมหภาคจากการศึกษาวิจัยเท่านั้น
CONTENTCOVER
663
ธีระ วรธนารัตน์
รูปที่ 1. การจัดผังบริการสุขภาพที่เป็นเครือข่ายบริการสุขภาพ เขต 1-12
CONTENTCOVER
664
กรณีศึกษาการประเมินระบบบริหารจัดการเขตบริการสุขภาพไทย
สิ่งที่ค้นพบจากการศึกษา
จากผลการรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ และทุติยภูมิจากทุกกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากการ
ด�าเนินนโยบายเขตบริการสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข พบประเด็นที่ส�าคัญไล่เรียงตามห่วงโซ่
ระบบบริการดังนี้
ปัญหาหลักในการด�าเนินนโยบายเขตบริการสุขภาพ
1. ภาวะสับสนในทิศทางหลัก (loss of direction) กล่าวคือแต่ละเขตบริการสุขภาพมี
ทิศทางการด�าเนินการที่แตกต่างกัน ตั้งแต่ระดับบริหาร จนถึงระดับปฏิบัติการ ที่ส�าคัญ คือ ผู้บริหาร
เขตบริการสุขภาพแต่ละพื้นที่มีความเข้าใจสาระนโยบายในระดับที่ต่างกัน และมีผลต่อการวางแผน
ยุทธศาสตร์ระดับเขต และแผนปฏิบัติการแต่ละระดับที่แตกต่างกันตามล�าดับ
2. ความไม่ส�าเร็จในการด�าเนินงานตามแผนที่วางไว้(failuretoimplementation)โดย
เฉพาะเรื่องการด�าเนินงานด้านโครงสร้างการท�างานระดับเขต ซึ่งล้วนมีปัญหาจากการขาดการ
สนับสนุนด้านตัวบทกฎหมายหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องและความไม่ชัดเจนในต�าแหน่งบทบาทหน้าที่
ความรับผิดชอบรวมถึงความก้าวหน้าในบันไดอาชีพท�าให้ประสบความยากล�าบากในการหาบุคลากร
มาด�าเนินงานส่วนใหญ่จึงต้องแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าโดยการยืมตัวข้าราชการจากหน่วยงานต่างๆใน
เขตมาดูแล และรับผิดชอบภาระงานแบบควบ
3. ความเกรงกลัวในการปฏิบัติงาน (pervasive fear) ภาวะกลัวที่จะปฏิบัติงานตาม
นโยบายเขตบริการสุขภาพ จึงเลือกที่จะนิ่งเฉยหรือท�าน้อย มากกว่าจะด�าเนินการเต็มที่ พบในทุกเขต
ที่ท�าการส�ารวจข้อมูล โดยเฉพาะอย่างยิ่งบุคลากรระดับจังหวัด ทั้งต�าแหน่งบริหาร และปฏิบัติการ
ทั้งนี้เนื่องจากความไม่แน่ใจในสายบังคับบัญชาและอิทธิพลทางการเมืองที่มีผลต่อทิศทางของนโยบาย
เขตบริการสุขภาพดังที่ปรากฏชัดในช่วงอึมครึมทางการเมืองที่ผ่านมาตั้งแต่ พ.ศ. 2556-58
4. ความไม่ไว้ใจระหว่างกัน (crisis of trust) เป็นผลกระทบต่อเนื่องจากการด�าเนิน
นโยบายเขตบริการสุขภาพที่ก่อให้เกิดความไม่สมดุลของพลัง(powerimbalance)โดยเฉพาะอย่าง
ยิ่งระดับบริหารแต่ละระดับทั้งนี้ผู้บริหารระดับจังหวัดจ�านวนไม่น้อยที่แสดงออกถึงความไม่ไว้ใจหรือ
ความกังวลว่า อ�านาจบริหารจัดการระดับจังหวัดจะถูกลดทอน หรือเบียดบังโดยอ�านาจบริหารระดับ
เขต นอกจากนี้ยังกังวลเรื่องอคติที่อาจเกิดขึ้นจากความไม่ชัดเจนระหว่างสมดุลอ�านาจของผู้บริหาร
เขตบริการสุขภาพ กับอ�านาจบริหารของผู้ว่าราชการจังหวัด และสาธารณสุขจังหวัด
ด้านปัจจัยน�าเข้าสู่ระบบ (inputs)
ความแตกต่างทางต้นทุนพื้นฐานในระบบของแต่ละเขตบริการสุขภาพ (capital
differences)
จากข้อมูลน�าเข้าพื้นฐานของแต่ละเขตบริการสุขภาพร่วมกับผลการส�ารวจความคิดเห็นใน
องค์ประกอบต่างๆ ของระบบสุขภาพตามกรอบแนวคิดขององค์การอนามัยโลก 6 องค์ประกอบ ที่
เรียกว่า “six building blocks” อันประกอบด้วย ก�าลังคนด้านสุขภาพ ระบบสารสนเทศ เวชภัณฑ์/
เครื่องมือและเทคโนโลยีทางการแพทย์รูปแบบการจัดระบบบริการลักษณะผู้น�าและการการอภิบาล
CONTENTCOVER
665
ธีระ วรธนารัตน์
ระบบ และกลไกการเงินการคลัง/งบประมาณ จะพบว่า แต่ละเขตบริการสุขภาพมีความแตกต่างกัน
อย่างสิ้นเชิงตั้งแต่เรื่องโอกาสการเริ่มทดลองด�าเนินการตามนโยบายเขตบริการสุขภาพรวมถึงต้นทุน
พื้นฐานในระบบที่มีอยู่มาก่อนการด�าเนินนโยบาย
หากจ�าแนกตามหลักคิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน หรือ sustainable development(1)
จะ
พบว่าความแตกต่างทั้งหลายทั้งมวล สามารถจ�าแนกออกเป็น 5 เรื่องหลัก ได้แก่
1. ทุนมนุษย์ (human capital) ในที่นี้หมายถึงทรัพยากรบุคคล ทั้งในเรื่องปริมาณ และ
คุณลักษณะ/อุปนิสัยใจคอ/ทักษะ/ประสบการณ์ ตั้งแต่ระดับบริหารไปจนถึงระดับปฏิบัติการ
2. ทุนสังคม (social capital) ในที่นี้หมายรวมถึงการมีอยู่ขององค์ประกอบทางสังคมใน
พื้นที่ที่จะช่วยหนุนเสริมหรือเป็นอุปสรรคต่อการด�าเนินงานตามนโยบายอาทิเช่นความเข้มแข็งของ
สถาบันวิชาการในพื้นที่ รวมถึงสัมพันธภาพระหว่างหน่วยงาน หรือระหว่างภาคส่วนต่างๆ ในสังคม
3. ทุนการเงิน (financial capital) ในที่นี้หมายรวมถึงงบประมาณตั้งต้นที่มีอยู่ในระบบ
และความมั่นคงพื้นฐานทางการเงินของหน่วยงานภายในเขตบริการสุขภาพ
4. ทุนการผลิต (produced/Manufactured capital) ในที่นี้หมายรวมตั้งแต่ปัจจัยน�า
เข้าพื้นฐานด้านยุทธศาสตร์ของแต่ละเขตองค์ประกอบที่ส�าคัญในการด�าเนินตามนโยบายการออกแบบ
กลไกการท�างานของแต่ละเขต กระบวนการที่ด�าเนินจริงในพื้นที่ และความสมดุลระหว่างอุปสงค์
อุปทานในห่วงโซ่บริการของแต่ละพื้นที่ ตั้งแต่ระดับเขตลงไปจนถึงล่างสุด
5. ทุนธรรมชาติ(naturalcapital)ในที่นี้หมายถึงลักษณะทางภูมิศาสตร์อันมีผลต่อการ
เอื้อหรือการเป็นอุปสรรคต่อการติดต่อสื่อสาร การคมนาคมขนส่งระหว่างกันในพื้นที่
ด้านกระบวนการด�าเนินนโยบายเขตบริการสุขภาพ (process)
การพบช่องทางพัฒนาสู่การด�าเนินรัฐกิจที่ดีในทุกเขตที่คล้ายกัน
(similar development channels toward good governance)
มาตรวัดพื้นฐานด้านการด�าเนินรัฐกิจที่ดี(2-4)
หรือที่เรารู้จักกันในค�าว่าpublicgovernance
นั้น มักได้รับการประเมินผ่าน 4 ประเด็นหลัก ได้แก่ การรับรู้ต่อธรรมาภิบาลของการบริหารจัดการ
ของผู้เกี่ยวข้อง (governance perception) อิสรภาพด้านการมีส่วนร่วมของประชาสังคม (civil
freedomandengagement)ประสิทธิภาพของการด�าเนินงานภาครัฐ(governmenteffectiveness)
และความเข้มแข็งของตัวบทกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการด�าเนินงาน (legal and
regulation system)
ส�าหรับประเด็นการรับรู้ต่อธรรมาภิบาลของการบริหารจัดการหากพิจารณาผลการส�ารวจ
ความคิดเห็นต่อลักษณะการอภิบาลระบบเขตบริการสุขภาพโดยใช้แนวทางการประเมินธรรมาภิบาล
โดยคร่าวของ UNDP(5)
จะพบว่า กระบวนการด�าเนินนโยบายเขตบริการสุขภาพได้รับการประเมินว่า
ควรที่จะพัฒนาให้ดีขึ้นกว่านี้ใน 4 เรื่องใหญ่ ได้แก่ กลไกการตรวจสอบการด�าเนินงาน การเปิดช่อง
ทางรับฟังผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่าย การตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนในพื้นที่ และเรื่อง
ความเท่าเทียมและเสมอภาค
CONTENTCOVER
666
กรณีศึกษาการประเมินระบบบริหารจัดการเขตบริการสุขภาพไทย
ประเด็นที่สองคือเรื่องอิสรภาพด้านการมีส่วนร่วมของประชาสังคมนั้นเป็นที่ชัดเจนทั้งจาก
ข้อมูลที่ได้จากค�าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการตั้งแต่ระดับกระทรวงจนถึงระดับพื้นที่ในแต่ละเขต รวมถึง
จากการสัมภาษณ์เชิงลึกกับตั้งแต่ระดับบริหารจนถึงระดับปฏิบัติการ พบว่า ยังไม่มีหลักฐานเชิง
ประจักษ์อันใดที่แสดงถึงการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคม ในการบริหารจัดการ และด�าเนินงาน
ตามนโยบายเขตบริการสุขภาพ
ส�าหรับประเด็นประสิทธิภาพของการด�าเนินงานภาครัฐนั้น หนทางที่มักใช้ในการประเมิน
ประสิทธิภาพคือ การบรรลุเป้าหมายของการด�าเนินงานตามที่ระบุไว้ในแผนยุทธศาสตร์ และแผน
ปฏิบัติการ อย่างไรก็ดี ในระยะเวลา 9 เดือนของการเก็บรวบรวมข้อมูลของแต่ละเขต พบว่าแม้สาระ
นโยบายเขตบริการสุขภาพตอนเริ่มต้นจะเป็นแบบเดียวกัน แต่ความเข้าใจสาระนโยบายของผู้บริหาร
และผู้ปฏิบัติงานในแต่ละระดับ ในแต่ละเขตนั้นมีความแตกต่างกัน ท�าให้แผนยุทธศาสตร์และแผน
ปฏิบัติการในแต่ละเขตจึงมีความแตกต่างกันอย่างมาก นอกจากนี้ยังไม่สามารถรวบรวมข้อมูลเชิง
ประจักษ์ที่ระบุผลผลิต และผลลัพธ์ของการด�าเนินงานได้อย่างเพียงพอ จึงยากในการที่จะสรุปได้ว่า
ประสิทธิภาพของการด�าเนินนโยบายเขตบริการสุขภาพในช่วงปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ที่ผ่านมานั้น
ดีหรือไม่ อย่างไร และไม่สามารถที่จะน�ามาเปรียบเทียบกันระหว่างเขตด้วยเกณฑ์ที่เหมาะสมหรือ
ยุติธรรมได้ อย่างไรก็ดีจากการสัมภาษณ์เชิงลึกจากทุกฝ่ายในแต่ละเขตกลับมีข้อมูลชี้น�าไปในทิศทาง
เดียวกันว่า สถานการณ์ดังกล่าวกลับเป็นโอกาสดี ที่จะสรุปได้ว่า นโยบายเขตบริการสุขภาพนั้นมีหลัก
การที่ดี แต่ยังมีปัญหาในทางปฏิบัติ ที่ควรมีกลไกการแปรสาระนโยบายให้สอดคล้องกับบริบทที่แตก
ต่างกันในแต่ละพื้นที่ ทั้งระดับเขต และระดับย่อยลงไปกว่านั้น อันจะมีผลท�าให้ตัวชี้วัดประสิทธิภาพ
การด�าเนินงานภาครัฐของแต่ละพื้นที่ควรที่จะประกอบด้วย2ส่วนหลักได้แก่ตัวชี้วัดหลักที่ใช้เปรียบ
เทียบระหว่างพื้นที่ และตัวชี้วัดเฉพาะพื้นที่
ประเด็นของตัวบทกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการด�าเนินงานนั้น ดูจะเป็นเรื่องที่
ชัดเจนจากทุกพื้นที่ว่า การด�าเนินนโยบายเขตบริการสุขภาพจ�าเป็นต้องมีการค�านึงถึงกฎหมายและ
ระเบียบ ที่จะรองรับให้สามารถด�าเนินการในพื้นที่ได้จริง
CONTENTCOVER
667
ธีระ วรธนารัตน์
บทวิเคราะห์เพื่อการพัฒนา
จากปัญหาที่ค้นพบในพื้นที่หากน�ามาวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างแต่ละปัญหากับปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นด้านปัจจัยน�าเข้าและด้านกระบวนการ
ด�าเนินนโยบายโดยใช้วิธีวิเคราะห์สนามแรงจะสามารถวิเคราะห์ได้ดังตารางที่1
ตารางที่1.การวิเคราะห์สนามแรงเพื่อแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปัญหากับปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นด้านปัจจัยน�าเข้าและด้านกระบวนการด�าเนินนโยบาย
+หมายถึงระดับความสัมพันธ์+:ระดับต�่า++:ระดับปานกลาง+++:ระดับสูง)
CONTENTCOVER
668
กรณีศึกษาการประเมินระบบบริหารจัดการเขตบริการสุขภาพไทย
กลยุทธ์ในการแก้ไขปัญหาและใช้ในการวางแผนพัฒนาเขตบริการสุขภาพให้มีประสิทธิภาพตอบสนองต่อความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่ายและ
สามารถด�ารงอยู่ได้อย่างยั่งยืนสามารถน�าเสนอได้ผ่านการวิเคราะห์โดยวิธีSWOTและTOWSMatrixดังตารางที่2
ตารางที่2.SWOTanalysisandTOWSmatrixเพื่อวิเคราะห์ระบบเขตบริการสุขภาพและสังเคราะห์กลวิธีในการพัฒนาสู่เป้าหมาย
CONTENTCOVER
669
ธีระ วรธนารัตน์
CONTENTCOVER
670
กรณีศึกษาการประเมินระบบบริหารจัดการเขตบริการสุขภาพไทย
บทสรุปและข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อการพัฒนาระบบเขตบริการสุขภาพไทย
จากการศึกษาวิจัยครั้งนี้ การพัฒนาระบบเขตบริการสุขภาพให้มีประสิทธิภาพ สามารถ
ตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนในพื้นที่ และด�ารงอยู่อย่างยั่งยืน กระทรวงสาธารณสุขควร
ที่จะพิจารณาด�าเนินการดังต่อไปนี้
กลยุทธ์ว่าด้วยเรื่องก�าลังคน
“เปิดช่องทางให้เกิดการมีส่วนร่วมขับเคลื่อนนโยบายเขตบริการสุขภาพ โดยตัวแทนจาก
ภาคประชาชนและภาคเอกชนเพื่อหวังผลในการสร้างการยอมรับระดมทรัพยากรและเพื่อลดภาระ
บุคลากรภาครัฐในระยะยาว”
กลยุทธ์ว่าด้วยระบบสารสนเทศ
“พัฒนาระบบสารสนเทศระดับพื้นที่ให้ครอบคลุมและมีประสิทธิภาพโดยสามารถรองรับ
และตอบสนองต่อผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงเชิงประชากรศาสตร์จากนโยบายระหว่างประเทศ
ให้ได้”
กลยุทธ์ว่าด้วยการจัดการเวชภัณฑ์ เครื่องมือ และเทคโนโลยีทางการแพทย์
“เผยแพร่กรณีศึกษาว่าด้วยเรื่องความส�าเร็จในการบริหารจัดการที่ก่อให้เกิดความคุ้มค่า
เช่น การจัดซื้อยา เครื่องมือแพทย์ ให้ทุกพื้นที่ในประเทศพิจารณาด�าเนินการตาม และพิจารณาความ
เป็นไปได้ที่จะต่อยอดไปถึงระดับประเทศ”
กลยุทธ์ว่าด้วยการจัดระบบบริการ
“ผนึกก�าลังกับสมัชชาสุขภาพระดับพื้นที่เพื่อขับเคลื่อนงานตามแผนยุทธศาสตร์และแผน
ปฏิบัติการที่ยังไม่ประสบผลส�าเร็จ อาทิเช่น การพัฒนาระบบส่งต่อผู้ป่วยภายในเขต การแก้ไขปัญหา
การขาดทุนของสถานพยาบาล”
“ปรับค่านิยมการใช้บริการสาธารณสุขของประชาชนโดยประยุกต์ใช้แนวคิดด้านการตลาด
และประชาสัมพันธ์ใหม่ๆ โดยเน้นให้เกิดความตระหนักถึงความจ�าเป็นของการดูแลและพึ่งตนเอง
ภายในพื้นที่ โดยใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าเท่าที่จ�าเป็น”
“จัดท�าแผนจัดการความเสี่ยงเพื่อลดผลกระทบต่อระบบบริการสุขภาพในแต่ละพื้นที่จาก
นโยบาย AEC ที่มีผลต่อการเคลื่อนย้ายประชากรต่างชาติมาในประเทศไทยและการเปลี่ยนแปลงของ
สังคม”
CONTENTCOVER
671
ธีระ วรธนารัตน์
“ประเมินความเป็นไปได้ในการพัฒนาเขตบริการสุขภาพ ร่วมกับภาคส่วนอื่นๆ เช่น ภาค
เอกชนโดยอาจประสานประโยชน์แล้วเล่นสนามเดียวกันหรือแบ่งสนามเล่นทั้งนี้ทั้งนั้นให้ยึดถือหลัก
ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ”
“พัฒนาระบบติดตาม ก�ากับ ประเมินผลการด�าเนินนโยบายเขตบริการสุขภาพที่ค�านึงถึง
ความคาดหวังของประชาชนด้วย มิใช่อิงตามมิติของผู้จัดบริการแต่เพียงอย่างเดียว”
กลยุทธ์ว่าด้วยการอภิบาลระบบ
“ประชาสัมพันธ์สู่สาธารณะโดยใช้กระแสนโยบายคู่ขนานของรัฐบาล เพื่อให้เกิดความรู้
ความเข้าใจตระหนักยอมรับนโยบายเขตบริการสุขภาพของทุกภาคส่วนและขับเคลื่อนในแต่ละพื้นที่
ไปในทิศทางเดียวกัน”
“อาศัยสถานการณ์การเมืองที่นิ่ง ท�าการผลักดันให้มีกฎหมายหรือระเบียบที่จ�าเป็นต้องใช้
เพื่อรองรับการด�าเนินการตามนโยบายเขตบริการสุขภาพ”
“ให้ค�านึงว่าทุกนโยบายที่ออกมา จะมีทั้งผู้มีส่วนได้ และส่วนเสียเสมอ ดังนั้นจึงควร
วิเคราะห์ผลกระทบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียแต่ละฝ่ายและสร้างสมดุลอ�านาจแบบใหม่ที่พอเป็นที่ยอมรับ
ได้ในแต่ละฝ่ายเช่นการผันอ�านาจการบริหารจัดการจากฝ่ายหนึ่งไปสู่อ�านาจการตรวจสอบเพื่อถ่วงดุล”
กลยุทธ์ว่าด้วยการจัดการกลไกการเงินการคลังและทรัพยากร
“จัดสรรทรัพยากรแบบร่วม โดยควบการพิจารณาจัดสรรทรัพยากรตามนโยบายคู่ขนาน
ของรัฐบาล เพื่อเป็นโอกาสในการลงทุนหรือพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่จ�าเป็นในการด�าเนินนโยบาย
เขตบริการสุขภาพ”
“พิจารณาความเป็นไปได้ในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานส�าหรับการด�าเนินการตามนโยบาย
เขตบริการสุขภาพ โดยใช้กลไกร่วมลงทุนระหว่างรัฐ เอกชน และท้องถิ่น เพื่อร่วมกันรับผิดชอบ
ประชากรในพื้นที่และร่วมจัดการความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองเศรษฐกิจและสังคม”
CONTENTCOVER
672
กรณีศึกษาการประเมินระบบบริหารจัดการเขตบริการสุขภาพไทย
เอกสารอ้างอิง
1. Goodwin NR. Five Kinds of Capital: Useful Concepts for Sustainable Development.
GlobalDevelopmentandEnvironmentalInstitute,TuftsUniversity,Massachusetts,
USA, 2003.
2. Cheibub JA. Human Development Research Paper 2010/41. UNDP.
3. The World Bank Economic Review 2013; 11(2):219-42.
4. Siudek T, Zawojska A. Quality of National Governance and Rural Development.
European Association of Agricultural Economists (EAAE), 2014.
5. GrahamJ,AmosB,PlumptreT.PrinciplesforGoodGovernanceinthe21stCentury.
Policy Brief No.15, Institute on Governance, Canada, 2003.
CONTENTCOVER

More Related Content

What's hot

"Loadแนวข้อสอบ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรค
"Loadแนวข้อสอบ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรค"Loadแนวข้อสอบ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรค
"Loadแนวข้อสอบ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรคnoodeejideenoodeejid
 
"Loadแนวข้อสอบ ผู้ช่วยพยาบาล สถาบันมะเร็งแห่งชาติ
"Loadแนวข้อสอบ ผู้ช่วยพยาบาล สถาบันมะเร็งแห่งชาติ"Loadแนวข้อสอบ ผู้ช่วยพยาบาล สถาบันมะเร็งแห่งชาติ
"Loadแนวข้อสอบ ผู้ช่วยพยาบาล สถาบันมะเร็งแห่งชาติnoodeejideenoodeejid
 
โครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทยโครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทยSurasak Tumthong
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตsivapong klongpanich
 
Loadแนวข้อสอบ นักเวชศาสตร์สื่อความหมายปฏิบัติการ กรมการแพทย์
Loadแนวข้อสอบ นักเวชศาสตร์สื่อความหมายปฏิบัติการ กรมการแพทย์Loadแนวข้อสอบ นักเวชศาสตร์สื่อความหมายปฏิบัติการ กรมการแพทย์
Loadแนวข้อสอบ นักเวชศาสตร์สื่อความหมายปฏิบัติการ กรมการแพทย์nawaporn khamseanwong
 
Loadแนวข้อสอบ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ โรงพยาบาลนครพิงค์
 Loadแนวข้อสอบ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ โรงพยาบาลนครพิงค์ Loadแนวข้อสอบ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ โรงพยาบาลนครพิงค์
Loadแนวข้อสอบ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ โรงพยาบาลนครพิงค์nawaporn khamseanwong
 
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.nhs0
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ กรมการแพทย์
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ กรมการแพทย์Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ กรมการแพทย์
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ กรมการแพทย์nawaporn khamseanwong
 
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขรายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขโปรตอน บรรณารักษ์
 
โหลดแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน ด้านเวชกิจฉุกเฉิน สำนักงานปลัดกร...
โหลดแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน ด้านเวชกิจฉุกเฉิน สำนักงานปลัดกร...โหลดแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน ด้านเวชกิจฉุกเฉิน สำนักงานปลัดกร...
โหลดแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน ด้านเวชกิจฉุกเฉิน สำนักงานปลัดกร...PanusiTor
 
"Loadแนวข้อสอบ นิติกร สํานักควบคุมการบริโภคยาสูบ
"Loadแนวข้อสอบ นิติกร สํานักควบคุมการบริโภคยาสูบ"Loadแนวข้อสอบ นิติกร สํานักควบคุมการบริโภคยาสูบ
"Loadแนวข้อสอบ นิติกร สํานักควบคุมการบริโภคยาสูบnoodeejideenoodeejid
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ โรงพยาบาลนครพิงค์
 Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ โรงพยาบาลนครพิงค์ Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ โรงพยาบาลนครพิงค์
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ โรงพยาบาลนครพิงค์nawaporn khamseanwong
 
หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55sivapong klongpanich
 
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบแนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบUtai Sukviwatsirikul
 
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...Utai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

"Loadแนวข้อสอบ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรค
"Loadแนวข้อสอบ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรค"Loadแนวข้อสอบ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรค
"Loadแนวข้อสอบ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรค
 
"Loadแนวข้อสอบ ผู้ช่วยพยาบาล สถาบันมะเร็งแห่งชาติ
"Loadแนวข้อสอบ ผู้ช่วยพยาบาล สถาบันมะเร็งแห่งชาติ"Loadแนวข้อสอบ ผู้ช่วยพยาบาล สถาบันมะเร็งแห่งชาติ
"Loadแนวข้อสอบ ผู้ช่วยพยาบาล สถาบันมะเร็งแห่งชาติ
 
Quntity sulin
Quntity sulinQuntity sulin
Quntity sulin
 
โครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทยโครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทย
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
 
Loadแนวข้อสอบ นักเวชศาสตร์สื่อความหมายปฏิบัติการ กรมการแพทย์
Loadแนวข้อสอบ นักเวชศาสตร์สื่อความหมายปฏิบัติการ กรมการแพทย์Loadแนวข้อสอบ นักเวชศาสตร์สื่อความหมายปฏิบัติการ กรมการแพทย์
Loadแนวข้อสอบ นักเวชศาสตร์สื่อความหมายปฏิบัติการ กรมการแพทย์
 
ความเข้มแข็ง
ความเข้มแข็งความเข้มแข็ง
ความเข้มแข็ง
 
Loadแนวข้อสอบ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ โรงพยาบาลนครพิงค์
 Loadแนวข้อสอบ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ โรงพยาบาลนครพิงค์ Loadแนวข้อสอบ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ โรงพยาบาลนครพิงค์
Loadแนวข้อสอบ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ โรงพยาบาลนครพิงค์
 
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ กรมการแพทย์
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ กรมการแพทย์Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ กรมการแพทย์
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ กรมการแพทย์
 
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขรายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
 
Iii
IiiIii
Iii
 
Rx communication
Rx communicationRx communication
Rx communication
 
โหลดแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน ด้านเวชกิจฉุกเฉิน สำนักงานปลัดกร...
โหลดแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน ด้านเวชกิจฉุกเฉิน สำนักงานปลัดกร...โหลดแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน ด้านเวชกิจฉุกเฉิน สำนักงานปลัดกร...
โหลดแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน ด้านเวชกิจฉุกเฉิน สำนักงานปลัดกร...
 
"Loadแนวข้อสอบ นิติกร สํานักควบคุมการบริโภคยาสูบ
"Loadแนวข้อสอบ นิติกร สํานักควบคุมการบริโภคยาสูบ"Loadแนวข้อสอบ นิติกร สํานักควบคุมการบริโภคยาสูบ
"Loadแนวข้อสอบ นิติกร สํานักควบคุมการบริโภคยาสูบ
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ โรงพยาบาลนครพิงค์
 Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ โรงพยาบาลนครพิงค์ Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ โรงพยาบาลนครพิงค์
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ โรงพยาบาลนครพิงค์
 
หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55
 
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบแนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
 
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาลการบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
 
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
 

Viewers also liked

Prajnya Gender Equality Election Checklist
Prajnya Gender Equality Election ChecklistPrajnya Gender Equality Election Checklist
Prajnya Gender Equality Election ChecklistThe Prajnya Trust
 
Performance of Various Mobile IP Protocols and Security Considerations
Performance of Various Mobile IP Protocols and Security ConsiderationsPerformance of Various Mobile IP Protocols and Security Considerations
Performance of Various Mobile IP Protocols and Security ConsiderationsCSCJournals
 
Guider mod3 week6 application 615
Guider mod3 week6 application 615Guider mod3 week6 application 615
Guider mod3 week6 application 615aguider2
 
Corporate Manslaughter and Corporate Homicide Act 2007 (UK Legal System)
Corporate Manslaughter and Corporate Homicide Act 2007 (UK Legal System)Corporate Manslaughter and Corporate Homicide Act 2007 (UK Legal System)
Corporate Manslaughter and Corporate Homicide Act 2007 (UK Legal System)Yashaswini Agarwal
 
ФЗ "О социальном обслуживании граждан в РФ" в вопросах и ответах
ФЗ "О социальном обслуживании граждан в РФ" в вопросах и ответахФЗ "О социальном обслуживании граждан в РФ" в вопросах и ответах
ФЗ "О социальном обслуживании граждан в РФ" в вопросах и ответахЛариса Колоколова
 
Trabajo de libros_ema_wolf
Trabajo de libros_ema_wolfTrabajo de libros_ema_wolf
Trabajo de libros_ema_wolfescuela27de15
 

Viewers also liked (15)

Prajnya Gender Equality Election Checklist
Prajnya Gender Equality Election ChecklistPrajnya Gender Equality Election Checklist
Prajnya Gender Equality Election Checklist
 
Performance of Various Mobile IP Protocols and Security Considerations
Performance of Various Mobile IP Protocols and Security ConsiderationsPerformance of Various Mobile IP Protocols and Security Considerations
Performance of Various Mobile IP Protocols and Security Considerations
 
Comunicato 18feb
Comunicato 18febComunicato 18feb
Comunicato 18feb
 
Zamihul Hameed Qc
Zamihul Hameed QcZamihul Hameed Qc
Zamihul Hameed Qc
 
Guider mod3 week6 application 615
Guider mod3 week6 application 615Guider mod3 week6 application 615
Guider mod3 week6 application 615
 
Padron espos-docentes
Padron espos-docentesPadron espos-docentes
Padron espos-docentes
 
Geostrategi indonesia (kel 8)
Geostrategi indonesia (kel 8)Geostrategi indonesia (kel 8)
Geostrategi indonesia (kel 8)
 
Modul sap pertemuan 2 dan 3
Modul sap pertemuan 2 dan 3Modul sap pertemuan 2 dan 3
Modul sap pertemuan 2 dan 3
 
Corporate Manslaughter and Corporate Homicide Act 2007 (UK Legal System)
Corporate Manslaughter and Corporate Homicide Act 2007 (UK Legal System)Corporate Manslaughter and Corporate Homicide Act 2007 (UK Legal System)
Corporate Manslaughter and Corporate Homicide Act 2007 (UK Legal System)
 
АЭК. Модуль 3
АЭК. Модуль 3АЭК. Модуль 3
АЭК. Модуль 3
 
Question 6
Question 6Question 6
Question 6
 
ФЗ "О социальном обслуживании граждан в РФ" в вопросах и ответах
ФЗ "О социальном обслуживании граждан в РФ" в вопросах и ответахФЗ "О социальном обслуживании граждан в РФ" в вопросах и ответах
ФЗ "О социальном обслуживании граждан в РФ" в вопросах и ответах
 
HVAC Mechanical CV
HVAC Mechanical CVHVAC Mechanical CV
HVAC Mechanical CV
 
Trabajo de libros_ema_wolf
Trabajo de libros_ema_wolfTrabajo de libros_ema_wolf
Trabajo de libros_ema_wolf
 
PRABHUDEV
PRABHUDEVPRABHUDEV
PRABHUDEV
 

Similar to Area based health system evaluation

รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558Utai Sukviwatsirikul
 
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558Utai Sukviwatsirikul
 
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...Pattie Pattie
 
Newsphlibv2n1
Newsphlibv2n1Newsphlibv2n1
Newsphlibv2n1Yuwadee
 
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็กบทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็กcsip.org > slide ความปลอดภัยในเด็ก
 
E book2015-new
E book2015-newE book2015-new
E book2015-newwarit_sara
 
Loadแนวข้อสอบ นักโภชนาการ โรงพยาบาลราชวิถี
Loadแนวข้อสอบ นักโภชนาการ โรงพยาบาลราชวิถีLoadแนวข้อสอบ นักโภชนาการ โรงพยาบาลราชวิถี
Loadแนวข้อสอบ นักโภชนาการ โรงพยาบาลราชวิถีปลั๊ก พิมวิเศษ
 
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
 Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขnawaporn khamseanwong
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โรงพยาบาลราชวิถี
 Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โรงพยาบาลราชวิถี Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โรงพยาบาลราชวิถี
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โรงพยาบาลราชวิถีnawaporn khamseanwong
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
 Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขnawaporn khamseanwong
 
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
์Needs of Elderly long term care medical services for hospitalDMS Library
 
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์Utai Sukviwatsirikul
 
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์Utai Sukviwatsirikul
 
การตรวจโรคสตรีมีครรภ์
การตรวจโรคสตรีมีครรภ์การตรวจโรคสตรีมีครรภ์
การตรวจโรคสตรีมีครรภ์Utai Sukviwatsirikul
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ โรงพยาบาลราชวิถี
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ โรงพยาบาลราชวิถีLoadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ โรงพยาบาลราชวิถี
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ โรงพยาบาลราชวิถีnawaporn khamseanwong
 
Loadแนวข้อสอบ นักทรัพยากรบุคคล โรงพยาบาลราชวิถี
Loadแนวข้อสอบ นักทรัพยากรบุคคล โรงพยาบาลราชวิถีLoadแนวข้อสอบ นักทรัพยากรบุคคล โรงพยาบาลราชวิถี
Loadแนวข้อสอบ นักทรัพยากรบุคคล โรงพยาบาลราชวิถีnawaporn khamseanwong
 

Similar to Area based health system evaluation (20)

รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
 
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
รายงานสุขภาพคนกรุงเทพ ปี 2558
 
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
 
Thai2009 2
Thai2009 2Thai2009 2
Thai2009 2
 
Newsphlibv2n1
Newsphlibv2n1Newsphlibv2n1
Newsphlibv2n1
 
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็กบทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
บทบาทกุมารแพทย์และราชวิทยาลัยกุมารฯต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพเด็ก
 
E book2015-new
E book2015-newE book2015-new
E book2015-new
 
Loadแนวข้อสอบ นักโภชนาการ โรงพยาบาลราชวิถี
Loadแนวข้อสอบ นักโภชนาการ โรงพยาบาลราชวิถีLoadแนวข้อสอบ นักโภชนาการ โรงพยาบาลราชวิถี
Loadแนวข้อสอบ นักโภชนาการ โรงพยาบาลราชวิถี
 
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
 Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โรงพยาบาลราชวิถี
 Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โรงพยาบาลราชวิถี Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โรงพยาบาลราชวิถี
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โรงพยาบาลราชวิถี
 
นำเสนอหัวหน้างานแผน 59
นำเสนอหัวหน้างานแผน 59 นำเสนอหัวหน้างานแผน 59
นำเสนอหัวหน้างานแผน 59
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
 Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานสาธารณสุขปฏิบัติงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
 
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
 
2011 drug system_report
2011 drug system_report2011 drug system_report
2011 drug system_report
 
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จำเป็นและเหมาะสมสำหรับหญิงมีครรภ์
 
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
 
การตรวจโรคสตรีมีครรภ์
การตรวจโรคสตรีมีครรภ์การตรวจโรคสตรีมีครรภ์
การตรวจโรคสตรีมีครรภ์
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ โรงพยาบาลราชวิถี
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ โรงพยาบาลราชวิถีLoadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ โรงพยาบาลราชวิถี
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานเวชสถิติ โรงพยาบาลราชวิถี
 
006 7 cupชนบท
006 7 cupชนบท006 7 cupชนบท
006 7 cupชนบท
 
Loadแนวข้อสอบ นักทรัพยากรบุคคล โรงพยาบาลราชวิถี
Loadแนวข้อสอบ นักทรัพยากรบุคคล โรงพยาบาลราชวิถีLoadแนวข้อสอบ นักทรัพยากรบุคคล โรงพยาบาลราชวิถี
Loadแนวข้อสอบ นักทรัพยากรบุคคล โรงพยาบาลราชวิถี
 

More from Thira Woratanarat

Case studies of medical cannabis policy
Case studies of medical cannabis policyCase studies of medical cannabis policy
Case studies of medical cannabis policyThira Woratanarat
 
อยู่อย่างไรในยุคโควิด
อยู่อย่างไรในยุคโควิดอยู่อย่างไรในยุคโควิด
อยู่อย่างไรในยุคโควิดThira Woratanarat
 
Evidence based public health
Evidence based public healthEvidence based public health
Evidence based public healthThira Woratanarat
 
Evidence based public health (medical cannabis policy)
Evidence based public health (medical cannabis policy)Evidence based public health (medical cannabis policy)
Evidence based public health (medical cannabis policy)Thira Woratanarat
 
Commed2 2019 hanlon's method
Commed2 2019 hanlon's methodCommed2 2019 hanlon's method
Commed2 2019 hanlon's methodThira Woratanarat
 
Medical cannabis in thailand: Are we ready?
Medical cannabis in thailand: Are we ready?Medical cannabis in thailand: Are we ready?
Medical cannabis in thailand: Are we ready?Thira Woratanarat
 
กัญชา...ชัวร์ก่อนแชร์
กัญชา...ชัวร์ก่อนแชร์กัญชา...ชัวร์ก่อนแชร์
กัญชา...ชัวร์ก่อนแชร์Thira Woratanarat
 
Health literacy for NCDs prevention and control
Health literacy for NCDs prevention and controlHealth literacy for NCDs prevention and control
Health literacy for NCDs prevention and controlThira Woratanarat
 
Health literacy research and future direction
Health literacy research and future directionHealth literacy research and future direction
Health literacy research and future directionThira Woratanarat
 
Primary Health Care Systems: Thailand
Primary Health Care Systems: ThailandPrimary Health Care Systems: Thailand
Primary Health Care Systems: ThailandThira Woratanarat
 
ปรากฏการณ์ตูน: ภาพสะท้อนระบบสาธารณสุขไทย
ปรากฏการณ์ตูน: ภาพสะท้อนระบบสาธารณสุขไทยปรากฏการณ์ตูน: ภาพสะท้อนระบบสาธารณสุขไทย
ปรากฏการณ์ตูน: ภาพสะท้อนระบบสาธารณสุขไทยThira Woratanarat
 
Primary Health Care Systems (PRIMASYS): Case Study from Thailand, Abridged ve...
Primary Health Care Systems (PRIMASYS): Case Study from Thailand, Abridged ve...Primary Health Care Systems (PRIMASYS): Case Study from Thailand, Abridged ve...
Primary Health Care Systems (PRIMASYS): Case Study from Thailand, Abridged ve...Thira Woratanarat
 
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...Thira Woratanarat
 
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) 2017
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) 2017การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) 2017
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) 2017Thira Woratanarat
 
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์Thira Woratanarat
 
การจัดการปัญหาสุขภาพแนวใหม่ 2017
การจัดการปัญหาสุขภาพแนวใหม่ 2017การจัดการปัญหาสุขภาพแนวใหม่ 2017
การจัดการปัญหาสุขภาพแนวใหม่ 2017Thira Woratanarat
 

More from Thira Woratanarat (20)

Case studies of medical cannabis policy
Case studies of medical cannabis policyCase studies of medical cannabis policy
Case studies of medical cannabis policy
 
อยู่อย่างไรในยุคโควิด
อยู่อย่างไรในยุคโควิดอยู่อย่างไรในยุคโควิด
อยู่อย่างไรในยุคโควิด
 
Thailand Covid19 Situation
Thailand Covid19 SituationThailand Covid19 Situation
Thailand Covid19 Situation
 
Evidence based public health
Evidence based public healthEvidence based public health
Evidence based public health
 
Evidence based public health (medical cannabis policy)
Evidence based public health (medical cannabis policy)Evidence based public health (medical cannabis policy)
Evidence based public health (medical cannabis policy)
 
Commed2 2019 hanlon's method
Commed2 2019 hanlon's methodCommed2 2019 hanlon's method
Commed2 2019 hanlon's method
 
Medical cannabis in thailand: Are we ready?
Medical cannabis in thailand: Are we ready?Medical cannabis in thailand: Are we ready?
Medical cannabis in thailand: Are we ready?
 
กัญชา...ชัวร์ก่อนแชร์
กัญชา...ชัวร์ก่อนแชร์กัญชา...ชัวร์ก่อนแชร์
กัญชา...ชัวร์ก่อนแชร์
 
Health literacy for NCDs prevention and control
Health literacy for NCDs prevention and controlHealth literacy for NCDs prevention and control
Health literacy for NCDs prevention and control
 
Health literacy research and future direction
Health literacy research and future directionHealth literacy research and future direction
Health literacy research and future direction
 
Primary Health Care Systems: Thailand
Primary Health Care Systems: ThailandPrimary Health Care Systems: Thailand
Primary Health Care Systems: Thailand
 
Health care system 2018
Health care system 2018Health care system 2018
Health care system 2018
 
ปรากฏการณ์ตูน: ภาพสะท้อนระบบสาธารณสุขไทย
ปรากฏการณ์ตูน: ภาพสะท้อนระบบสาธารณสุขไทยปรากฏการณ์ตูน: ภาพสะท้อนระบบสาธารณสุขไทย
ปรากฏการณ์ตูน: ภาพสะท้อนระบบสาธารณสุขไทย
 
Primary Health Care Systems (PRIMASYS): Case Study from Thailand, Abridged ve...
Primary Health Care Systems (PRIMASYS): Case Study from Thailand, Abridged ve...Primary Health Care Systems (PRIMASYS): Case Study from Thailand, Abridged ve...
Primary Health Care Systems (PRIMASYS): Case Study from Thailand, Abridged ve...
 
SDG AND Songs
SDG AND SongsSDG AND Songs
SDG AND Songs
 
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
 
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) 2017
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) 2017การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) 2017
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) 2017
 
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
 
การจัดการปัญหาสุขภาพแนวใหม่ 2017
การจัดการปัญหาสุขภาพแนวใหม่ 2017การจัดการปัญหาสุขภาพแนวใหม่ 2017
การจัดการปัญหาสุขภาพแนวใหม่ 2017
 
Commed2 2017
Commed2 2017Commed2 2017
Commed2 2017
 

Area based health system evaluation

  • 1. โครงการต�าราร่วมระหว่าง คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล เวชศาสตร์ร่วมสมัย 2558เวชศาสตร์ร่วมสมัย 2558 CONTENT
  • 2. ii เวชศาสตร์ร่วมสมัย 2015 ISBN : 978-616-279-680-7 สงวนลิขสิทธิ์ โครงการต�าราร่วมระหว่าง คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะแพทยศาสตร์ศิริราช พยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล และคณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2558 จ�านวน 1,000 เล่ม ราคา 400 บาท พิมพ์ที่ บริษัท พี.เอ.ลีฟวิ่ง จ�ากัด 4 ซอยสิรินธร 7 บางพลัด กรุงเทพฯ 10700 โทรศัพท์ 0 2881 9890 CONTENTCOVER
  • 3. กรณีศึกษาการประเมินระบบบริหารจัดการ เขตบริการสุขภาพไทย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์1 รศ.ดร.พญ.ภัทรวัณย์ วรธนารัตน์2 1 ส�านักงานวิจัยและพัฒนาเพื่อการแปรงานวิจัยสุขภาพสู่การปฏิบัติ ภาควิชาเวชศาสตร์ป้องกันและสังคม คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2 คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ความเป็นมา จากการที่กระทรวงสาธารณสุขได้ด�าเนินการปฏิรูประบบบริหารจัดการระบบสุขภาพของ ประเทศไทย โดยพัฒนาระบบบริหารจัดการเขตบริการสุขภาพ แบ่งออกเป็น 12 เขตสุขภาพ ตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2556 โดยมีการจัดคณะกรรมการนโยบายสาธารณสุขแห่งชาติ (National Health Policy Board, NHPB) เพื่อเป็นกลไกทางนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพของประเทศ รวมถึง การจัดตั้งให้มี National Health Service Board (NHSB) มีบทบาทก�ากับดูแลการด�าเนินงานของ Area Health Board พัฒนารูปแบบกระบวนการระบบบริการสุขภาพเพื่อคนไทย จัดหลักประกัน สุขภาพภายในระบบบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ ทั่วถึง เท่าเทียม และเป็นธรรม และพัฒนารูปแบบ ระบบบริการสุขภาพสู่การกระจายอ�านาจที่รักษาไว้ซึ่งความเข้มแข็งของระบบบริการเพื่อประชาชน ทั้งนี้ได้มีการก�าหนดให้แต่ละพื้นที่เขตบริการสุขภาพมีโครงสร้างคณะกรรมการสุขภาพระดับเขต(Area Health Board) เพื่อให้มีบทบาทบริหารเขตเครือข่ายบริการแบบบูรณาการ เสริมสร้างความมีส่วน ร่วมของท้องถิ่นและชุมชนและพัฒนาระบบสุขภาพในระบบฐานรากที่มีประชาชนร่วมรับผิดชอบระบบ สุขภาพเพื่อสังคมอยู่เย็นเป็นสุข นอกจากนี้ยังได้มีนโยบายก�าหนดให้มีคณะกรรมการติดตามประเมิน ผลทั้งภายใน และภายนอกกระทรวงสาธารณสุข อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติแล้ว ส�านักผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขได้มีการท�างาน โดยจ�าแนกแผนการท�างานเป็นแผนบริการแผนส่งเสริมสุขภาพและควบคุมป้องกันโรคแผนกฎหมาย และการคุ้มครองผู้บริโภค และแผนบริหารจัดการ ซึ่งแนวทางดังกล่าวมีความแตกต่างกับนโยบายเขต บริการสุขภาพอยู่พอสมควร โดยเฉพาะเรื่องโครงสร้างการสั่งการ การท�างาน และระบบการติดตาม ก�ากับประเมินผล CONTENTCOVER
  • 4. 662 กรณีศึกษาการประเมินระบบบริหารจัดการเขตบริการสุขภาพไทย ทั้งนี้การจะท�าการก�ากับ ติดตาม และประเมินผลการด�าเนินงานของแต่ละเขตให้เป็นไปได้ อย่างมีประสิทธิภาพนั้น ต้องค�านึงถึงปัจจัยแวดล้อมที่มีความแตกต่างกันในแต่ละเขต เช่น โครงสร้าง พื้นฐานที่มีความบริบูรณ์เพียบพร้อมมากน้อยแตกต่างกันทั้งเรื่องก�าลังคนงบประมาณลักษณะการก ระจายของปัญหาสุขภาพ รวมไปถึงปัจจัยด้านการเมืองการปกครองระดับท้องถิ่น เป็นต้น ถึงแม้ผู้ บริหารกระทรวงสาธารณสุขจะพยายามจัดท�าตัวชี้วัดผลการด�าเนินงานของแต่ละเขตสุขภาพจ�านวน 44 ตัวชี้วัด จ�าแนกตามยุทธศาสตร์หลัก 3 ด้านแล้วก็ตาม แต่หลายตัวชี้วัดก็อาจไม่เหมาะสมในการใช้ เพื่อท�าการติดตาม ก�ากับ ประเมินผลด้วยเหตุผลดังกล่าวข้างต้น อันจะน�ามาซึ่งความไม่เป็นธรรมใน การใช้ประเมินผลการด�าเนินงานทั้งภายในเขตสุขภาพเดียวกัน และระหว่างเขตสุขภาพ กระบวนการประเมินระบบบริหารจัดการเขตบริการสุขภาพ คณะผู้วิจัยน�าโดยผศ.นพ. ธีระ วรธนารัตน์ และคณะ ได้รับการสนับสนุนโดยสถาบันวิจัย ระบบสาธารณสุข ได้ท�าการศึกษาสถานการณ์การด�าเนินการตามนโยบายเขตบริการสุขภาพตั้งแต่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2556 ถึง 30 กันยายน พ.ศ. 2557 ภายหลังจากที่กระทรวงสาธารณสุขได้ประกาศ นโยบายเขตบริการสุขภาพอย่างเป็นทางการในเดือนตุลาคมพ.ศ.2556โดยจ�าแนกเขตบริการสุขภาพ ตามรูปที่ 1 คณะผู้วิจัยได้ท�าการลงพื้นที่เพื่อประเมินสมรรถนะในการด�าเนินงานของเขตบริการสุขภาพ โดยมีกรณีศึกษาตัวอย่างจ�านวน 4 เขต ได้แก่ เขต 2 เขต 5 เขต 7 และ เขต 11 และท�าการเก็บรวบรวม ข้อมูลทุติยภูมิตั้งแต่เรื่องปัจจัยน�าเข้าสู่ระบบ กระบวนการด�าเนินงานตามนโยบาย รวมถึงผลผลิตที่ เกิดขึ้นจากการด�าเนินนโยบาย พร้อมกับการออกแบบสอบถามเพื่อเก็บข้อมูลปฐมภูมิเกี่ยวกับ ความคิดเห็นต่อนโยบาย, ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นหลังด�าเนินนโยบาย, ปัจจัยที่เกื้อหนุน และ อุปสรรค, ผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นในพื้นที่, ลักษณะการอภิบาลระบบเขตบริการสุขภาพ, และ ข้อเสนอแนะต่อกระทรวงสาธารณสุข ทั้งนี้แบบสอบถามดังกล่าวจะใช้เพื่อรวบรวมข้อมูลผ่านการ ส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์ การสอบถามทางโทรศัพท์ และการนัดสัมภาษณ์เชิงลึกแบบเผชิญหน้า และแบบสนทนากลุ่ม กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกระดับในแต่ละพื้นที่ ตั้งแต่ผู้ตรวจราชการ สาธารณสุข นิเทศก์สาธารณสุขจังหวัดผู้อ�านวยการโรงพยาบาลศูนย์ผู้อ�านวยการโรงพยาบาลทั่วไปผู้อ�านวยการ โรงพยาบาลชุมชน สาธารณสุขอ�าเภอ ผู้อ�านวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�าบล รวมถึงบุคลากร ที่สังกัดหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง และภาคประชาสังคม ในพื้นที่เขต 2, 5, 7 และ 11 จ�านวน 174 ราย โดยมีระยะเวลาเก็บรวบรวมข้อมูลตั้งแต่เดือนมีนาคม-กันยายน พ.ศ. 2556 อย่างไรก็ดี บทความนี้จะน�าเสนอข้อมูลระดับมหภาคจากการศึกษาวิจัยเท่านั้น CONTENTCOVER
  • 5. 663 ธีระ วรธนารัตน์ รูปที่ 1. การจัดผังบริการสุขภาพที่เป็นเครือข่ายบริการสุขภาพ เขต 1-12 CONTENTCOVER
  • 6. 664 กรณีศึกษาการประเมินระบบบริหารจัดการเขตบริการสุขภาพไทย สิ่งที่ค้นพบจากการศึกษา จากผลการรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ และทุติยภูมิจากทุกกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากการ ด�าเนินนโยบายเขตบริการสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข พบประเด็นที่ส�าคัญไล่เรียงตามห่วงโซ่ ระบบบริการดังนี้ ปัญหาหลักในการด�าเนินนโยบายเขตบริการสุขภาพ 1. ภาวะสับสนในทิศทางหลัก (loss of direction) กล่าวคือแต่ละเขตบริการสุขภาพมี ทิศทางการด�าเนินการที่แตกต่างกัน ตั้งแต่ระดับบริหาร จนถึงระดับปฏิบัติการ ที่ส�าคัญ คือ ผู้บริหาร เขตบริการสุขภาพแต่ละพื้นที่มีความเข้าใจสาระนโยบายในระดับที่ต่างกัน และมีผลต่อการวางแผน ยุทธศาสตร์ระดับเขต และแผนปฏิบัติการแต่ละระดับที่แตกต่างกันตามล�าดับ 2. ความไม่ส�าเร็จในการด�าเนินงานตามแผนที่วางไว้(failuretoimplementation)โดย เฉพาะเรื่องการด�าเนินงานด้านโครงสร้างการท�างานระดับเขต ซึ่งล้วนมีปัญหาจากการขาดการ สนับสนุนด้านตัวบทกฎหมายหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องและความไม่ชัดเจนในต�าแหน่งบทบาทหน้าที่ ความรับผิดชอบรวมถึงความก้าวหน้าในบันไดอาชีพท�าให้ประสบความยากล�าบากในการหาบุคลากร มาด�าเนินงานส่วนใหญ่จึงต้องแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าโดยการยืมตัวข้าราชการจากหน่วยงานต่างๆใน เขตมาดูแล และรับผิดชอบภาระงานแบบควบ 3. ความเกรงกลัวในการปฏิบัติงาน (pervasive fear) ภาวะกลัวที่จะปฏิบัติงานตาม นโยบายเขตบริการสุขภาพ จึงเลือกที่จะนิ่งเฉยหรือท�าน้อย มากกว่าจะด�าเนินการเต็มที่ พบในทุกเขต ที่ท�าการส�ารวจข้อมูล โดยเฉพาะอย่างยิ่งบุคลากรระดับจังหวัด ทั้งต�าแหน่งบริหาร และปฏิบัติการ ทั้งนี้เนื่องจากความไม่แน่ใจในสายบังคับบัญชาและอิทธิพลทางการเมืองที่มีผลต่อทิศทางของนโยบาย เขตบริการสุขภาพดังที่ปรากฏชัดในช่วงอึมครึมทางการเมืองที่ผ่านมาตั้งแต่ พ.ศ. 2556-58 4. ความไม่ไว้ใจระหว่างกัน (crisis of trust) เป็นผลกระทบต่อเนื่องจากการด�าเนิน นโยบายเขตบริการสุขภาพที่ก่อให้เกิดความไม่สมดุลของพลัง(powerimbalance)โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งระดับบริหารแต่ละระดับทั้งนี้ผู้บริหารระดับจังหวัดจ�านวนไม่น้อยที่แสดงออกถึงความไม่ไว้ใจหรือ ความกังวลว่า อ�านาจบริหารจัดการระดับจังหวัดจะถูกลดทอน หรือเบียดบังโดยอ�านาจบริหารระดับ เขต นอกจากนี้ยังกังวลเรื่องอคติที่อาจเกิดขึ้นจากความไม่ชัดเจนระหว่างสมดุลอ�านาจของผู้บริหาร เขตบริการสุขภาพ กับอ�านาจบริหารของผู้ว่าราชการจังหวัด และสาธารณสุขจังหวัด ด้านปัจจัยน�าเข้าสู่ระบบ (inputs) ความแตกต่างทางต้นทุนพื้นฐานในระบบของแต่ละเขตบริการสุขภาพ (capital differences) จากข้อมูลน�าเข้าพื้นฐานของแต่ละเขตบริการสุขภาพร่วมกับผลการส�ารวจความคิดเห็นใน องค์ประกอบต่างๆ ของระบบสุขภาพตามกรอบแนวคิดขององค์การอนามัยโลก 6 องค์ประกอบ ที่ เรียกว่า “six building blocks” อันประกอบด้วย ก�าลังคนด้านสุขภาพ ระบบสารสนเทศ เวชภัณฑ์/ เครื่องมือและเทคโนโลยีทางการแพทย์รูปแบบการจัดระบบบริการลักษณะผู้น�าและการการอภิบาล CONTENTCOVER
  • 7. 665 ธีระ วรธนารัตน์ ระบบ และกลไกการเงินการคลัง/งบประมาณ จะพบว่า แต่ละเขตบริการสุขภาพมีความแตกต่างกัน อย่างสิ้นเชิงตั้งแต่เรื่องโอกาสการเริ่มทดลองด�าเนินการตามนโยบายเขตบริการสุขภาพรวมถึงต้นทุน พื้นฐานในระบบที่มีอยู่มาก่อนการด�าเนินนโยบาย หากจ�าแนกตามหลักคิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน หรือ sustainable development(1) จะ พบว่าความแตกต่างทั้งหลายทั้งมวล สามารถจ�าแนกออกเป็น 5 เรื่องหลัก ได้แก่ 1. ทุนมนุษย์ (human capital) ในที่นี้หมายถึงทรัพยากรบุคคล ทั้งในเรื่องปริมาณ และ คุณลักษณะ/อุปนิสัยใจคอ/ทักษะ/ประสบการณ์ ตั้งแต่ระดับบริหารไปจนถึงระดับปฏิบัติการ 2. ทุนสังคม (social capital) ในที่นี้หมายรวมถึงการมีอยู่ขององค์ประกอบทางสังคมใน พื้นที่ที่จะช่วยหนุนเสริมหรือเป็นอุปสรรคต่อการด�าเนินงานตามนโยบายอาทิเช่นความเข้มแข็งของ สถาบันวิชาการในพื้นที่ รวมถึงสัมพันธภาพระหว่างหน่วยงาน หรือระหว่างภาคส่วนต่างๆ ในสังคม 3. ทุนการเงิน (financial capital) ในที่นี้หมายรวมถึงงบประมาณตั้งต้นที่มีอยู่ในระบบ และความมั่นคงพื้นฐานทางการเงินของหน่วยงานภายในเขตบริการสุขภาพ 4. ทุนการผลิต (produced/Manufactured capital) ในที่นี้หมายรวมตั้งแต่ปัจจัยน�า เข้าพื้นฐานด้านยุทธศาสตร์ของแต่ละเขตองค์ประกอบที่ส�าคัญในการด�าเนินตามนโยบายการออกแบบ กลไกการท�างานของแต่ละเขต กระบวนการที่ด�าเนินจริงในพื้นที่ และความสมดุลระหว่างอุปสงค์ อุปทานในห่วงโซ่บริการของแต่ละพื้นที่ ตั้งแต่ระดับเขตลงไปจนถึงล่างสุด 5. ทุนธรรมชาติ(naturalcapital)ในที่นี้หมายถึงลักษณะทางภูมิศาสตร์อันมีผลต่อการ เอื้อหรือการเป็นอุปสรรคต่อการติดต่อสื่อสาร การคมนาคมขนส่งระหว่างกันในพื้นที่ ด้านกระบวนการด�าเนินนโยบายเขตบริการสุขภาพ (process) การพบช่องทางพัฒนาสู่การด�าเนินรัฐกิจที่ดีในทุกเขตที่คล้ายกัน (similar development channels toward good governance) มาตรวัดพื้นฐานด้านการด�าเนินรัฐกิจที่ดี(2-4) หรือที่เรารู้จักกันในค�าว่าpublicgovernance นั้น มักได้รับการประเมินผ่าน 4 ประเด็นหลัก ได้แก่ การรับรู้ต่อธรรมาภิบาลของการบริหารจัดการ ของผู้เกี่ยวข้อง (governance perception) อิสรภาพด้านการมีส่วนร่วมของประชาสังคม (civil freedomandengagement)ประสิทธิภาพของการด�าเนินงานภาครัฐ(governmenteffectiveness) และความเข้มแข็งของตัวบทกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการด�าเนินงาน (legal and regulation system) ส�าหรับประเด็นการรับรู้ต่อธรรมาภิบาลของการบริหารจัดการหากพิจารณาผลการส�ารวจ ความคิดเห็นต่อลักษณะการอภิบาลระบบเขตบริการสุขภาพโดยใช้แนวทางการประเมินธรรมาภิบาล โดยคร่าวของ UNDP(5) จะพบว่า กระบวนการด�าเนินนโยบายเขตบริการสุขภาพได้รับการประเมินว่า ควรที่จะพัฒนาให้ดีขึ้นกว่านี้ใน 4 เรื่องใหญ่ ได้แก่ กลไกการตรวจสอบการด�าเนินงาน การเปิดช่อง ทางรับฟังผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่าย การตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนในพื้นที่ และเรื่อง ความเท่าเทียมและเสมอภาค CONTENTCOVER
  • 8. 666 กรณีศึกษาการประเมินระบบบริหารจัดการเขตบริการสุขภาพไทย ประเด็นที่สองคือเรื่องอิสรภาพด้านการมีส่วนร่วมของประชาสังคมนั้นเป็นที่ชัดเจนทั้งจาก ข้อมูลที่ได้จากค�าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการตั้งแต่ระดับกระทรวงจนถึงระดับพื้นที่ในแต่ละเขต รวมถึง จากการสัมภาษณ์เชิงลึกกับตั้งแต่ระดับบริหารจนถึงระดับปฏิบัติการ พบว่า ยังไม่มีหลักฐานเชิง ประจักษ์อันใดที่แสดงถึงการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคม ในการบริหารจัดการ และด�าเนินงาน ตามนโยบายเขตบริการสุขภาพ ส�าหรับประเด็นประสิทธิภาพของการด�าเนินงานภาครัฐนั้น หนทางที่มักใช้ในการประเมิน ประสิทธิภาพคือ การบรรลุเป้าหมายของการด�าเนินงานตามที่ระบุไว้ในแผนยุทธศาสตร์ และแผน ปฏิบัติการ อย่างไรก็ดี ในระยะเวลา 9 เดือนของการเก็บรวบรวมข้อมูลของแต่ละเขต พบว่าแม้สาระ นโยบายเขตบริการสุขภาพตอนเริ่มต้นจะเป็นแบบเดียวกัน แต่ความเข้าใจสาระนโยบายของผู้บริหาร และผู้ปฏิบัติงานในแต่ละระดับ ในแต่ละเขตนั้นมีความแตกต่างกัน ท�าให้แผนยุทธศาสตร์และแผน ปฏิบัติการในแต่ละเขตจึงมีความแตกต่างกันอย่างมาก นอกจากนี้ยังไม่สามารถรวบรวมข้อมูลเชิง ประจักษ์ที่ระบุผลผลิต และผลลัพธ์ของการด�าเนินงานได้อย่างเพียงพอ จึงยากในการที่จะสรุปได้ว่า ประสิทธิภาพของการด�าเนินนโยบายเขตบริการสุขภาพในช่วงปีงบประมาณ พ.ศ. 2557 ที่ผ่านมานั้น ดีหรือไม่ อย่างไร และไม่สามารถที่จะน�ามาเปรียบเทียบกันระหว่างเขตด้วยเกณฑ์ที่เหมาะสมหรือ ยุติธรรมได้ อย่างไรก็ดีจากการสัมภาษณ์เชิงลึกจากทุกฝ่ายในแต่ละเขตกลับมีข้อมูลชี้น�าไปในทิศทาง เดียวกันว่า สถานการณ์ดังกล่าวกลับเป็นโอกาสดี ที่จะสรุปได้ว่า นโยบายเขตบริการสุขภาพนั้นมีหลัก การที่ดี แต่ยังมีปัญหาในทางปฏิบัติ ที่ควรมีกลไกการแปรสาระนโยบายให้สอดคล้องกับบริบทที่แตก ต่างกันในแต่ละพื้นที่ ทั้งระดับเขต และระดับย่อยลงไปกว่านั้น อันจะมีผลท�าให้ตัวชี้วัดประสิทธิภาพ การด�าเนินงานภาครัฐของแต่ละพื้นที่ควรที่จะประกอบด้วย2ส่วนหลักได้แก่ตัวชี้วัดหลักที่ใช้เปรียบ เทียบระหว่างพื้นที่ และตัวชี้วัดเฉพาะพื้นที่ ประเด็นของตัวบทกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับการด�าเนินงานนั้น ดูจะเป็นเรื่องที่ ชัดเจนจากทุกพื้นที่ว่า การด�าเนินนโยบายเขตบริการสุขภาพจ�าเป็นต้องมีการค�านึงถึงกฎหมายและ ระเบียบ ที่จะรองรับให้สามารถด�าเนินการในพื้นที่ได้จริง CONTENTCOVER
  • 9. 667 ธีระ วรธนารัตน์ บทวิเคราะห์เพื่อการพัฒนา จากปัญหาที่ค้นพบในพื้นที่หากน�ามาวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ระหว่างแต่ละปัญหากับปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นด้านปัจจัยน�าเข้าและด้านกระบวนการ ด�าเนินนโยบายโดยใช้วิธีวิเคราะห์สนามแรงจะสามารถวิเคราะห์ได้ดังตารางที่1 ตารางที่1.การวิเคราะห์สนามแรงเพื่อแสดงความสัมพันธ์ระหว่างปัญหากับปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นด้านปัจจัยน�าเข้าและด้านกระบวนการด�าเนินนโยบาย +หมายถึงระดับความสัมพันธ์+:ระดับต�่า++:ระดับปานกลาง+++:ระดับสูง) CONTENTCOVER
  • 10. 668 กรณีศึกษาการประเมินระบบบริหารจัดการเขตบริการสุขภาพไทย กลยุทธ์ในการแก้ไขปัญหาและใช้ในการวางแผนพัฒนาเขตบริการสุขภาพให้มีประสิทธิภาพตอบสนองต่อความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกฝ่ายและ สามารถด�ารงอยู่ได้อย่างยั่งยืนสามารถน�าเสนอได้ผ่านการวิเคราะห์โดยวิธีSWOTและTOWSMatrixดังตารางที่2 ตารางที่2.SWOTanalysisandTOWSmatrixเพื่อวิเคราะห์ระบบเขตบริการสุขภาพและสังเคราะห์กลวิธีในการพัฒนาสู่เป้าหมาย CONTENTCOVER
  • 12. 670 กรณีศึกษาการประเมินระบบบริหารจัดการเขตบริการสุขภาพไทย บทสรุปและข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อการพัฒนาระบบเขตบริการสุขภาพไทย จากการศึกษาวิจัยครั้งนี้ การพัฒนาระบบเขตบริการสุขภาพให้มีประสิทธิภาพ สามารถ ตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนในพื้นที่ และด�ารงอยู่อย่างยั่งยืน กระทรวงสาธารณสุขควร ที่จะพิจารณาด�าเนินการดังต่อไปนี้ กลยุทธ์ว่าด้วยเรื่องก�าลังคน “เปิดช่องทางให้เกิดการมีส่วนร่วมขับเคลื่อนนโยบายเขตบริการสุขภาพ โดยตัวแทนจาก ภาคประชาชนและภาคเอกชนเพื่อหวังผลในการสร้างการยอมรับระดมทรัพยากรและเพื่อลดภาระ บุคลากรภาครัฐในระยะยาว” กลยุทธ์ว่าด้วยระบบสารสนเทศ “พัฒนาระบบสารสนเทศระดับพื้นที่ให้ครอบคลุมและมีประสิทธิภาพโดยสามารถรองรับ และตอบสนองต่อผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงเชิงประชากรศาสตร์จากนโยบายระหว่างประเทศ ให้ได้” กลยุทธ์ว่าด้วยการจัดการเวชภัณฑ์ เครื่องมือ และเทคโนโลยีทางการแพทย์ “เผยแพร่กรณีศึกษาว่าด้วยเรื่องความส�าเร็จในการบริหารจัดการที่ก่อให้เกิดความคุ้มค่า เช่น การจัดซื้อยา เครื่องมือแพทย์ ให้ทุกพื้นที่ในประเทศพิจารณาด�าเนินการตาม และพิจารณาความ เป็นไปได้ที่จะต่อยอดไปถึงระดับประเทศ” กลยุทธ์ว่าด้วยการจัดระบบบริการ “ผนึกก�าลังกับสมัชชาสุขภาพระดับพื้นที่เพื่อขับเคลื่อนงานตามแผนยุทธศาสตร์และแผน ปฏิบัติการที่ยังไม่ประสบผลส�าเร็จ อาทิเช่น การพัฒนาระบบส่งต่อผู้ป่วยภายในเขต การแก้ไขปัญหา การขาดทุนของสถานพยาบาล” “ปรับค่านิยมการใช้บริการสาธารณสุขของประชาชนโดยประยุกต์ใช้แนวคิดด้านการตลาด และประชาสัมพันธ์ใหม่ๆ โดยเน้นให้เกิดความตระหนักถึงความจ�าเป็นของการดูแลและพึ่งตนเอง ภายในพื้นที่ โดยใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าเท่าที่จ�าเป็น” “จัดท�าแผนจัดการความเสี่ยงเพื่อลดผลกระทบต่อระบบบริการสุขภาพในแต่ละพื้นที่จาก นโยบาย AEC ที่มีผลต่อการเคลื่อนย้ายประชากรต่างชาติมาในประเทศไทยและการเปลี่ยนแปลงของ สังคม” CONTENTCOVER
  • 13. 671 ธีระ วรธนารัตน์ “ประเมินความเป็นไปได้ในการพัฒนาเขตบริการสุขภาพ ร่วมกับภาคส่วนอื่นๆ เช่น ภาค เอกชนโดยอาจประสานประโยชน์แล้วเล่นสนามเดียวกันหรือแบ่งสนามเล่นทั้งนี้ทั้งนั้นให้ยึดถือหลัก ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการ” “พัฒนาระบบติดตาม ก�ากับ ประเมินผลการด�าเนินนโยบายเขตบริการสุขภาพที่ค�านึงถึง ความคาดหวังของประชาชนด้วย มิใช่อิงตามมิติของผู้จัดบริการแต่เพียงอย่างเดียว” กลยุทธ์ว่าด้วยการอภิบาลระบบ “ประชาสัมพันธ์สู่สาธารณะโดยใช้กระแสนโยบายคู่ขนานของรัฐบาล เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจตระหนักยอมรับนโยบายเขตบริการสุขภาพของทุกภาคส่วนและขับเคลื่อนในแต่ละพื้นที่ ไปในทิศทางเดียวกัน” “อาศัยสถานการณ์การเมืองที่นิ่ง ท�าการผลักดันให้มีกฎหมายหรือระเบียบที่จ�าเป็นต้องใช้ เพื่อรองรับการด�าเนินการตามนโยบายเขตบริการสุขภาพ” “ให้ค�านึงว่าทุกนโยบายที่ออกมา จะมีทั้งผู้มีส่วนได้ และส่วนเสียเสมอ ดังนั้นจึงควร วิเคราะห์ผลกระทบต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียแต่ละฝ่ายและสร้างสมดุลอ�านาจแบบใหม่ที่พอเป็นที่ยอมรับ ได้ในแต่ละฝ่ายเช่นการผันอ�านาจการบริหารจัดการจากฝ่ายหนึ่งไปสู่อ�านาจการตรวจสอบเพื่อถ่วงดุล” กลยุทธ์ว่าด้วยการจัดการกลไกการเงินการคลังและทรัพยากร “จัดสรรทรัพยากรแบบร่วม โดยควบการพิจารณาจัดสรรทรัพยากรตามนโยบายคู่ขนาน ของรัฐบาล เพื่อเป็นโอกาสในการลงทุนหรือพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่จ�าเป็นในการด�าเนินนโยบาย เขตบริการสุขภาพ” “พิจารณาความเป็นไปได้ในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานส�าหรับการด�าเนินการตามนโยบาย เขตบริการสุขภาพ โดยใช้กลไกร่วมลงทุนระหว่างรัฐ เอกชน และท้องถิ่น เพื่อร่วมกันรับผิดชอบ ประชากรในพื้นที่และร่วมจัดการความเสี่ยงจากการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองเศรษฐกิจและสังคม” CONTENTCOVER
  • 14. 672 กรณีศึกษาการประเมินระบบบริหารจัดการเขตบริการสุขภาพไทย เอกสารอ้างอิง 1. Goodwin NR. Five Kinds of Capital: Useful Concepts for Sustainable Development. GlobalDevelopmentandEnvironmentalInstitute,TuftsUniversity,Massachusetts, USA, 2003. 2. Cheibub JA. Human Development Research Paper 2010/41. UNDP. 3. The World Bank Economic Review 2013; 11(2):219-42. 4. Siudek T, Zawojska A. Quality of National Governance and Rural Development. European Association of Agricultural Economists (EAAE), 2014. 5. GrahamJ,AmosB,PlumptreT.PrinciplesforGoodGovernanceinthe21stCentury. Policy Brief No.15, Institute on Governance, Canada, 2003. CONTENTCOVER