SlideShare a Scribd company logo
1 of 76
สารบัญ
                       ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 111 พฤษภาคม 2553
                              www.consumerthai.org




  9                           17                               26                          30

เรื่องเด่น                                                         กฎหมาย
9	 “ลิขสิทธิ์	=	ปิดโอกาส?”	                                        48		รู้กฎหมายกับทนายอาสา		
ความเคลื่อนไหว                                                     	   “การรอนสิทธิคืออะไร”
                                                                   	
3	 กระแสในประเทศ		                                                 อาหารและสุขภาพ
6		 กระแสต่างแดน	                                                  49	 ของฝากจากอินเตอร์เน็ต	
64	 สารพันปัญหาโทรคมนาคม	                                          	
                                                         “ความเข้าใจผิดๆ
ถูกๆ
เกี่ยวกับอาหาร
ตอนที่
1”
	 “อ่านไว้ไม่ให้เป็นเหยื่อ(การหลอกลวงทางโทรศัพท์)”
 52	 สวยอย่างฉลาด	
ทดสอบ                                               	 “เคล็ดไม่ลับ
ของการดูแลเล็บมือ”
17	 ผลทดสอบ	เห็ดหอม	เห็ดหูหนูขาว		                  54	 ช่วง	ฉลาด	ช้อป	
	 และสาหร่ายทะเล	                                   	 “เมื่อน่านฟ้าถูกปิด
ผู้บริโภคทำอะไรได้บ้าง

26	 ครีมไวท์เทนนิ่ง	ทดสอบความพึงพอใจ	 	             
 ตอนที่
1”
30	 ซูม	!	ผู้ผลิตกล้องดิจิทัล		                     57	 เรื่องเล่าเฝ้าระวัง	
	 วันนี้บริษัทมีความรับผิดชอบต่อสังคมแค่ไหน	        	 “ชาโอเว่อร์”
                                                    68	 เรื่องเรียงเคียงจาน	
สัมภาษณ์                                            	 “เมนูเด็ดจากมะขามเพาะ”	
35	 ทุกคนมีสิทธิ	
	 “รุจน์
โกมลบุตร
การเป็นอาจารย์นี่ก็ทวีคูณ
        หน้าต่างผู้บริโภค

 เหมือนกัน”
                                       58	 คุยกับคน	
                                                    
 “The
Power
of
Half”
(ตอนที่
2)
เสียงผู้บริโภค                                      61	 Connecting		
41	 •	เมียเก่าอยากปลดกระดูก
                                                    
 “ศาสตร์แห่งการกิน(ตอนสุดท้าย)”
	 •	สาวใหญ่โดน
sms
ลามก
                                                    65	 มีอะไรใน	โคด-สะ-นา	
	 •	สงสัยครีมหมอจุฬา
ใช้แล้วเสี่ยง
                                                    	 “ฝากเงิน..แถมฝากใจ”
	 •	ถูกโครงการบ้านจัดสรรไม่ยอมขายบ้านให้

          

 
 อ้างเหตุ“กลัวลูกค้าป่วน
                        Game

 •	ภัยไม่คาดฝันจากห้างค้าปลีกยักษ์
                72		 ปัญหาสร้างปัญญา
บทบรรณาธิการ
                                                                     สารี	อ๋องสมหวัง		saree@consumerthai.org	



 GMOs
Turn
Around
ผู้บริโภคตัดสินใจอย่างไร
          ภาคธุรกิจการเกษตรจากหลายกลุ่ม	ได้เข้าพบอดีต         ฝ่ายต่างมีข้อมูล	บริษัทก็ทำงานวิจัยของตนเอง	ถึงแม้จะมี
นายกอานันท์	ปันยารชุน	ประธานกรรมการแก้ไขปัญหา                 นักวิชาการ	(รับจ้าง)	รับประกันเรื่องความปลอดภัย	ว่าใช้
การปฏิบัติตามมาตรา	67	วรรค	2	ของรัฐธรรมนูญแห่ง                สารเคมีน้อยลง	แต่นักวิชาการอีกกลุ่มยืนยันการใช้สารเคมี
ราชอาณาจักรไทย	เรื่ององค์การอิสระสิ่งแวดล้อม	เพื่อยื่น        ไม่ลดลง	แถมผูกขาดการใช้สารเคมีของบริษัทตนเองอีก
หนังสือขอให้พิจารณาถอดถอน	โครงการที่	18	“การทำ                ต่างหาก	ฟังอย่างนี้แล้วผู้บริโภคคงไม่กล้ายอมรับว่า
เกษตรกรรมเชิงการค้าเกี่ยวกับวัตถุดิบ	การผลิตอาหารที่          ปลอดภัยจริง	เพราะทำไมบริษัทใหญ่	ๆ	ถึงมีนโยบายไม่ใช้
เกี่ยวเนื่องกับสิ่งมีชีวิตตัดต่อพันธุกรรม	(GMO)”	ออกจาก       ผลิตภัณฑ์จีเอ็มโอในยุโรป	นี่ยังไม่นับรวมถึงปัญหาการ
บัญชีประเภทกิจการที่อาจก่อผลกระทบอย่างรุนแรงตาม		             ผูกขาดเมล็ดพันธุ์	ระบบทรัพย์สินทางปัญญา	การทำลาย
ม.67	วรรค	2	แถมขู่ไว้ว่าหากยังไม่มีการถอดถอนหรือ	             ความหลากหลายทางชีวภาพที่ยังไม่มีใครกล้าตอบเรื่องนี้		
เปลี่ยนแปลงใดๆทางกลุ่มจะดำเนินการเรียกร้องความเป็น                    แม้แต่ล่าสุดต้นเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา	องค์กร	   	
ธรรมต่อศาลปกครองต่อไป		                                       ผู้บริโภค	(Consumers	Union)	ในประเทศสหรัฐอเมริกา	
          ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับผู้บริโภค	เห็นจะเป็นว่า	       ได้กดดัน	รัฐบาลโอบามาให้ยอมรับหลักเกณฑ์ของ	     	
หากปล่อยให้	โครงการหรือกิจกรรมเกี่ยวกับการทำ                  คณะกรรมการกำหนดมาตรฐานอาหารระหว่างประเทศ	           	
เกษตรกรรมเชิงการค้าเกี่ยวกับ	วัตถุดิบการผลิตอาหาร	      	     (CODEX)	และเรื่องนี้มีคนอเมริกาสนับสนุนมากถึง	
ที่เกี่ยวเนื่องกับ	GMO	(genetically	modified	                 110,000	คน	http://www.consumersunion.org/pdf/
organism)	ไม่ต้องศึกษาผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม(EIA)              Codex-comm-ltr-0410.pdf.		
และสุขภาพ(HIA)		ซึ่งแทนที่จะทำให้เกิดความชัดเจนทั้ง                   นอกจากโอกาสในการปนเปื้อนหากไม่ทำการศึกษา
สองฝ่าย	จะทำให้เกิดความขัดแย้งทั้งกับเกษตรกร	ชุมชน	           ให้ดีแล้ว	ย่อมส่งผลต่อทางเลือกของผู้บริโภคที่น่าจะน้อย
ผู้บริโภค	และโอกาส	ที่โครงการเหล่านี้	จะหลุดรอด	      	       ลงไปเรื่อย	ๆ	รวมทั้งละเมิดสิทธิในการได้รับข้อมูลที่
ปนเปื้อนกับพืชทั่วไป	ย่อมเป็นไปได้	และมีหลักฐานเชิง           เป็นความจริง	และสิทธิในการเลือกซื้อ		
ประจักษ์ยืนยันมาแล้วกรณีการปนเปื้อนมะละกอจีเอ็มโอ                     ทำไมบริษัทธุรกิจการเกษตรเหล่านี้	จึงกลัวการทำ	
ในหลายจังหวัด		                                               HIA	และ	EIA	ตามมาตรา	67	วรรค	2	แต่เลือกใช้การ	       	
          การอ้างว่า	จีเอ็มโอ	ปลอดภัย	และไม่ต้องศึกษา         ล็อบบี้	จ้างนักวิชาการ	มาตรการข่มขู่	หากแน่จริงและคิดว่า
ผลกระทบดูจะฟังไม่ขึ้น	เพราะความปลอดภัยของ	GMO	                ทำตามมาตรฐานสากลแล้วจะกลัวอะไรกับการทำ	HIA	
หากจะเถียงกัน	คงจะไม่จบ	เพราะยืนคนละมุมชัดเจน	ต่าง            หรือ	EIA	หรือที่แท้ไม่แน่จริงอย่างราคาคุย	

เจ้าของ : มูลนิธเิ พือผูบริโภค 4/2 ซอยวัฒนโยธิน แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท : 0-2248-3734-7
                     ่ 
โทรสาร : 0-2248-3733 บรรณาธิการผูพมพผโฆษณา : สารี อองสมหวัง คณะทีปรึกษา : พระไพศาล วิสาโล อาจารยจรัญ ภักดีธนากุล
                                        ้ ิ ู้                             ่
ผศ.ภญ.สำลี ใจดี นพ.ประพจน เภตรากาศ นพ.สุวทย วิบลผลประเสริฐ รศ.ดร.จันทรเพ็ญ วิวฒน รศ.ดร.ภญ.จิราพร ลิมปานานนท
                                                ิ    ุ                           ั                      ้
นพ.ชูชย ศุภวงศ รศ.ดร.วิทยา กุลสมบูรณ รศ.นพ.อดิศกดิ์ ผลิตผลการพิมพ ทีปรึกษากฎหมาย : ชัยรัตน แสงอรุณ บรรณาธิการบริหาร :
       ั                                           ั                   ่
สารี อองสมหวัง หัวหน้ากองบรรณาธิการ : ทัศนีย แนนอุดร กองบรรณาธิการ : รศ.ดร.แกว กังสดาลอำไพ นพ.ประวิทย ลีสถาพรวงศา
                                                                                                             ่
สุวรรณา จิตประภัสสร อิฐบูรณ อนวงษา สุมาลี พะสิม ชนิษฎา วิรยะประสาท ศศิวรรณ ปริญญาตร สมนึก งามละมัย ฝ่ายการตลาดและ
                                                             ิ
สมาชิก : เสาวลักษณ ปอเจริญ เตือนใจ รอดสกุล ธัญญาภร สอดศรี ศิลปกรรม : สราวุธ ลอยศักดิ์ พิมพ : บริษท พิมพดี จำกัด
                                                                                                     ั
โทรศัพท : 0-2803-2694-7 แยกสี/เพลต : หจก.เลย โปรเซส โทรศัพท : 0-2433-5433, 0-2803-0360-1
จดหมายถึง บก.




         ขอบคุณทุกเสียงที่ชื่นชม และยินดีที่จะนำทุกคำแนะนำไป
    ปรับปรุงค่ะ
         อย่าลืมแวะไปเยี่ยมชม www.ฉลาดซื้อ.com และเป็น
    แฟนคลับใน facebook ด้วยนะคะ




    ฉลาดซื้อี่ 111 พฤษภาคม 2553
2   ปีที่ 16 ฉบับที
กระแสในประเทศ
                                                                                                                              กองบรรณาธิการ


                           ประมวลเหตุการณ์เดือนเมษายน 2553

23 เมษายน 2553                                                                                 มาตรฐานใหม่ นี้ ไ ด้ เ พิ่ ม วิ ธี ก าร
จับจริง! เครื่องดื่มอวดอ้าง                                                                    ทดสอบในการประกอบชิ้ น ส่ ว น
สรรพคุณลดอ้วน                                                                                  เข็ ม ขั ด นิ ร ภั ย ทั้ ง หมด ได้ แ ก่ หั ว
         นายจุ ริ น ทร์ ลั ก ษณวิ ศิ ษ ฏ์                                                      เข็ ม ขั ด อุ ป กรณ์ ป รั บ ความยาว
รมว.สาธารณสุ ข แถลงข่ า วการ                                                                   อุปกรณ์ยึด และอุปกรณ์ปรับความ
ตรวจจั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ าหารในกลุ่ ม                                                          สู ง มาทำการทดสอบโดยวิ ธี ก าร
ของเครื่ อ งดื่ ม ที่ อ วดอ้ า งสรรพคุ ณ                                                       จำลองการชนขณะเกิดอุบัติเหตุ
                           ว่ า ดื่ ม แ ล้ ว    โปรดักซ์ จำกัด เลขที่ 203/18 หมู่                        มาตรฐาน
                           สามารถลด             4 ถนนแจ้งวัฒนะ กทม.                            เข็มขัดนิรภัยใหม่นี้
                          น้ำหนักได้ ซึ่ง                                                      จะมี ผ ลให้ ผู้ ผ ลิ ต
                          อย.ตรวจสอบ            29 เมษายน 2553                                 ผู้นำเข้า ผู้จำหน่าย
                          แ ล้ ว พ บ มี         สมอ.ปรับมาตรฐานเข็มขัดนิรภัย                   ต้องปรับปรุงสินค้า
             ความผิ ด หลายส่ ว นทั้ ง           ใหม่                                           ใ ห้ เ ป็ น ไ ป ต า ม
ปลอมแปลงเลขสารบบอาหารของ                                   สมอ. ประกาศยกเลิกมาตรฐาน            มาตรฐานใหม่ เ ท่ า นั้ น โดยมี ผ ล
อย. แสดงฉลากไม่ถูกต้อง แสดง                     ผลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต สาหกรรม (มอก.)              บั ง คั บ ตั้ ง แต่ วั น ที่ 26 ก.พ.2554
สรรพคุณของส่วนประกอบที่ อย.                     เข็มขัดนิรภัยตาม มอก.721-2539                  เป็นต้นไป
ไม่ อ นุ ญ าต ซึ่ ง มี ผ ลทำให้ ผู้ บ ริ โ ภค   โดยได้ ป รั บ ปรุ ง มาตรฐานเข็ ม ขั ด
เข้าใจผิด                                       นิ ร ภั ย ใหม่ ต าม มอก.721-2551               30 เมษายน 2553
         ข อ ง ก ล า ง ที่ ต ร ว จ ยึ ด ไ ด้    เพื่อให้สอดคล้องกับความก้าวหน้า                ผู้บริโภคไทยใส่ใจสิทธิมากขึ้น
ประกอบด้วย ชามะนาวปรุงสำเร็จ                    ทางเทคโนโลยี ก ารผลิ ต รถยนต์                            สำนักงานสถิติแห่งชาติ หรือ
ผสมคอลลาเจน ยี่ ห้ อ สลิ ม คั พ ,               โดยใช้แนวทางตาม ECE Regulation                 สสช. เปิดเผยผลสำรวจเนื่องในวัน
โกโก้ ม อลต์ สู ต รถั่ ว ขาวและ                 ซึ่ ง เป็ น ข้ อ กำหนดทางเทคนิ ค ด้ า น        คุ้มครองผู้บริโภค 30 เมษายน พบ
กระบองเพชร ยี่ ห้ อ ไวท์ เลเบิ ล ,              ย า น ย น ต์ ที่ ย อ ม รั บ กั น ทั่ ว โ ล ก   ว่ า คนไทยให้ ค วามสำคั ญ กั บ การ
โกโก้ ป รุ ง สำเร็ จ ชนิ ด ผง ยี่ ห้ อ                                                         คุ้ ม ครองผู้ บ ริ โ ภคมากขึ้ น จาก
สลิมคัพ, กาแฟปรุงสำเร็จชนิดผง                                                                  ตั ว เลขของผู้ ร้ อ งเรี ย นที่ ส ำนั ก งาน
ยี่ห้อคิงส์คอฟฟี่พลัส และผลิตภัณฑ์                                                             คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคซึ่ง
อื่นๆ ที่เข้าข่ายความผิดรวมทั้งหมด                                                             เพิ่มขึ้นจาก 5,041 ราย ในปี 2551
21 รายการ มูลค่ากว่า 9 ล้านบาท                                                                 เป็น 6,266 ราย ในปี 2552
ซึ่งสินค้าของกลางทั้งหมดถูกตรวจ                                                                          ปั ญ หาส่ ว นใหญ่ ที่ ผู้ บ ริ โ ภค
ยึ ด ได้ ที่ บริ ษั ท บิ๊ ก เบนซ์ เฮลท์                                                        ร้ อ ง เ รี ย น เ ป็ น เ รื่ อ ง ข อ ง สิ น ค้ า


                                                                                                                                ฉลาดซื้อ
                                                                                                           ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 111 พฤษภาคม 2553     3
ประเภทอาหาร เครื่ อ งดื่ ม เสื้ อ ผ้ า                               ทำงานหน้าคอมฯ นาน
    ร้ อ ยละ 72.5 รองลงมาคื อ ปั ญ หา
    จากบริ ก ารด้ า นรั ก ษาพยาบาล                                       ระวังป่วยโรค “ซีวเอส”
                                                                                          ี
    ร้ อ ยละ 58.5 ปั ญ หาจากบริ ก าร
    เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่และจาน                         กระทรวงสาธารณสุ ข เตื อ นผู้ ที่ ใ ช้ ค อมพิ ว เตอร์ ติ ด ต่ อ กั น เป็ น เวลา
    ดาวเทียม ร้อยละ 39.4 และปัญหา                     นาน เสี่ยงต่อการเกิดโรคทางสายตาและระบบกล้ามเนื้อ หรือที่เรียกกันว่า
    จากการใช้สินค้าประเภท เครื่องใช้                  โรค “ซีวีเอส”
    ไฟฟ้าและมือถือ ร้อยละ 36.2 ซึ่ง                           โรคซีวีเอส (CVS:Computer Vision Syndrome)เป็นอาการป่วย
    ปั ญ หาที่ ผู้ บ ริ โ ภคร้ อ งเรี ย นไปยั ง       ที่กระทบต่อการทำงานของ ตา เนื่องจากใช้มองคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน
    หน่วยงานที่เกี่ยวข้องนั้น ได้รับการ               และกระทบต่ อ ระบบกล้ า มเนื้ อ และกระดู ก ซึ่ ง จะเกี่ ย วกั บ ท่ า นั่ ง ขณะใช้
    ดูแลเพียงร้อยละ 50.9 โดยได้รับ                    คอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะในกลุ่มผู้ที่มีอายุเกิน 40 ปีที่มีปัญหาเรื่องโรค
    การแก้ไขแล้วร้อยละ 38.4 ที่เหลือ                  ต่างๆ เช่น โรคข้อ ระบบกล้ามเนื้อ มีโอกาสป่วยด้วยโรคนี้ค่อนข้างสูง
    ร้อยละ 12.5 อยู่ในระหว่างดำเนิน                   หากใช้คอมพิวเตอร์เป็นเวลานานและไม่ถูกวิธี
    การ ขณะที่ ผู้ บ ริ โ ภคร้ อ ยละ 77.6                     นายแพทย์ฐาปนวงศ์ ตั้งอุไรวรรณ จักษุแพทย์ประจำโรงพยาบาล
    มี ค วามคิ ด เห็ น ว่ า ผู้                       พระนั่งเกล้า กล่าวว่า มีผลการวิจัยพบว่า เด็กที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นเวลา
    ประกอบการธุ ร กิ จ ใน                                                                       นาน จะทำให้ ส ายตาสั้ น เพิ่ ม ขึ้ น
    ปั จ จุ บั น มี ค ว า ม                                                                      ร้อยละ 30 ปัจจุบันในประเทศที่
    รั บ ผิ ด ช อ บ ต่ อ ผู้                                                                     พัฒนาแล้ว เช่น ญี่ปุ่น เกาหลี จีน
    บริโภคดี แต่อีกร้อย                                                                          ฮ่องกง พบว่ามีเด็กสายตาสั้นเพิ่ม
    ละ 22.4 มองว่ า ผู้                                                                         มากขึ้น และมีอาการคอเคล็ด ปวด
    ประกอบธุ ร กิ จ ไม่ มี                                                                     ไหล่ ปวดข้ อ ในบางคนจะเป็ น
    ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ                                                                   ระยะยาว สาเหตุ ที่ ท ำให้ เ กิ ด กลุ่ ม
    พร้อมทั้งเสนอแนะ                                                                        อาการทางตา เกิ ด จากการใช้
    ว่ า ควรมี บ ทลงโทษ                                                                     คอมพิ ว เตอร์ เ ป็ น เวลานานเกิ น 25
    ที่ เ ด็ ด ข า ด กั บ ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ที่                                        นาที และตั้ ง จอคอมพิ ว เตอร์ ที่ ป รั บ
    เอาเปรียบผู้บริโภค                                ระดั บ ไม่ เ หมาะสมกั บ สายตา หรื อ วางเม้ า ท์ ที่ ไ ม่ ไ ด้ ร ะดั บ กั บ แขน ความ
               อย่ า งไรก็ ต าม พบว่ า มี ผู้         สว่างของไฟ การนั่งเป็นเวลานาน
    บริ โ ภคถึ ง ร้ อ ยละ 89.2 ที่ ป ระสบ                     ในการป้ อ งกั น ปั ญ หาทางสายตาจากการใช้ ค อมพิ ว เตอร์ ควร
    ปั ญ หาแล้ ว ไม่ ร้ อ งเรี ย น เพราะคิ ด          กะพริบตาบ่อยๆ พักสายตาจากหน้าจอคอมพิวเตอร์บ้าง หรือใช้วิธีมองวิว
    ว่ า เสี ย เวลา ไม่ เ กิ ด ประโยชน์ ซึ่ ง         นอกหน้าต่าง มุมห้อง หรือไปเดินเล่น หลังจากมีอาการเมื่อยล้า ปวดหัว
    ต้ อ ง ช่ ว ย ร ณ ร ง ค์ ใ ห้ ค ว า ม รู้ แ ก่    ซึ่งเกิดจากการเครียด ปวดที่ไหล่ ข้อมือ หลัง ขา ซึ่งเป็นอาการทางระบบ
    ประชาชนเพื่ อ ให้ รั ก ษาสิ ท ธิ ข อง             กล้ามเนื้อและข้อ ต้องไปพบแพทย์ การรักษาจะต้องใช้เวลานานต่อเนื่อง
    ตนเอง                                             บางรายอาจต้องใช้ยากิน ยาหยอดตา เช่น น้ำตาเทียม บางรายต้องใช้
                                                      กายภาพบำบัดควบคู่ไปด้วย เพื่อให้กล้ามเนื้อผ่อนคลาย


    ฉลาดซื้อี่ 111 พฤษภาคม 2553
4   ปีที่ 16 ฉบับที
สมัชชาผูบริโภค เดินเครืองนโยบาย 6 ประเด็นสิทธิผบริโภค
             ้              ่                       ู้
                      ปูทางสูองค์การอิสระฯ
                              ่
            การประชุ ม สมั ช ชาผู้ บ ริ โ ภค             กรณี 3 จี มีการเรียกร้องให้                        ด้านนโยบาย ความปลอดภัย
“ บ ท บ า ท ผู้ บ ริ โ ภ ค ต่ อ วิ ก ฤ ต       ทบทวนการกำหนดมาตรการที่                          ด้ า นอาหาร ต้ อ งมี อ งค์ ก ารอิ ส ระ
การเมื อ งในปั จ จุ บั น ” เรื่ อ ง “เงิ น     เหมาะสมในการประมู ล คณะ                          หรื อ ตั ว แทนภาคประชาชนเข้ า ร่ ว ม
ทองของเรา สิ ท ธิ ข องใคร (Your                กรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่ง                       ในกลไกการควบคุมมาตรการต่างๆ
Money Your Rights) 10 บาท...                   ชาติ (กทช.) ต้องกระจายเปิดรับฟัง                 ส่ ง เสริ ม สร้ า งความเข้ ม แข็ ง ของผู้
เพื่อการคุ้มครองผู้บริโภค” ระหว่าง             ความเห็ น ของประชาชนทั่ ว ทั้ ง                  บริ โ ภคผ่ า นการให้ ค วามรู้ ข้ อ มู ล
วันที่ 26-27 เม.ย. 53 ณ โรงแรม                 ประเทศ กำหนดราคาและคุณภาพ                        ข่าวสาร พร้อมทั้งส่งเสริมเกษตรกร
ริ ช มอนด์ ถื อ เป็ น การประชุ ม ที่           ของผู้ประมูลให้ถูกต้องเหมาะสม                    หรื อ ผู้ ผ ลิ ต ที่ ผ ลิ ต อาหารปลอดภั ย
เหล่ า องค์ ก รคุ้ ม ครองผู้ บ ริ โ ภค                   ส่ ว น ก ร ณี ค ว า ม เ ห็ น ก า ร     ให้ มี บ ทบาทในตลาดอาหารของ
หลากหลายหน่ ว ยงาน ร่ ว มกั น                  จัดการเรื่อง แร่ใยหิน (Asbestos)                 ประเทศมากยิ่งขึ้น
ผลั ก ดั น ข้ อ เสนอในประเด็ น สิ ท ธิ ผู้     เสนอให้ ก ระทรวงอุ ต สาหกรรม                                 กรณีข้อเสนอต่อร่าง พ.ร.บ.
บริ โ ภคที่ ห ลากหลายที่ สุ ด เป็ น            ยกเลิกการผลิตการจำหน่ายสินค้า                    องค์ ก รจั ด สรรคลื่ น ความถี่ แ ละ
เหมือนการจำลอง “องค์การอิสระ                   ที่มีส่วนประกอบแร่ใยหินที่สามารถ                 กำกั บ การประกอบกิ จ การวิ ท ยุ
เพื่อการคุ้มครองผู้บริโภค” ในการ               ใช้ วั ต ถุ ดิ บ อื่ น ทดแทนได้ ภ ายใน           กระจายเสี ย ง วิ ท ยุ โ ทรทั ศ น์ แ ละ
ให้ความเห็นและเสนอแนวทางการ                    1 ปี                                             กิจการโทรคมนาคม พ.ศ... สร้าง
แก้ไขปัญหาเชิงนโยบายต่อประเด็น                           กรณีนโยบาย ความปลอดภัย                 ก ล ไ ก ส นั บ ส นุ น ก า ร คุ้ ม ค ร อ ง
ต่างๆ รวมทั้งสิ้น 6 ประเด็น เพื่อ              รถโดยสารสาธารณะ ให้ตั้งกองทุน                    ผู้ บ ริ โ ภ ค แ ล ะ ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ที่
เตรี ย มความพร้ อ มขององค์ ก รผู้              คุ้มครองสิทธิผู้ใช้บริการรถโดยสาร                เป็ น อิ ส ระโดยให้ กสทช.จั ด สรร
บริ โ ภคจากทั่ ว ประเทศให้ มี ค วาม            สาธารณะเพื่อช่วยเหลือผู้โดยสารที่                งบประมาณ ให้ ก องทุ น สื่ อ เพิ่ ม
รู้ ค วามเข้ า ใจและร่ ว มกั น ส่ ง เสริ ม     ได้รับอุบัติเหตุเพิ่มเติมจากที่รัฐเคย            บทบาทเรื่องการให้ความรู้ที่ชัดเจน
ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น     อุ ด หนุ น โดยแหล่ ง เงิ น มาจาก                 เรื่องการใช้สื่ออย่างปลอดภัย
องค์ ก ารอิ ส ระผู้ บ ริ โ ภค พร้ อ มทั้ ง     ค่าธรรมเนียมหรือค่าปรับผู้กระทำ                              และสุดท้าย กรณีการคุ้มครอง
ติ ด ตามความคื บ หน้ า ร่ า งพระราช            ผิ ด ของบริ ษั ท ขนส่ ง รวมถึ ง ภาษี             ผู้ บ ริ โ ภคด้ า นสื่ อ เสนอให้ ตั้ ง ศู น ย์
บัญญัติองค์การอิสระผู้บริโภคตาม                รถยนต์ส่วนบุคคล พร้อมทั้งเสนอ                    ประสานงานซึ่ ง เป็ น องค์ ก รที่ ไ ด้ รั บ
มาตรา 61 เพื่อสนับสนุนให้องค์กร                ให้ลดอายุใบอนุญาตผู้ประกอบการ                    การยอมรั บ จากรั ฐ และเอกชนใน
ผู้ บ ริ โ ภคได้ ท ำหน้ า ที่ แ ละบทบาท        เหลื อ 3-5 ปี จ ากเดิ ม 7 ปี สร้ า ง             ก า ร เ ป็ น แ ห ล่ ง ร ว บ ร ว ม ปั ญ ห า
ใ น ฐ า น ะ ผู้ แ ท น ผู้ บ ริ โ ภ ค ต า ม     ระบบอาสาสมั ค รเฝ้ า ระวั ง การให้               เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภค
เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ                         บริ ก ารรถโดยสารสาธารณะ และ                      สื่อในประเด็นต่างๆ ทั้งโฆษณาแฝง
            จากการประชุมทั้ง 6 ประเด็น         ขึ้ น บั ญ ชี ผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารที่ ก ระทำผิ ด   sms การจัดเรตติ้ง
นั้น มีข้อเสนอที่น่าสนใจดังนี้                 ซ้ำซากโดยไม่มีการแก้ไข


                                                                                                                                ฉลาดซื้อ
                                                                                                            ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 111 พฤษภาคม 2553    5
กระแสต่างแดน
    ศศิวรรณ ปริญญาตร




    โซฟา ไม่โซกูด
                ้
                 ใครจะไปนึ ก ว่ า โซฟาหนั ง แท้             กั น สั้ น ๆ ว่ า DMF) ไว้ ใ นตั ว โซฟา              ให้ กั บ ผู้ บ ริ โ ภครายละ 1,200 ถึ ง
    ที่ อุ ต ส่ า ห์ ทุ่ ม ทุ น ไปซื้ อ มาไว้ นั่ ง เล่ น   เพื่ อ ป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ มั น ขึ้ น ราในขณะที่     9,000 ปอนด์ (ประมาณ 35,000 –
    ชิ ล ๆ จะทำให้ เ ราเป็ น แผลพุ พ อง                     ถูกเก็บไว้ในโกดัง                                    260,000 บาท) แตกต่างกันไปตาม
    เรื้อรังได้                                                        เมื่ อ โซฟาเหล่ า นี้ เ ข้ า ไปอยู่ ใ น   ความร้ายแรงของอาการเจ็บป่วย
                 เรื่องนี้ก็เกิดขึ้นแล้วที่อังกฤษ           ห้ อ งนั่ ง เล่ น ของผู้ บ ริ โ ภค สารดั ง                     ขณะนี้ โ ซฟาหนั ง มหาภั ย ขาย
    ซึ่ ง มี ผู้ บ ริ โ ภคหลายพั น คนได้ รั บ               กล่ า วก็ ก ลายสภาพเป็ น ก๊ า ซและ                   ออกไปแล้ว 100,000 ตัว นอกจากที่
    ความเดือดร้อนจากการใช้โซฟามหา                           ระเหยออกมาในอากาศ ทำให้หายใจ                         ฟ้ อ งร้ อ งและได้ ค่ า ชดเชยไปแล้ ว
    ภั ย ที่ ซื้ อ จากร้ า นเฟอร์ นิ เ จอร์ ชื่ อ ดั ง      ลำบากและรู้ สึ ก ระคายเคื อ งตา                      2,000 ราย จะมีตามมาอีกประมาณ
    อย่าง อาร์กอส หรือโฮมเบส เป็นต้น                        นอกจากนี้ยังสามารถทะลุผ่านเสื้อผ้า                   2,500 ราย ข่าวเขาบอกว่าใครที่ซื้อ
                 เรื่องก็มีอยู่ว่า โซฟาบางส่วน              ไปยั ง ผิ ว หนั ง ทำให้ เ กิ ด อาการปวด              ไปแล้ ว ให้ น ำกลั บ มารั บ เงิ น คื น หรื อ
    ที่ ข ายในร้ า นเหล่ า นี้ ผ ลิ ต โดยบริ ษั ท           แสบปวดร้ อ นไปจนถึ ง เป็ น แผล                       เปลี่ ย นเป็ น รุ่ น อื่ น ได้ แต่ น่ า แปลกที่
    Linkwise และ Eurosofa ใน                                เรื้อรังในบางรายด้วย                                 ยั ง ไม่ มี ก ารประกาศเรี ย กคื น โซฟา
    ประเทศจี น ทั้ ง สองโรงงานนี้ จ ะใส่                               ศาลอั ง กฤษตั ด สิ น ให้ ร้ า น           มหาภัยทั้งหมด
    สารไดเมทธิลฟูราเมท (หรือที่เรียก                        เฟอร์ นิ เ จอร์ เ หล่ า นั้ น จ่ า ยค่ า ชดเชย

                                                                                    จ่ายแพงกว่าทำไม
                                                                                                       เขาอ้ า งว่ า คาเฟอี น จะทำให้ ข าเรี ย วและ
                                                                                              กระชั บ ในขณะที่ วิ ต ามิ น อี จ ะช่ ว ยป้ อ งกั น ริ้ ว รอย
                                                                                              เหี่ ย วย่ น และอโลเวราจะทำให้ ผิ ว เรี ย บเนี ย น
                                                                                              โดยสารเหล่านี้จะถูกปล่อยออกมาจากฟองอากาศ
                                                                                              ขนาดเล็ ก ๆ บนตั ว กางเกงในขณะที่ ผู้ ส วมใส่
            มารค์แอนด์สเป็นเซอร์งานเข้า เมื่อองค์กรผู้บริโภคของ                               เคลื่อนไหวร่างกาย
    อั ง กฤษออกมาแฉว่ า กางเกงกำจั ด เซลลู ไ ลท์ ข องทางร้ า น                                         ศั ล ยแพทย์ แ ละแพทย์ ผิ ว หนั ง บอกกั บ
    ซึ่งราคาตัวละ 29.50 ปอนด์ (ประมาณ 1,450 บาท) นั้นมี                                       นิตยสาร WHICH? ว่ากางเกงทั่วไปที่ใส่รัดต้นขา
    คุ ณ สมบั ติ ไ ม่ แ ตกต่ า งไปจากกางเกงทั่ ว ๆ ไปที่ ใ ส่ ใ ห้ รั ด                       ให้แน่น ก็ให้ผลไม่ต่างกัน เพราะการรัดของมันจะ
    ต้นขาเลย                                                                                  ทำให้เซลลูไลท์ลดลงชั่วคราวด้วยการรีดของเหลว
            ทางร้ า นโฆษณาว่ า กางเกงดั ง กล่ า วสามารถกำจั ด                                 ออกจากเนื้อเยื่อนั่นเอง และส่วนผสมสุดวิเศษสาม
    เซลลู ไ ลท์ บ ริ เ วณรอบเอวและต้ น ขาได้ ด้ ว ยส่ ว นผสมจาก                               อย่างที่ว่านั้น ก็ยังไม่แน่ว่าจะมีปริมาณมากพอที่จะ
    อโลเวรา วิ ต ามิ น อี และคาเฟอี น ซึ่ ง เป็ น ที่ นิ ย มใช้ กั น อย่ า ง                  ให้ผลที่ต้องการหรือไม่
    แพร่หลายในครีมลดเซลลูไลท์ทั่วไปเชียวนะ

    ฉลาดซื้อี่ 111 พฤษภาคม 2553
6   ปีที่ 16 ฉบับที
อาหาร “ห้ามนำเข้า”
            โรงภาพยนตร์ ใ นไต้ ห วั น นั้ น            ข้าวโพด หรือฮอทด็อก แม้จะไม่ได้                      เจาะจงมากเช่ น ขนมจี บ ทอด ข้ า ว
เป็ น ที่ รู้ กั น ดี ว่ า จริ ง จั ง กั บ การห้ า ม   ซื้ อ จากหน้ า โรง ก็ ใ ห้ ส ามารถนำ                 กล่ อ งเบนโตะ เครป ทุ เ รี ย น เม็ ด
ผู้ บ ริ โ ภคนำอาหาร(ที่ ไ ม่ ไ ด้ ซื้ อ จาก           เข้าไปได้                                            แตงโม(ดู เ หมื อ นว่ า จะแล้ ว แต่ ว่ า
หน้าโรง) เข้าไปรับประทาน ... อ้อ                                ทั้ ง นี้ เ ขาเปิ ด ช่ อ งให้ แ ต่ ล ะโรง   พนั ก งานจะคิ ด อะไรได้ ) ในขณะที่
นึกว่าเป็นแต่ที่เมืองไทยเสียอีก                        ไปทำรายการอาหารห้ามนำเข้ากันเอา                      บางแห่ ง ก็ ร ะบุ ไ ว้ ก ว้ า งๆ ว่ า ห้ า มนำ
            แต่ เ มื่ อ เดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ ที่      เอง ซึ่งจากการสำรวจโรงภาพยนตร์                       “อาหารร้อน” เข้าไป อย่างหลังนี่ก็ถือ
ผ่านมา รัฐบาลไต้หวันได้ออกประกาศ                       10 แห่ ง ในกรุ ง ไทเป โดยองค์ ก ร                    เป็ น การเอาเปรี ย บผู้ บ ริ โ ภคอยู่
ห้ า มการกระทำดั ง กล่ า ว โรงไหน                      ผู้บริโภคของไต้หวันปรากฎว่าเกือบ                     เหมื อ นกั น เพราะทำให้ เ ข้ า ใจไปว่ า
ฝ่ า ฝื น จะถู ก ปรั บ ประมาณ 60,000                   ร้ อ ยละ 80 ของโรงภาพยนตร์ ที่                       ห้ามอาหารร้อนจากภายนอกทั้งหมด
ถึง 150,000 บาท                                        สำรวจ มี ข้ อ ห้ า มที่ ดู ไ ม่ ค่ อ ยสมเหตุ                   แต่ โ รงหนั ง เขายั ง มี ห มั ด เด็ ด
            โดยจะยอมให้ ห้ า มได้ เ ฉพาะ               สมผล เช่ น ห้ า มนำเบอร์ เ กอร์ เ ข้ า ไป            ไว้ จั ด การกั บ ผู้ ช มที่ จ ะนำอาหาร
อาหารบางอย่าง เช่น อาหารที่ทำให้                       โดยให้เหตุผลเรื่องกลิ่น แต่ในขณะ                     เข้ า ไปรั บ ประทาน ด้ ว ยการเก็ บ
เกิ ด เสี ย งดั ง เวลารั บ ประทาน และ                  เดี ย วกั น ที่ ห น้ า โรงก็ ข ายฮอทด็ อ ก           “ ค่ า ธ ร ร ม เ นี ย ม ใ น ก า ร ท ำ ค ว า ม
อาหารที่ มี ก ลิ่ น แรงเท่ า นั้ น ส่ ว น              (ซึ่งกลิ่นก็ไม่น่าจะต่างกัน)                         สะอาด” อีกนะ เขาช่างมุ่งมั่นดีจริงๆ
อาหารอื่นๆ อย่าง น้ำอัดลม กาแฟ                                  บางโรงมีข้อกำหนดไว้เฉพาะ



ซองใหม่ ไม่ชวนสูบ                                                                                           การขึ้นราคาบุหรี่ก็จะส่งผลต่อธุรกิจ
                                                                                                            ของพวกเขา ในขณะเดี ย วกั น ก็
       เดื อ นกรกฎาคม 2012                                                                                  ส่งเสริมให้คนหันไปซื้อจากตลาดมืด
ออสเตรเลีย จะเป็นประเทศแรกใน                                                                                มากขึ้ น ประธานกลุ่ ม ร้ า นค้ า ปลี ก
โลกที่ ซองบุหรี่จะต้องดูเรียบๆ ไม่มี                                                                        IGA บอกว่ า กฎหมายดั ง กล่ า ว
โลโก้ ไม่มีสีสันฉูดฉาด ดึงดูดใจอีก                     25 ซึ่งจะทำให้บุหรี่ขนาดซองละ 30                     เป็น การทำร้ายคนออสซี่จำนวน 16
ต่อไป                                                  มวนขึ้นราคาอีกซองละ 60 บาท                           ล้ า นคนที่ เ ลื อ กการใช้ ชี วิ ต อย่ า งถู ก
       นอกจากนี้ ยั ง ต้ อ งมี ค ำเตื อ น                        งานนี้ ค่ า ยบุ ห รี่ ต อบโต้ ทั น ที      ต้องตามกฎหมาย
ตั ว ใหญ่ ๆ ถึ ง อั น ตรายต่ อ สุ ข ภาพ                ด้ ว ยการขู่ ว่ า จะฟ้ อ งร้ อ งแน่ น อน                       ง า น นี้ ดู ท่ า ว่ า รั ฐ จ ะ ห น า ว
โดยยี่ห้อนั้นเขาให้พิมพ์ตัวเล็กๆ ไว้                   โฆษกของผู้ผลิตบุหรี่อิมพีเรียล โท                    เพราะตามกฎหมายของออสเตรเลีย
ด้านล่าง                                               แบคโคบอกว่า “การใช้ซองเรียบๆ ก็                      นั้ น บริ ษั ท บุ ห รี่ ส ามารถที่ จ ะฟ้ อ งร้ อ ง
       นายกรั ฐ มนตรี เควิ น รั ด ด์                   เท่ า กั บ เป็ น การทำให้ ผู้ บ ริ โ ภคไม่           ข อ ค่ า ช ด เ ช ย จ า ก ก า ร ถู ก บั ง คั บ
บอกว่านี่เป็นกฎหมายที่เข้มงวดที่สุด                    สามารถแยกแยะยี่ ห้ อ ของเราออก                       เปลี่ ย นลั ก ษณะของซองผลิ ต ภั ณ ฑ์
ในโลก และบริษัทบุหรี่คงจะไม่ชอบ                        จากยี่ห้ออื่นได้ ซึ่งนั่นเท่ากับเป็นการ              ได้ และรัฐบาลจะต้องจ่ายค่าชดเชย
แน่ น อน แต่ ส งสั ย จะเข้ ม ไม่ พ อจึ ง               สูญเสียประโยชน์ของบริษัท”                            ให้เป็นเงินถึงปีละ 3000 ล้านเหรียญ
ต้องแถมด้วยการขึ้นภาษีอีกร้อยละ                                  ส่ ว นร้ า นค้ า รายย่ อ ยบอกว่ า          (ไม่ต่ำกว่า 86,000 ล้านบาท)

                                                                                                                                              ฉลาดซื้อ
                                                                                                                        ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 111 พฤษภาคม 2553       7
แชมป์รอสาย
                อ ง ค์ ก ร ผู้ บ ริ โ ภ ค ข อ ง        อี ก นะ(บริ ษั ท แจ้ ง ไว้ ว่ า เวลารอสาย                  คิดไปคิดมาบริษัทก็ประกาศ
    นิ ว ซี แ ลนด์ ท ำการสำรวจระยะเวลา                 ของช่วงดังกล่าวอาจนานถึง 36 นาที                ว่าอาจจะต้องย้ายฐานศูนย์บริการไป
    ที่ผู้บริโภคต้องรอสายเมื่อโทรเข้าไป                และ 65 นาที ตามลำดับ) เขาแจ้งว่า                ยั ง เมื อ งมะนิ ล า ประเทศฟิ ลิ ป ปิ น ส์
    ที่ ศู น ย์ บ ริ ก า ร ข อ ง ผู้ ใ ห้ บ ริ ก า ร   ปัญหาที่เกิดขึ้นนั้นเป็นเพราะปริมาณ             ซึ่งจะส่งผลให้พนักงานในนิวซีแลนด์
    อิ น เตอร์ เ น็ ต (ทั้ ง หมด 10 เจ้ า              ลูกค้าเพิ่มขึ้นกว่าร้อยละ 30 จนขณะ              (ซึ่งบริษัทจ้างด้วยค่าตอบแทนชั่วโมง
    สำหรับรองรับประชากร 4 ล้านคน                       นี้มีลูกค้ากว่า 300,000 รายที่ต้องให้           ละ 20 เหรียญ หรือประมาณ 470
    ทั้ ง ประเทศ) และพบว่ า ลู ก ค้ า ของ              บริการ(พูดเหมือนเป็นความผิดของ                  บาท บวกกับโบนัสจากจำนวนครั้งที่
    เทลสตราเคลียร์ต้องรอนานที่สุด                      ลูกค้านะนี่)                                    รั บ สายและความรวดเร็ ว ในการ
                เขาพบว่ า ถ้ า คุ ณ โทรเข้ า ไป                 ด้ ว ยความไม่ พ ร้ อ มดั ง กล่ า ว     แก้ ปั ญ หา) ต้ อ งตกงานไม่ ต่ ำ กว่ า
    ที่ ศู น ย์ บ ริ ก ารของเทลสตราเคลี ย ร์           จึ ง ทำให้ พ นั ก งานที่ ใ ห้ บ ริ ก ารเองก็    120 คน
    ในวันอังคาร ช่วงเวลา 23:40 น. –                    เครี ย ดไม่ แ พ้ กั น หนุ่ ม สาวชาวกี วี่ ที่              นักวิเคราะห์บอกว่าบริการจะ
    01:30 น. คุ ณ จะใช้ เ วลารอสาย                     อายุระหว่าง 17 – 29 ปี ที่ผ่านการ               ดีขึ้นหรือไม่ยังบอกไม่ได้ แต่ที่แน่ๆ
    30 นาที ถ้าเป็นวันพฤหัส ช่วงเวลา                   ฝึ ก เป็ น เวลา 3 สั ป ดาห์ ก่ อ นเริ่ ม        บริ ษั ท จะประหยั ด เงิ น ได้ ห ลายล้ า น
    18:30 น.– 20:00 น. คุณจะได้ถือ                     ปฏิบัติงาน จะต้องรับฟังคนโทรเข้า                เหรียญทีเดียว
    สายรอ 58 นาที                                      มาระบายอารมณ์ ใ ส่ แ ล้ ว ก็ ต้ อ งรี บ
                ซึ่งความจริงตัวเลขดังกล่าวนี้          รั บ สายต่ อ ไปทั น ที โ ดยไม่ มี เ วลา
    ต่ ำ กว่ า ที่ ท างบริ ษั ท เขาแจ้ ง เตื อ นไว้    ผ่อนคลาย


    ฉลาดซื้อี่ 111 พฤษภาคม 2553
8   ปีที่ 16 ฉบับที
เรื่องเด่น
                                 กองบรรณาธิการ




ลิขสิทธิ์ = ปิดโอกาส?



                                    ฉลาดซื้อ
                ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 111 พฤษภาคม 2553   9
ส่วนใหญ่แล้วเมื่อเราพูดถึงการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา
โดยเฉพาะ
    อย่างยิ่งเรื่องกฎหมายลิขสิทธิ์เรามักจะได้ยินกันจนชิน
คือเรื่องของเทปผี
ซีดี/
    ดีวีดีเถื่อน
ที่ว่าด้วยการสูญเสียผลประโยชน์ของเจ้าของลิขสิทธิ์อย่างสำนัก
    พิมพ์
ค่ายหนัง
ค่ายเพลง
ฯลฯ
เสียมาก
              แต่อีกสิ่งหนึ่งที่เรายังไม่ค่อยได้พูดถึงกันมากนักคือเรื่องของลิขสิทธิ์จาก
    มุมมองของผู้บริโภค
เช่นเรื่องของโอกาสในการเข้าถึงข้อมูล
ความรู้
จากงาน
    อันมีลิขสิทธิ์ที่มีราคาแพงเกินกว่าที่ผู้บริโภคในประเทศกำลังพัฒนาจะสามารถ
    ซื้อได้
หรือสิทธิในการทำสำเนาเพื่อแบ่งปันงานลิขสิทธิ์ที่ผู้บริโภคได้ซื้อมาอย่าง
    ถูกต้อง
รวมถึงการขาดการสนับสนุนจากรัฐให้มีการสร้างหรือใช้ประโยชน์จาก
    งานที่ทำขึ้นเพื่อประโยชน์สาธารณะที่ไม่สงวนลิขสิทธิ์ในการแบ่งปันเป็นต้น
              การปรับปรุงกฎหมายลิขสิทธิ์ในปัจจุบันมีแนวโน้มที่ค่อนไปทางการ
    รักษาผลประโยชน์ของภาคธุรกิจ
ไม่ว่าจะเป็นการขยายขอบเขต/ระยะเวลาการ
    คุ้มครอง
การเพิ่มระดับการปราบปราม
ล้วนแล้วแต่ส่งผลให้วัสดุเพื่อการเรียน
    รู้มีราคาแพงขึ้นหรือหาได้ยากขึ้นสำหรับในประเทศกำลังพัฒนา
ซึ่งยังต้องอาศัย
    การต่อยอดจากงานที่มีการสร้างสรรค์ไว้ก่อนหน้านั้น
นอกจากนี้ผู้บริโภคยังถูก
    ปฏิเสธเสรีภาพในการใช้สินค้าในแบบที่ควรจะสามารถทำได้อีกด้วย

              ว่าแล้วเรามาดูกันว่าถึงวันนี้กฎหมายลิขสิทธิ์ของประเทศไหนจะรักษา
    สมดุลระหว่างการรักษาผลประโยชน์ของเจ้าของลิขสิทธิ์กับการเข้าถึงความรู้
    ของผู้บริโภคได้ดีกว่ากัน



     ฉลาดซื้อ
10 ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 111 พฤษภาคม 2553
A2K Global survey
       สหพันธ์ผู้บริโภคสากล
(Consumers
International)
ได้ทำการ
สำรวจความเป็นมิตรต่อผู้บริโภคของกฎหมายลิขสิทธิ์ของ
34
ประเทศ
จากทั่วทุกภูมิภาคของโลกในประเด็นต่อไปนี้

       •
 ขอบเขต/ระยะเวลาคุ้มครอง


       •
 อิสระในการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากงานอันมีลิขสิทธิ์

       •
 เสรีภาพในการแบ่งปันและถ่ายโอน

       •
 การบริหารจัดการและบังคับใช้กฎหมาย




                                             เราพบว่า
                                                     •
 ประเทศไทยอยู่ในอันดับที่
30
ในขณะที่ประเทศ
                                             เพื่อนบ้านของเราอย่าง
มาเลเซีย
ฟิลิปปินส์
และเวียดนามมี
                                             กฎหมายที่เป็นมิตรต่อผู้บริโภคมากกว่า
(ในอันดับที่
13
19
                                             และ
20
ตามลำดับ)
                                                     •
 สถานภาพทางเศรษฐกิจหรือระดับการพัฒนา
                                             ไม่ใช่ตัวแปรชี้วัดการมีกฎหมายลิขสิทธิ์ที่เอื้อต่อการเรียนรู้
                                             สวีเดน
อเมริกา
บังคลาเทศและอินโดนีเซียต่างก็อยู่ในสิบ
                                             อันดับต้น

ในขณะที่อังกฤษและเคนย่าต่างก็เป็นหนึ่งในสิบ
                                             อันดับยอดแย่
                                                     •
 ประเทศส่วนใหญ่ยังทำคะแนนได้น้อยในเรื่องของ
                                             เสรีภาพในการแบ่งปันและถ่ายโอน
ซึ่งหมายความว่า
                                             ประเทศเหล่านี้ควรเพิ่มงบประมาณในการส่งเสริมการสร้าง
                                             งานที่ไม่สงวนลิขสิทธิ์
สนับสนุนการใช้
ครีเอทีฟ
คอมมอน
                                             และซอฟท์แวร์แบบโอเพ่นซอร์ส
และใช้ประโยชน์จากงานที่
                                             ยังไม่มีผู้อ้างสิทธิให้มากขึ้น
                                                     •
 โดยรวมแล้วสิ่งที่ประเทศเหล่านี้ทำได้ดีก็คือเรื่อง
                                             ของการเข้าถึงและการใช้โดยสื่อมวลชน
(แต่เรื่องนี้มีความ
                                             เกี่ยวข้องกับผู้บริโภคน้อยมาก
เพราะสื่อเหล่านี้มี
                                             งบประมาณไว้สำหรับจ่ายค่าลิขสิทธิ์อยู่แล้ว)

                                             
                                                                                                     ฉลาดซื้อ
                                                                                 ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 111 พฤษภาคม 2553   11
Top ten
                                                    
                                                    ประเทศที่มีกฎหมายลิขสิทธิ์และการบังคับ
                                          ใช้ที่เอื้อต่อการเข้าถึงความรู้มากที่สุด
10
อันดับ
                                                    1.
อินเดีย
                                                    2.
เลบานอน
                                                    3.
อิสราเอล
                                                    4.
สหรัฐอเมริกา
                                                    5.
อินโดนีเซีย

                                                    6.
อัฟริกาใต้
                                                    7.
บังคลาเทศ

                                                    8.
โมรอคโค

                                                    9.
สวีเดน

                                                    10.
ปากีสถาน
                                                    
                                    กฎหมายลิขสิทธิ์ของประเทศเหล่านี้
ระบุข้อยกเว้นไว้อย่างกว้างๆ
                            ทำให้ผู้บริโภคสามารถใช้งานจากงานอันมีลิขสิทธิ์ได้
สหรัฐอเมริกาและ
                            อิสราเอล
เรียกข้อยกเว้นนี้ว่า
“การใช้งานอย่างเป็นธรรม”
ในขณะที่สวีเดน
                            และเลบานอนเรียกว่า
“การทำสำเนาเพื่อการใช้ส่วนตัว”
(โดยไม่ได้ระบุว่าเพื่อ
                            ประโยชน์ทางการศึกษาเท่านั้น
ดังนั้นจึงสามารถใช้เพื่อการบันเทิงได้ด้วย)

     ฉลาดซื้อ
12 ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 111 พฤษภาคม 2553
Bottom ten
        
        ประเทศที่มีกฎหมายลิขสิทธิ์และการบังคับใช้ที่
เอื้อต่อการเข้าถึงความรู้น้อยที่สุด
10
อันดับ
        1.
ชิลี
        2.
จอร์แดน

        3.
อังกฤษ

        4.
เคนยา
        5.
ไทย
        6.
อาร์เจนตินา
        7.
บราซิล
        8.
แซมเบีย
        9.
อียิปต์

        10.
ญี่ปุ่น




                                                                           ฉลาดซื้อ
                                                       ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 111 พฤษภาคม 2553   13
การจัดอันดับเกรดของแต่ละประเทศในด้านต่างๆ
(แสดงเฉพาะ
10
อันดับต้น
และ
10
อันดับท้าย)
                         โดยให้เกรดแบบเดียวกับที่นักเรียนได้ในสมุดพก




                                                                                                                                                                                                                                      การจัดการและการบังคับใช้กฎหมาย
                                                                             อิสระในการเข้าถึงและการใช้งานอันมีลิขสิทธิ์
....
                               ขอบเขตและระยะเวลาการคุ้มครอง




                                                                                                                                                                                                       อิสระในการแบ่งปันและถ่ายโอน
                                                                                                                                                                               เพื่อประโยชน์สาธารณะ
                                                                                                           โดยผู้สร้างเนื้อหา

                                                                                                                                 โดยสื่อมวลชน
                                                                             เพื่อการศึกษา




                                                                                                                                                 โดยห้องสมุด
                                                               ในครอบครัว




                                                                                                                                                                                                                                                                        คะแนนรวม
                                                                                                                                                                โดยผู้พิการ
                                                                                              ออนไลน์
              ประเทศ
     อันดับ




                                                                                                          10 อันดับต้น
     1        อินเดีย                            B                    B              B             A          A       A                                 B              C                    C                           D                                A                   B
     2        เลบานอน                            C                    C              C             B          B       A                                 B              C                    A                           F                                B                   B
     3        อิสราเอล                           D                    D              C             A          B       A                                 B              C                    B                           C                                B                   B
     4        สหรัฐอเมริกา                       B                    B              C             A          B       C                                 A              A                    B                           C                                D                   B
     5        อินโดนีเซีย                        D                    B              A             A          D       A                                 B              A                    B                           D                                D                   B
     6        อัฟริกาใต้                         B                    D              B             B          D       A                                 D              F                    B                           B                                C                   B
     7        บังคลาเทศ                          B                    C              A             C          C       C                                 B              F                    C                           D                                C                   B-
     8        โมรอคโค                            C                    D              B             A          C       A                                 A              F                    C                           F                                C                   B-
     9        สวีเดน                             C                    A              F             A          B       A                                 D              A                    B                           D                                C                   B-
     10       ปากีสถาน                           A                    D              A             F          F       A                                 B              F                    B                           F                                B                   B-
                                                                                                         10 อันดับท้าย
     25       ญี่ปุ่น                            F                    C              B             C          F       B                                 D              A                    D                           C                                D                   C
     26       อียิปต์                            D                    C              B             B          D       B                                 C              F                    B                           F                                F                   C
     27       แซมเบีย                            C                    B              D             C          D       C                                 D              F                    B                           D                                D                   C
     28       บราซิล                             F                    F              F             D          B       B                                 F              A                    B                           C                                D                   C-
     29       อาร์เจนตินา                        C                    F              F             C          D       B                                 F              C                    C                           B                                C                   C-
     30       ไทย                                D                    B              B             F          C       B                                 C              F                    D                           F                                F                   C-
     31       เคนยา                              A                    D              D             C          D       D                                 D              F                    B                           F                                F                   C-
     32       อังกฤษ                             C                    F              F             B          C       D                                 B              A                    F                           D                                F                   C-
     33       จอร์แดน                            C                    D              C             D          F       B                                 D              F                    B                           F                                F                   C-
     34       ชิลี                               F                    F              F             C          D       D                                 F              F                    F                           C                                C                   D

     ฉลาดซื้อ
14 ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 111 พฤษภาคม 2553
ประเทศไทยได้เกรดเฉลี่ย
C-

        โนอา
เมทธินี

นักกฎหมายอาสาสมัครของ
มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค
ซึ่งเป็นนักวิจัยที่ทำการวิเคราะห์
กฎหมายลิขสิทธิ์ของประเทศไทยในการสำรวจครั้งนี้
บอกว่า
โดยภาพรวมแล้วกฎหมายลิขสิทธิ์ของไทยยัง
ไม่มีมาตรการในการรับมือกับการพัฒนาการทาง
เทคโนโลยีในสื่อใหม่ๆ
ที่เกิดขึ้น
เช่น
การดาวน์โหลด
ผ่านอินเตอร์เน็ต
รวมถึงยังไม่มีการระบุไว้อย่างชัดเจน
ในเรื่องการคุ้มครองสิทธิของผู้พิการในการเข้าถึง
ข้อมูลความรู้ต่างๆ


        เขาตั้งข้อสังเกตว่าเมื่อไรก็ตามที่เราจะมีการแก้
กฎหมายเพื่อลดช่องว่างดังกล่าว
เป็นไปได้อย่างยิ่งที่
ผู้บริโภคไทยจะเป็นฝ่ายเสียเปรียบ
เพราะประเทศไทย
ยังต้องการทำข้อตกลงทางการค้ากับประเทศอย่าง
อเมริกาหรือกลุ่มประเทศอียู
ซึ่งต้องการกฎหมาย
คุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาที่เข้มขึ้น

ขณะนี้นัก
ศึกษาสามารถทำสำเนาตำราเรียนเพื่อใช้ส่วนตัวได้

แต่ในอนาคตเมื่อมีการปรับปรุงกฎหมายลิขสิทธิ์แล้ว
การจะทำสำเนาได้จะต้องผ่านกระบวนการที่ซับซ้อน
และยากขึ้น

-----
        *หมายเหตุ ถ้าดูจากตาราง สหรัฐอเมริกาซึ่ง          ประโยชน์ของภาคธุรกิจกับสิทธิผู้บริโภค
...
จะทำข้อตกลงทางการค้ากับเราและเรียกร้องให้เรามี            สมดุลที่ต้องตามหา

กฎหมายลิขสิทธิ์เข้มขึ้นนั้น ให้อิสระกับประชาชนใน                 ภาคธุรกิจมักอ้างว่าควรมีกฎหมายลิขสิทธิ์ที่เข้ม
ประเทศในการทำสำเนา และคัดลอกไฟล์ มากกว่า                  ไว้ก่อน
เพราะไม่เช่นนั้นจะได้รับความเสียหายจาก
บ้านเรามากทีเดียว                                         เทคโนโลยีการแชร์ไฟล์ทางเน็ต
แต่จนปัจจุบันก็ยังไม่
                                                          มีหลักฐานชัดเจนว่าการแชร์ไฟล์เป็นสาเหตุหลักของ
                                                          การขาดทุนของธุรกิจเพลง
แต่มีหลักฐานว่ารายได้ของ
                                                          อุตสาหกรรมภาพยนตร์เพิ่มขึ้นสูงอย่างเป็น
                                                          ประวัติการณ์ในปี
2552




                                                                                                         ฉลาดซื้อ
                                                                                     ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 111 พฤษภาคม 2553   15
ภาคธุรกิจทำอย่างไร
      • ในแคนาดา สมาคมนักแต่งเพลงของแคนาดาเสนอให้มีการเก็บค่าธรรมเนียมรายเดือน
        เพื่อให้คนสามารถแบ่งปันเพลงกันได้อย่างถูกกฎหมาย
      • บริษัทวอร์เนอร์สาขาประเทศจีน ออกแผ่นดีวีดีไม่กี่วันหลังภาพยนตร์ออกฉาย โดย
        จำหน่ายในราคาแผ่นละ 70 บาท
      • หลายประเทศให้ผู้บริโภคได้ฟังเพลงหรือดูภาพยนตร์ผ่านแพลทฟอร์มดิจิตัลด้วยค่าบริการ
        ที่สมเหตุสมผล เช่น Spotify (www.spotify.com) หรือ Hulu (www.hulu.com) เป็นต้น
      • ปล่อยฟรีไปเลย หรือที่เรียกกันว่าเป็นผลงานสังกัดค่ายเพลงอินเตอร์เน็ท (netlabel) เช่น
        เพลงของ Radio Head หรือ Nine Inch Nails ซึ่งการปล่อยฟรีในที่นี้เท่ากับเป็นการ
        โปรโมทให้ผลงานของตนเองเป็นที่รับรู้โดยผู้ฟังจำนวนมาก




                                COPY
COPY
COPY

เมื่อการทำสำเนามีค่าใช้จ่าย


                                         ในแคนาดา สเปน ยูเครน สวีเดน จะคิดภาษีเพิ่มในอุปกรณ์เช่นเครื่องคอมพิวเตอร์
                                และที่ใช้สื่อบันทึก อย่างแผ่นซีดี ดีวีดีเปล่า เป็นต้น
                                         แต่นั่นยังเข้มไม่เท่าที่อิตาลี ที่ผู้บริโภคแต่ละครัวเรือนจะต้องจ่ายเงินเพิ่มถึง 100 ยูโร
                                (ประมาณ 4,000 บาท) เพื่อ “สิทธิในการทำสำเนาเพื่อใช้เอง” ซึ่งได้แก่ภาษีที่ต้องเสียเมื่อ
                                ซื้อซีดี ดีวีดีเปล่า เมมโมรี่สติ๊ก หรือมือถือมัลติมีเดีย และค่าธรรมเนียมในการดาวน์โหลด
                                จากร้านเพลงออนไลน์ และภาษีที่ต้องจ่ายเมื่อซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ (ซึ่งถือเป็นอุปกรณ์ใน
                                การทำสำเนาด้วย)
                                         เราคงไม่ปฏิเสธว่าสังคมจะยั่งยืนได้ถ้าทุกคนสามารถเข้าถึงความรู้ได้โดยไม่ถูกจำกัด
                                และสามารถร่วมกันสร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อประโยชน์สาธารณะได้ ติดตามการรณรงค์เพื่อ
                                การเข้าถึงความรู้ของสหพันธ์ผู้บริโภคสากลและความเคลื่อนไหวขององค์กรสมาชิกได้ที่
                                http://a2knetwork.org/

                   พบกับผลสำรวจความคิดเห็นของนักศึกษาไทย
เรื่องของอุปสรรคในการเข้าถึงงานอันมี
            ลิขสิทธิ์ได้
ในฉลาดซื้อฉบับ
112
(มิถุนายน)


     ฉลาดซื้อ
16 ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 111 พฤษภาคม 2553
เรื่องจากปก
                                                                                    พชร แกล้วกล้า
       ผู้ประสานงานโครงการ พัฒนากลไกการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารของผู้บริโภค มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค




  ผลทดสอบ                                         ฉลาดซื้อฉบับนี้ขอรายงานผลการทดสอบ
                                           ของแห้งสำหรับปรุงอาหารยอดนิยม 3 ชนิดคือ เห็ด
                                           หอมแห้ง เห็ดหูหนูขาว และสาหร่ายทะเลแห้ง ครับ
        เหดหอม
           ็                                      ผลการทดสอบที่จะนำเสนอคราวนี้มาจาก
                                           การเก็บตัวอย่างจำนวน 2 ครั้ง ครั้งแรกเดือน

    เหดหหนขาว
      ็ ู ู
                                           กันยายน และครั้งที่สอง เดือนพฤศจิกายน 2552
                                           โดยเก็บตัวอย่างจากทั้งในห้างสรรพสินค้าและใน
                                           ตลาดสด ของพื้นที่ดำเนินงานโครงการฯ 8 จังหวัด

และสาหรายทะเล
         ่                                 ได้แก่ กรุงเทพฯ สมุทรสงคราม ขอนแก่น
                                           มหาสารคาม เชียงใหม่ พะเยา สตูล และสงขลา




                                                                                            ฉลาดซื้อ
                                                                        ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 111 พฤษภาคม 2553   17
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111
S mbuyer 111

More Related Content

Viewers also liked

受人歡迎的秘訣
受人歡迎的秘訣受人歡迎的秘訣
受人歡迎的秘訣嘉 年華
 
Ung kommunikation slides_hassleholm110926
Ung kommunikation slides_hassleholm110926Ung kommunikation slides_hassleholm110926
Ung kommunikation slides_hassleholm110926laxlub
 
중간-Project 발표
중간-Project 발표중간-Project 발표
중간-Project 발표JeongInsun
 
Public Cloud Computing in ambito enterprise
Public Cloud Computing in ambito enterprisePublic Cloud Computing in ambito enterprise
Public Cloud Computing in ambito enterpriseseeweb
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2chushi1991
 
شفاعت و تاثیر آن در بیداری روحانی
شفاعت و تاثیر آن در بیداری روحانیشفاعت و تاثیر آن در بیداری روحانی
شفاعت و تاثیر آن در بیداری روحانیKelisaye Majazi
 
Presentatie d&o tbv poh ggz 15 09-2011
Presentatie d&o tbv poh ggz 15 09-2011Presentatie d&o tbv poh ggz 15 09-2011
Presentatie d&o tbv poh ggz 15 09-2011Glessner Advies
 
งานนำเสนอบทที่4
งานนำเสนอบทที่4งานนำเสนอบทที่4
งานนำเสนอบทที่4amphaiboon
 
Nebuloasa personal branding in social media
Nebuloasa   personal branding in social mediaNebuloasa   personal branding in social media
Nebuloasa personal branding in social mediaOlteaZambori
 
Kirsi heikkilä tammi-voimaantumisen_kehittämisotteet
Kirsi heikkilä tammi-voimaantumisen_kehittämisotteetKirsi heikkilä tammi-voimaantumisen_kehittämisotteet
Kirsi heikkilä tammi-voimaantumisen_kehittämisotteetSitra / Uusi johtajuus
 
Bronitis akut
Bronitis akutBronitis akut
Bronitis akutecaimut
 
Soal matematika olimpiade by zee
Soal matematika olimpiade by zeeSoal matematika olimpiade by zee
Soal matematika olimpiade by zeeKhoieruel Zee
 
気の合う人達と社外で社内勉強会
気の合う人達と社外で社内勉強会気の合う人達と社外で社内勉強会
気の合う人達と社外で社内勉強会Yu Shibatsuji
 
Liikuntapäivä
LiikuntapäiväLiikuntapäivä
Liikuntapäiväslnoppaat
 
Huayi201109
Huayi201109Huayi201109
Huayi201109wuying
 
модели атома
модели атомамодели атома
модели атомаKriss
 

Viewers also liked (20)

Индия. Клиники Аполло.
Индия. Клиники Аполло.Индия. Клиники Аполло.
Индия. Клиники Аполло.
 
受人歡迎的秘訣
受人歡迎的秘訣受人歡迎的秘訣
受人歡迎的秘訣
 
Ung kommunikation slides_hassleholm110926
Ung kommunikation slides_hassleholm110926Ung kommunikation slides_hassleholm110926
Ung kommunikation slides_hassleholm110926
 
중간-Project 발표
중간-Project 발표중간-Project 발표
중간-Project 발표
 
Public Cloud Computing in ambito enterprise
Public Cloud Computing in ambito enterprisePublic Cloud Computing in ambito enterprise
Public Cloud Computing in ambito enterprise
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
شفاعت و تاثیر آن در بیداری روحانی
شفاعت و تاثیر آن در بیداری روحانیشفاعت و تاثیر آن در بیداری روحانی
شفاعت و تاثیر آن در بیداری روحانی
 
Als het licht aan is... paul van loon
Als het licht aan is... paul van loonAls het licht aan is... paul van loon
Als het licht aan is... paul van loon
 
Presentatie d&o tbv poh ggz 15 09-2011
Presentatie d&o tbv poh ggz 15 09-2011Presentatie d&o tbv poh ggz 15 09-2011
Presentatie d&o tbv poh ggz 15 09-2011
 
งานนำเสนอบทที่4
งานนำเสนอบทที่4งานนำเสนอบทที่4
งานนำเสนอบทที่4
 
Nebuloasa personal branding in social media
Nebuloasa   personal branding in social mediaNebuloasa   personal branding in social media
Nebuloasa personal branding in social media
 
Kirsi heikkilä tammi-voimaantumisen_kehittämisotteet
Kirsi heikkilä tammi-voimaantumisen_kehittämisotteetKirsi heikkilä tammi-voimaantumisen_kehittämisotteet
Kirsi heikkilä tammi-voimaantumisen_kehittämisotteet
 
Bronitis akut
Bronitis akutBronitis akut
Bronitis akut
 
Soal matematika olimpiade by zee
Soal matematika olimpiade by zeeSoal matematika olimpiade by zee
Soal matematika olimpiade by zee
 
Biogeo15
Biogeo15Biogeo15
Biogeo15
 
気の合う人達と社外で社内勉強会
気の合う人達と社外で社内勉強会気の合う人達と社外で社内勉強会
気の合う人達と社外で社内勉強会
 
Liikuntapäivä
LiikuntapäiväLiikuntapäivä
Liikuntapäivä
 
Teori Penulisan
Teori PenulisanTeori Penulisan
Teori Penulisan
 
Huayi201109
Huayi201109Huayi201109
Huayi201109
 
модели атома
модели атомамодели атома
модели атома
 

Similar to S mbuyer 111

S mbuyer 112_113
S mbuyer 112_113S mbuyer 112_113
S mbuyer 112_113Apichat kon
 
5.เครื่องสำอางใหม่
5.เครื่องสำอางใหม่5.เครื่องสำอางใหม่
5.เครื่องสำอางใหม่Prapakorn Srisawangwong
 
บ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ เชื่อมโยง
บ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ เชื่อมโยงบ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ เชื่อมโยง
บ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ เชื่อมโยงfreelance
 
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายควบคุมการโฆษณา
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายควบคุมการโฆษณาปัญหาการบังคับใช้กฎหมายควบคุมการโฆษณา
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายควบคุมการโฆษณาhutchzup
 
จดหมายข่าว อย.น้อย “จากเพื่อน..ถึงเพื่อน” ประจำเดือนตุลาคม – ธันวาคม 2556
จดหมายข่าว อย.น้อย “จากเพื่อน..ถึงเพื่อน” ประจำเดือนตุลาคม – ธันวาคม 2556จดหมายข่าว อย.น้อย “จากเพื่อน..ถึงเพื่อน” ประจำเดือนตุลาคม – ธันวาคม 2556
จดหมายข่าว อย.น้อย “จากเพื่อน..ถึงเพื่อน” ประจำเดือนตุลาคม – ธันวาคม 2556oryornoi
 

Similar to S mbuyer 111 (20)

S mbuyer 110
S mbuyer 110S mbuyer 110
S mbuyer 110
 
S mbuyer 108
S mbuyer 108S mbuyer 108
S mbuyer 108
 
S mbuyer 106
S mbuyer 106S mbuyer 106
S mbuyer 106
 
S mbuyer 102
S mbuyer 102S mbuyer 102
S mbuyer 102
 
S mbuyer 104
S mbuyer 104S mbuyer 104
S mbuyer 104
 
S mbuyer 112_113
S mbuyer 112_113S mbuyer 112_113
S mbuyer 112_113
 
S mbuyer 101
S mbuyer 101S mbuyer 101
S mbuyer 101
 
S mbuyer 107
S mbuyer 107S mbuyer 107
S mbuyer 107
 
S mbuyer 125
S mbuyer 125S mbuyer 125
S mbuyer 125
 
5.เครื่องสำอางใหม่
5.เครื่องสำอางใหม่5.เครื่องสำอางใหม่
5.เครื่องสำอางใหม่
 
S mbuyer 123
S mbuyer 123S mbuyer 123
S mbuyer 123
 
S mbuyer 126
S mbuyer 126S mbuyer 126
S mbuyer 126
 
S mbuyer 100
S mbuyer 100S mbuyer 100
S mbuyer 100
 
S mbuyer 105
S mbuyer 105S mbuyer 105
S mbuyer 105
 
บ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ เชื่อมโยง
บ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ เชื่อมโยงบ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ เชื่อมโยง
บ้านSci fi---ปืน เชื้อโรค และเหล็กกล้ากับชะตากรรมของมนุษย์ เชื่อมโยง
 
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายควบคุมการโฆษณา
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายควบคุมการโฆษณาปัญหาการบังคับใช้กฎหมายควบคุมการโฆษณา
ปัญหาการบังคับใช้กฎหมายควบคุมการโฆษณา
 
S mbuyer 121
S mbuyer 121S mbuyer 121
S mbuyer 121
 
S mbuyer 127
S mbuyer 127S mbuyer 127
S mbuyer 127
 
จดหมายข่าว อย.น้อย “จากเพื่อน..ถึงเพื่อน” ประจำเดือนตุลาคม – ธันวาคม 2556
จดหมายข่าว อย.น้อย “จากเพื่อน..ถึงเพื่อน” ประจำเดือนตุลาคม – ธันวาคม 2556จดหมายข่าว อย.น้อย “จากเพื่อน..ถึงเพื่อน” ประจำเดือนตุลาคม – ธันวาคม 2556
จดหมายข่าว อย.น้อย “จากเพื่อน..ถึงเพื่อน” ประจำเดือนตุลาคม – ธันวาคม 2556
 
News4vol5
News4vol5News4vol5
News4vol5
 

More from Apichat kon

More from Apichat kon (12)

S mbuyer_128
S mbuyer_128S mbuyer_128
S mbuyer_128
 
S mbuyer 122
S mbuyer 122S mbuyer 122
S mbuyer 122
 
S mbuyer 124
S mbuyer 124S mbuyer 124
S mbuyer 124
 
S mbuyer 119
S mbuyer 119S mbuyer 119
S mbuyer 119
 
S mbuyer 118
S mbuyer 118S mbuyer 118
S mbuyer 118
 
S mbuyer 117
S mbuyer 117S mbuyer 117
S mbuyer 117
 
Smbuyer 120
Smbuyer 120Smbuyer 120
Smbuyer 120
 
S mbuyer 115
S mbuyer 115S mbuyer 115
S mbuyer 115
 
S mbuyer 99
S mbuyer 99S mbuyer 99
S mbuyer 99
 
S mbuyer 98
S mbuyer 98S mbuyer 98
S mbuyer 98
 
S mbuyer 97
S mbuyer 97S mbuyer 97
S mbuyer 97
 
S mbuyer 96
S mbuyer 96S mbuyer 96
S mbuyer 96
 

S mbuyer 111

  • 1.
  • 2. สารบัญ ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 111 พฤษภาคม 2553 www.consumerthai.org 9 17 26 30 เรื่องเด่น กฎหมาย 9 “ลิขสิทธิ์ = ปิดโอกาส?” 48 รู้กฎหมายกับทนายอาสา ความเคลื่อนไหว “การรอนสิทธิคืออะไร” 3 กระแสในประเทศ อาหารและสุขภาพ 6 กระแสต่างแดน 49 ของฝากจากอินเตอร์เน็ต 64 สารพันปัญหาโทรคมนาคม “ความเข้าใจผิดๆ ถูกๆ เกี่ยวกับอาหาร ตอนที่ 1” “อ่านไว้ไม่ให้เป็นเหยื่อ(การหลอกลวงทางโทรศัพท์)” 52 สวยอย่างฉลาด ทดสอบ “เคล็ดไม่ลับ ของการดูแลเล็บมือ” 17 ผลทดสอบ เห็ดหอม เห็ดหูหนูขาว 54 ช่วง ฉลาด ช้อป และสาหร่ายทะเล “เมื่อน่านฟ้าถูกปิด ผู้บริโภคทำอะไรได้บ้าง 26 ครีมไวท์เทนนิ่ง ทดสอบความพึงพอใจ ตอนที่ 1” 30 ซูม ! ผู้ผลิตกล้องดิจิทัล 57 เรื่องเล่าเฝ้าระวัง วันนี้บริษัทมีความรับผิดชอบต่อสังคมแค่ไหน “ชาโอเว่อร์” 68 เรื่องเรียงเคียงจาน สัมภาษณ์ “เมนูเด็ดจากมะขามเพาะ” 35 ทุกคนมีสิทธิ “รุจน์ โกมลบุตร การเป็นอาจารย์นี่ก็ทวีคูณ หน้าต่างผู้บริโภค เหมือนกัน” 58 คุยกับคน “The Power of Half” (ตอนที่ 2) เสียงผู้บริโภค 61 Connecting 41 • เมียเก่าอยากปลดกระดูก “ศาสตร์แห่งการกิน(ตอนสุดท้าย)” • สาวใหญ่โดน sms ลามก 65 มีอะไรใน โคด-สะ-นา • สงสัยครีมหมอจุฬา ใช้แล้วเสี่ยง “ฝากเงิน..แถมฝากใจ” • ถูกโครงการบ้านจัดสรรไม่ยอมขายบ้านให้ อ้างเหตุ“กลัวลูกค้าป่วน Game • ภัยไม่คาดฝันจากห้างค้าปลีกยักษ์ 72 ปัญหาสร้างปัญญา
  • 3. บทบรรณาธิการ สารี อ๋องสมหวัง saree@consumerthai.org GMOs Turn Around ผู้บริโภคตัดสินใจอย่างไร ภาคธุรกิจการเกษตรจากหลายกลุ่ม ได้เข้าพบอดีต ฝ่ายต่างมีข้อมูล บริษัทก็ทำงานวิจัยของตนเอง ถึงแม้จะมี นายกอานันท์ ปันยารชุน ประธานกรรมการแก้ไขปัญหา นักวิชาการ (รับจ้าง) รับประกันเรื่องความปลอดภัย ว่าใช้ การปฏิบัติตามมาตรา 67 วรรค 2 ของรัฐธรรมนูญแห่ง สารเคมีน้อยลง แต่นักวิชาการอีกกลุ่มยืนยันการใช้สารเคมี ราชอาณาจักรไทย เรื่ององค์การอิสระสิ่งแวดล้อม เพื่อยื่น ไม่ลดลง แถมผูกขาดการใช้สารเคมีของบริษัทตนเองอีก หนังสือขอให้พิจารณาถอดถอน โครงการที่ 18 “การทำ ต่างหาก ฟังอย่างนี้แล้วผู้บริโภคคงไม่กล้ายอมรับว่า เกษตรกรรมเชิงการค้าเกี่ยวกับวัตถุดิบ การผลิตอาหารที่ ปลอดภัยจริง เพราะทำไมบริษัทใหญ่ ๆ ถึงมีนโยบายไม่ใช้ เกี่ยวเนื่องกับสิ่งมีชีวิตตัดต่อพันธุกรรม (GMO)” ออกจาก ผลิตภัณฑ์จีเอ็มโอในยุโรป นี่ยังไม่นับรวมถึงปัญหาการ บัญชีประเภทกิจการที่อาจก่อผลกระทบอย่างรุนแรงตาม ผูกขาดเมล็ดพันธุ์ ระบบทรัพย์สินทางปัญญา การทำลาย ม.67 วรรค 2 แถมขู่ไว้ว่าหากยังไม่มีการถอดถอนหรือ ความหลากหลายทางชีวภาพที่ยังไม่มีใครกล้าตอบเรื่องนี้ เปลี่ยนแปลงใดๆทางกลุ่มจะดำเนินการเรียกร้องความเป็น แม้แต่ล่าสุดต้นเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา องค์กร ธรรมต่อศาลปกครองต่อไป ผู้บริโภค (Consumers Union) ในประเทศสหรัฐอเมริกา ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับผู้บริโภค เห็นจะเป็นว่า ได้กดดัน รัฐบาลโอบามาให้ยอมรับหลักเกณฑ์ของ หากปล่อยให้ โครงการหรือกิจกรรมเกี่ยวกับการทำ คณะกรรมการกำหนดมาตรฐานอาหารระหว่างประเทศ เกษตรกรรมเชิงการค้าเกี่ยวกับ วัตถุดิบการผลิตอาหาร (CODEX) และเรื่องนี้มีคนอเมริกาสนับสนุนมากถึง ที่เกี่ยวเนื่องกับ GMO (genetically modified 110,000 คน http://www.consumersunion.org/pdf/ organism) ไม่ต้องศึกษาผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม(EIA) Codex-comm-ltr-0410.pdf. และสุขภาพ(HIA) ซึ่งแทนที่จะทำให้เกิดความชัดเจนทั้ง นอกจากโอกาสในการปนเปื้อนหากไม่ทำการศึกษา สองฝ่าย จะทำให้เกิดความขัดแย้งทั้งกับเกษตรกร ชุมชน ให้ดีแล้ว ย่อมส่งผลต่อทางเลือกของผู้บริโภคที่น่าจะน้อย ผู้บริโภค และโอกาส ที่โครงการเหล่านี้ จะหลุดรอด ลงไปเรื่อย ๆ รวมทั้งละเมิดสิทธิในการได้รับข้อมูลที่ ปนเปื้อนกับพืชทั่วไป ย่อมเป็นไปได้ และมีหลักฐานเชิง เป็นความจริง และสิทธิในการเลือกซื้อ ประจักษ์ยืนยันมาแล้วกรณีการปนเปื้อนมะละกอจีเอ็มโอ ทำไมบริษัทธุรกิจการเกษตรเหล่านี้ จึงกลัวการทำ ในหลายจังหวัด HIA และ EIA ตามมาตรา 67 วรรค 2 แต่เลือกใช้การ การอ้างว่า จีเอ็มโอ ปลอดภัย และไม่ต้องศึกษา ล็อบบี้ จ้างนักวิชาการ มาตรการข่มขู่ หากแน่จริงและคิดว่า ผลกระทบดูจะฟังไม่ขึ้น เพราะความปลอดภัยของ GMO ทำตามมาตรฐานสากลแล้วจะกลัวอะไรกับการทำ HIA หากจะเถียงกัน คงจะไม่จบ เพราะยืนคนละมุมชัดเจน ต่าง หรือ EIA หรือที่แท้ไม่แน่จริงอย่างราคาคุย เจ้าของ : มูลนิธเิ พือผูบริโภค 4/2 ซอยวัฒนโยธิน แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท : 0-2248-3734-7 ่  โทรสาร : 0-2248-3733 บรรณาธิการผูพมพผโฆษณา : สารี อองสมหวัง คณะทีปรึกษา : พระไพศาล วิสาโล อาจารยจรัญ ภักดีธนากุล ้ ิ ู้ ่ ผศ.ภญ.สำลี ใจดี นพ.ประพจน เภตรากาศ นพ.สุวทย วิบลผลประเสริฐ รศ.ดร.จันทรเพ็ญ วิวฒน รศ.ดร.ภญ.จิราพร ลิมปานานนท ิ ุ ั ้ นพ.ชูชย ศุภวงศ รศ.ดร.วิทยา กุลสมบูรณ รศ.นพ.อดิศกดิ์ ผลิตผลการพิมพ ทีปรึกษากฎหมาย : ชัยรัตน แสงอรุณ บรรณาธิการบริหาร : ั ั ่ สารี อองสมหวัง หัวหน้ากองบรรณาธิการ : ทัศนีย แนนอุดร กองบรรณาธิการ : รศ.ดร.แกว กังสดาลอำไพ นพ.ประวิทย ลีสถาพรวงศา ่ สุวรรณา จิตประภัสสร อิฐบูรณ อนวงษา สุมาลี พะสิม ชนิษฎา วิรยะประสาท ศศิวรรณ ปริญญาตร สมนึก งามละมัย ฝ่ายการตลาดและ ิ สมาชิก : เสาวลักษณ ปอเจริญ เตือนใจ รอดสกุล ธัญญาภร สอดศรี ศิลปกรรม : สราวุธ ลอยศักดิ์ พิมพ : บริษท พิมพดี จำกัด ั โทรศัพท : 0-2803-2694-7 แยกสี/เพลต : หจก.เลย โปรเซส โทรศัพท : 0-2433-5433, 0-2803-0360-1
  • 4. จดหมายถึง บก. ขอบคุณทุกเสียงที่ชื่นชม และยินดีที่จะนำทุกคำแนะนำไป ปรับปรุงค่ะ อย่าลืมแวะไปเยี่ยมชม www.ฉลาดซื้อ.com และเป็น แฟนคลับใน facebook ด้วยนะคะ ฉลาดซื้อี่ 111 พฤษภาคม 2553 2 ปีที่ 16 ฉบับที
  • 5. กระแสในประเทศ กองบรรณาธิการ ประมวลเหตุการณ์เดือนเมษายน 2553 23 เมษายน 2553 มาตรฐานใหม่ นี้ ไ ด้ เ พิ่ ม วิ ธี ก าร จับจริง! เครื่องดื่มอวดอ้าง ทดสอบในการประกอบชิ้ น ส่ ว น สรรพคุณลดอ้วน เข็ ม ขั ด นิ ร ภั ย ทั้ ง หมด ได้ แ ก่ หั ว นายจุ ริ น ทร์ ลั ก ษณวิ ศิ ษ ฏ์ เข็ ม ขั ด อุ ป กรณ์ ป รั บ ความยาว รมว.สาธารณสุ ข แถลงข่ า วการ อุปกรณ์ยึด และอุปกรณ์ปรับความ ตรวจจั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ อ าหารในกลุ่ ม สู ง มาทำการทดสอบโดยวิ ธี ก าร ของเครื่ อ งดื่ ม ที่ อ วดอ้ า งสรรพคุ ณ จำลองการชนขณะเกิดอุบัติเหตุ ว่ า ดื่ ม แ ล้ ว โปรดักซ์ จำกัด เลขที่ 203/18 หมู่ มาตรฐาน สามารถลด 4 ถนนแจ้งวัฒนะ กทม. เข็มขัดนิรภัยใหม่นี้ น้ำหนักได้ ซึ่ง จะมี ผ ลให้ ผู้ ผ ลิ ต อย.ตรวจสอบ 29 เมษายน 2553 ผู้นำเข้า ผู้จำหน่าย แ ล้ ว พ บ มี สมอ.ปรับมาตรฐานเข็มขัดนิรภัย ต้องปรับปรุงสินค้า ความผิ ด หลายส่ ว นทั้ ง ใหม่ ใ ห้ เ ป็ น ไ ป ต า ม ปลอมแปลงเลขสารบบอาหารของ สมอ. ประกาศยกเลิกมาตรฐาน มาตรฐานใหม่ เ ท่ า นั้ น โดยมี ผ ล อย. แสดงฉลากไม่ถูกต้อง แสดง ผลิ ต ภั ณ ฑ์ อุ ต สาหกรรม (มอก.) บั ง คั บ ตั้ ง แต่ วั น ที่ 26 ก.พ.2554 สรรพคุณของส่วนประกอบที่ อย. เข็มขัดนิรภัยตาม มอก.721-2539 เป็นต้นไป ไม่ อ นุ ญ าต ซึ่ ง มี ผ ลทำให้ ผู้ บ ริ โ ภค โดยได้ ป รั บ ปรุ ง มาตรฐานเข็ ม ขั ด เข้าใจผิด นิ ร ภั ย ใหม่ ต าม มอก.721-2551 30 เมษายน 2553 ข อ ง ก ล า ง ที่ ต ร ว จ ยึ ด ไ ด้ เพื่อให้สอดคล้องกับความก้าวหน้า ผู้บริโภคไทยใส่ใจสิทธิมากขึ้น ประกอบด้วย ชามะนาวปรุงสำเร็จ ทางเทคโนโลยี ก ารผลิ ต รถยนต์ สำนักงานสถิติแห่งชาติ หรือ ผสมคอลลาเจน ยี่ ห้ อ สลิ ม คั พ , โดยใช้แนวทางตาม ECE Regulation สสช. เปิดเผยผลสำรวจเนื่องในวัน โกโก้ ม อลต์ สู ต รถั่ ว ขาวและ ซึ่ ง เป็ น ข้ อ กำหนดทางเทคนิ ค ด้ า น คุ้มครองผู้บริโภค 30 เมษายน พบ กระบองเพชร ยี่ ห้ อ ไวท์ เลเบิ ล , ย า น ย น ต์ ที่ ย อ ม รั บ กั น ทั่ ว โ ล ก ว่ า คนไทยให้ ค วามสำคั ญ กั บ การ โกโก้ ป รุ ง สำเร็ จ ชนิ ด ผง ยี่ ห้ อ คุ้ ม ครองผู้ บ ริ โ ภคมากขึ้ น จาก สลิมคัพ, กาแฟปรุงสำเร็จชนิดผง ตั ว เลขของผู้ ร้ อ งเรี ย นที่ ส ำนั ก งาน ยี่ห้อคิงส์คอฟฟี่พลัส และผลิตภัณฑ์ คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคซึ่ง อื่นๆ ที่เข้าข่ายความผิดรวมทั้งหมด เพิ่มขึ้นจาก 5,041 ราย ในปี 2551 21 รายการ มูลค่ากว่า 9 ล้านบาท เป็น 6,266 ราย ในปี 2552 ซึ่งสินค้าของกลางทั้งหมดถูกตรวจ ปั ญ หาส่ ว นใหญ่ ที่ ผู้ บ ริ โ ภค ยึ ด ได้ ที่ บริ ษั ท บิ๊ ก เบนซ์ เฮลท์ ร้ อ ง เ รี ย น เ ป็ น เ รื่ อ ง ข อ ง สิ น ค้ า ฉลาดซื้อ ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 111 พฤษภาคม 2553 3
  • 6. ประเภทอาหาร เครื่ อ งดื่ ม เสื้ อ ผ้ า ทำงานหน้าคอมฯ นาน ร้ อ ยละ 72.5 รองลงมาคื อ ปั ญ หา จากบริ ก ารด้ า นรั ก ษาพยาบาล ระวังป่วยโรค “ซีวเอส” ี ร้ อ ยละ 58.5 ปั ญ หาจากบริ ก าร เครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่และจาน กระทรวงสาธารณสุ ข เตื อ นผู้ ที่ ใ ช้ ค อมพิ ว เตอร์ ติ ด ต่ อ กั น เป็ น เวลา ดาวเทียม ร้อยละ 39.4 และปัญหา นาน เสี่ยงต่อการเกิดโรคทางสายตาและระบบกล้ามเนื้อ หรือที่เรียกกันว่า จากการใช้สินค้าประเภท เครื่องใช้ โรค “ซีวีเอส” ไฟฟ้าและมือถือ ร้อยละ 36.2 ซึ่ง โรคซีวีเอส (CVS:Computer Vision Syndrome)เป็นอาการป่วย ปั ญ หาที่ ผู้ บ ริ โ ภคร้ อ งเรี ย นไปยั ง ที่กระทบต่อการทำงานของ ตา เนื่องจากใช้มองคอมพิวเตอร์เป็นเวลานาน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องนั้น ได้รับการ และกระทบต่ อ ระบบกล้ า มเนื้ อ และกระดู ก ซึ่ ง จะเกี่ ย วกั บ ท่ า นั่ ง ขณะใช้ ดูแลเพียงร้อยละ 50.9 โดยได้รับ คอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะในกลุ่มผู้ที่มีอายุเกิน 40 ปีที่มีปัญหาเรื่องโรค การแก้ไขแล้วร้อยละ 38.4 ที่เหลือ ต่างๆ เช่น โรคข้อ ระบบกล้ามเนื้อ มีโอกาสป่วยด้วยโรคนี้ค่อนข้างสูง ร้อยละ 12.5 อยู่ในระหว่างดำเนิน หากใช้คอมพิวเตอร์เป็นเวลานานและไม่ถูกวิธี การ ขณะที่ ผู้ บ ริ โ ภคร้ อ ยละ 77.6 นายแพทย์ฐาปนวงศ์ ตั้งอุไรวรรณ จักษุแพทย์ประจำโรงพยาบาล มี ค วามคิ ด เห็ น ว่ า ผู้ พระนั่งเกล้า กล่าวว่า มีผลการวิจัยพบว่า เด็กที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นเวลา ประกอบการธุ ร กิ จ ใน นาน จะทำให้ ส ายตาสั้ น เพิ่ ม ขึ้ น ปั จ จุ บั น มี ค ว า ม ร้อยละ 30 ปัจจุบันในประเทศที่ รั บ ผิ ด ช อ บ ต่ อ ผู้ พัฒนาแล้ว เช่น ญี่ปุ่น เกาหลี จีน บริโภคดี แต่อีกร้อย ฮ่องกง พบว่ามีเด็กสายตาสั้นเพิ่ม ละ 22.4 มองว่ า ผู้ มากขึ้น และมีอาการคอเคล็ด ปวด ประกอบธุ ร กิ จ ไม่ มี ไหล่ ปวดข้ อ ในบางคนจะเป็ น ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ระยะยาว สาเหตุ ที่ ท ำให้ เ กิ ด กลุ่ ม พร้อมทั้งเสนอแนะ อาการทางตา เกิ ด จากการใช้ ว่ า ควรมี บ ทลงโทษ คอมพิ ว เตอร์ เ ป็ น เวลานานเกิ น 25 ที่ เ ด็ ด ข า ด กั บ ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ที่ นาที และตั้ ง จอคอมพิ ว เตอร์ ที่ ป รั บ เอาเปรียบผู้บริโภค ระดั บ ไม่ เ หมาะสมกั บ สายตา หรื อ วางเม้ า ท์ ที่ ไ ม่ ไ ด้ ร ะดั บ กั บ แขน ความ อย่ า งไรก็ ต าม พบว่ า มี ผู้ สว่างของไฟ การนั่งเป็นเวลานาน บริ โ ภคถึ ง ร้ อ ยละ 89.2 ที่ ป ระสบ ในการป้ อ งกั น ปั ญ หาทางสายตาจากการใช้ ค อมพิ ว เตอร์ ควร ปั ญ หาแล้ ว ไม่ ร้ อ งเรี ย น เพราะคิ ด กะพริบตาบ่อยๆ พักสายตาจากหน้าจอคอมพิวเตอร์บ้าง หรือใช้วิธีมองวิว ว่ า เสี ย เวลา ไม่ เ กิ ด ประโยชน์ ซึ่ ง นอกหน้าต่าง มุมห้อง หรือไปเดินเล่น หลังจากมีอาการเมื่อยล้า ปวดหัว ต้ อ ง ช่ ว ย ร ณ ร ง ค์ ใ ห้ ค ว า ม รู้ แ ก่ ซึ่งเกิดจากการเครียด ปวดที่ไหล่ ข้อมือ หลัง ขา ซึ่งเป็นอาการทางระบบ ประชาชนเพื่ อ ให้ รั ก ษาสิ ท ธิ ข อง กล้ามเนื้อและข้อ ต้องไปพบแพทย์ การรักษาจะต้องใช้เวลานานต่อเนื่อง ตนเอง บางรายอาจต้องใช้ยากิน ยาหยอดตา เช่น น้ำตาเทียม บางรายต้องใช้ กายภาพบำบัดควบคู่ไปด้วย เพื่อให้กล้ามเนื้อผ่อนคลาย ฉลาดซื้อี่ 111 พฤษภาคม 2553 4 ปีที่ 16 ฉบับที
  • 7. สมัชชาผูบริโภค เดินเครืองนโยบาย 6 ประเด็นสิทธิผบริโภค ้ ่ ู้ ปูทางสูองค์การอิสระฯ ่ การประชุ ม สมั ช ชาผู้ บ ริ โ ภค กรณี 3 จี มีการเรียกร้องให้ ด้านนโยบาย ความปลอดภัย “ บ ท บ า ท ผู้ บ ริ โ ภ ค ต่ อ วิ ก ฤ ต ทบทวนการกำหนดมาตรการที่ ด้ า นอาหาร ต้ อ งมี อ งค์ ก ารอิ ส ระ การเมื อ งในปั จ จุ บั น ” เรื่ อ ง “เงิ น เหมาะสมในการประมู ล คณะ หรื อ ตั ว แทนภาคประชาชนเข้ า ร่ ว ม ทองของเรา สิ ท ธิ ข องใคร (Your กรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่ง ในกลไกการควบคุมมาตรการต่างๆ Money Your Rights) 10 บาท... ชาติ (กทช.) ต้องกระจายเปิดรับฟัง ส่ ง เสริ ม สร้ า งความเข้ ม แข็ ง ของผู้ เพื่อการคุ้มครองผู้บริโภค” ระหว่าง ความเห็ น ของประชาชนทั่ ว ทั้ ง บริ โ ภคผ่ า นการให้ ค วามรู้ ข้ อ มู ล วันที่ 26-27 เม.ย. 53 ณ โรงแรม ประเทศ กำหนดราคาและคุณภาพ ข่าวสาร พร้อมทั้งส่งเสริมเกษตรกร ริ ช มอนด์ ถื อ เป็ น การประชุ ม ที่ ของผู้ประมูลให้ถูกต้องเหมาะสม หรื อ ผู้ ผ ลิ ต ที่ ผ ลิ ต อาหารปลอดภั ย เหล่ า องค์ ก รคุ้ ม ครองผู้ บ ริ โ ภค ส่ ว น ก ร ณี ค ว า ม เ ห็ น ก า ร ให้ มี บ ทบาทในตลาดอาหารของ หลากหลายหน่ ว ยงาน ร่ ว มกั น จัดการเรื่อง แร่ใยหิน (Asbestos) ประเทศมากยิ่งขึ้น ผลั ก ดั น ข้ อ เสนอในประเด็ น สิ ท ธิ ผู้ เสนอให้ ก ระทรวงอุ ต สาหกรรม กรณีข้อเสนอต่อร่าง พ.ร.บ. บริ โ ภคที่ ห ลากหลายที่ สุ ด เป็ น ยกเลิกการผลิตการจำหน่ายสินค้า องค์ ก รจั ด สรรคลื่ น ความถี่ แ ละ เหมือนการจำลอง “องค์การอิสระ ที่มีส่วนประกอบแร่ใยหินที่สามารถ กำกั บ การประกอบกิ จ การวิ ท ยุ เพื่อการคุ้มครองผู้บริโภค” ในการ ใช้ วั ต ถุ ดิ บ อื่ น ทดแทนได้ ภ ายใน กระจายเสี ย ง วิ ท ยุ โ ทรทั ศ น์ แ ละ ให้ความเห็นและเสนอแนวทางการ 1 ปี กิจการโทรคมนาคม พ.ศ... สร้าง แก้ไขปัญหาเชิงนโยบายต่อประเด็น กรณีนโยบาย ความปลอดภัย ก ล ไ ก ส นั บ ส นุ น ก า ร คุ้ ม ค ร อ ง ต่างๆ รวมทั้งสิ้น 6 ประเด็น เพื่อ รถโดยสารสาธารณะ ให้ตั้งกองทุน ผู้ บ ริ โ ภ ค แ ล ะ ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ที่ เตรี ย มความพร้ อ มขององค์ ก รผู้ คุ้มครองสิทธิผู้ใช้บริการรถโดยสาร เป็ น อิ ส ระโดยให้ กสทช.จั ด สรร บริ โ ภคจากทั่ ว ประเทศให้ มี ค วาม สาธารณะเพื่อช่วยเหลือผู้โดยสารที่ งบประมาณ ให้ ก องทุ น สื่ อ เพิ่ ม รู้ ค วามเข้ า ใจและร่ ว มกั น ส่ ง เสริ ม ได้รับอุบัติเหตุเพิ่มเติมจากที่รัฐเคย บทบาทเรื่องการให้ความรู้ที่ชัดเจน ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม แ ล ะ ส นั บ ส นุ น อุ ด หนุ น โดยแหล่ ง เงิ น มาจาก เรื่องการใช้สื่ออย่างปลอดภัย องค์ ก ารอิ ส ระผู้ บ ริ โ ภค พร้ อ มทั้ ง ค่าธรรมเนียมหรือค่าปรับผู้กระทำ และสุดท้าย กรณีการคุ้มครอง ติ ด ตามความคื บ หน้ า ร่ า งพระราช ผิ ด ของบริ ษั ท ขนส่ ง รวมถึ ง ภาษี ผู้ บ ริ โ ภคด้ า นสื่ อ เสนอให้ ตั้ ง ศู น ย์ บัญญัติองค์การอิสระผู้บริโภคตาม รถยนต์ส่วนบุคคล พร้อมทั้งเสนอ ประสานงานซึ่ ง เป็ น องค์ ก รที่ ไ ด้ รั บ มาตรา 61 เพื่อสนับสนุนให้องค์กร ให้ลดอายุใบอนุญาตผู้ประกอบการ การยอมรั บ จากรั ฐ และเอกชนใน ผู้ บ ริ โ ภคได้ ท ำหน้ า ที่ แ ละบทบาท เหลื อ 3-5 ปี จ ากเดิ ม 7 ปี สร้ า ง ก า ร เ ป็ น แ ห ล่ ง ร ว บ ร ว ม ปั ญ ห า ใ น ฐ า น ะ ผู้ แ ท น ผู้ บ ริ โ ภ ค ต า ม ระบบอาสาสมั ค รเฝ้ า ระวั ง การให้ เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองผู้บริโภค เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ บริ ก ารรถโดยสารสาธารณะ และ สื่อในประเด็นต่างๆ ทั้งโฆษณาแฝง จากการประชุมทั้ง 6 ประเด็น ขึ้ น บั ญ ชี ผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารที่ ก ระทำผิ ด sms การจัดเรตติ้ง นั้น มีข้อเสนอที่น่าสนใจดังนี้ ซ้ำซากโดยไม่มีการแก้ไข ฉลาดซื้อ ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 111 พฤษภาคม 2553 5
  • 8. กระแสต่างแดน ศศิวรรณ ปริญญาตร โซฟา ไม่โซกูด ้ ใครจะไปนึ ก ว่ า โซฟาหนั ง แท้ กั น สั้ น ๆ ว่ า DMF) ไว้ ใ นตั ว โซฟา ให้ กั บ ผู้ บ ริ โ ภครายละ 1,200 ถึ ง ที่ อุ ต ส่ า ห์ ทุ่ ม ทุ น ไปซื้ อ มาไว้ นั่ ง เล่ น เพื่ อ ป้ อ งกั น ไม่ ใ ห้ มั น ขึ้ น ราในขณะที่ 9,000 ปอนด์ (ประมาณ 35,000 – ชิ ล ๆ จะทำให้ เ ราเป็ น แผลพุ พ อง ถูกเก็บไว้ในโกดัง 260,000 บาท) แตกต่างกันไปตาม เรื้อรังได้ เมื่ อ โซฟาเหล่ า นี้ เ ข้ า ไปอยู่ ใ น ความร้ายแรงของอาการเจ็บป่วย เรื่องนี้ก็เกิดขึ้นแล้วที่อังกฤษ ห้ อ งนั่ ง เล่ น ของผู้ บ ริ โ ภค สารดั ง ขณะนี้ โ ซฟาหนั ง มหาภั ย ขาย ซึ่ ง มี ผู้ บ ริ โ ภคหลายพั น คนได้ รั บ กล่ า วก็ ก ลายสภาพเป็ น ก๊ า ซและ ออกไปแล้ว 100,000 ตัว นอกจากที่ ความเดือดร้อนจากการใช้โซฟามหา ระเหยออกมาในอากาศ ทำให้หายใจ ฟ้ อ งร้ อ งและได้ ค่ า ชดเชยไปแล้ ว ภั ย ที่ ซื้ อ จากร้ า นเฟอร์ นิ เ จอร์ ชื่ อ ดั ง ลำบากและรู้ สึ ก ระคายเคื อ งตา 2,000 ราย จะมีตามมาอีกประมาณ อย่าง อาร์กอส หรือโฮมเบส เป็นต้น นอกจากนี้ยังสามารถทะลุผ่านเสื้อผ้า 2,500 ราย ข่าวเขาบอกว่าใครที่ซื้อ เรื่องก็มีอยู่ว่า โซฟาบางส่วน ไปยั ง ผิ ว หนั ง ทำให้ เ กิ ด อาการปวด ไปแล้ ว ให้ น ำกลั บ มารั บ เงิ น คื น หรื อ ที่ ข ายในร้ า นเหล่ า นี้ ผ ลิ ต โดยบริ ษั ท แสบปวดร้ อ นไปจนถึ ง เป็ น แผล เปลี่ ย นเป็ น รุ่ น อื่ น ได้ แต่ น่ า แปลกที่ Linkwise และ Eurosofa ใน เรื้อรังในบางรายด้วย ยั ง ไม่ มี ก ารประกาศเรี ย กคื น โซฟา ประเทศจี น ทั้ ง สองโรงงานนี้ จ ะใส่ ศาลอั ง กฤษตั ด สิ น ให้ ร้ า น มหาภัยทั้งหมด สารไดเมทธิลฟูราเมท (หรือที่เรียก เฟอร์ นิ เ จอร์ เ หล่ า นั้ น จ่ า ยค่ า ชดเชย จ่ายแพงกว่าทำไม เขาอ้ า งว่ า คาเฟอี น จะทำให้ ข าเรี ย วและ กระชั บ ในขณะที่ วิ ต ามิ น อี จ ะช่ ว ยป้ อ งกั น ริ้ ว รอย เหี่ ย วย่ น และอโลเวราจะทำให้ ผิ ว เรี ย บเนี ย น โดยสารเหล่านี้จะถูกปล่อยออกมาจากฟองอากาศ ขนาดเล็ ก ๆ บนตั ว กางเกงในขณะที่ ผู้ ส วมใส่ มารค์แอนด์สเป็นเซอร์งานเข้า เมื่อองค์กรผู้บริโภคของ เคลื่อนไหวร่างกาย อั ง กฤษออกมาแฉว่ า กางเกงกำจั ด เซลลู ไ ลท์ ข องทางร้ า น ศั ล ยแพทย์ แ ละแพทย์ ผิ ว หนั ง บอกกั บ ซึ่งราคาตัวละ 29.50 ปอนด์ (ประมาณ 1,450 บาท) นั้นมี นิตยสาร WHICH? ว่ากางเกงทั่วไปที่ใส่รัดต้นขา คุ ณ สมบั ติ ไ ม่ แ ตกต่ า งไปจากกางเกงทั่ ว ๆ ไปที่ ใ ส่ ใ ห้ รั ด ให้แน่น ก็ให้ผลไม่ต่างกัน เพราะการรัดของมันจะ ต้นขาเลย ทำให้เซลลูไลท์ลดลงชั่วคราวด้วยการรีดของเหลว ทางร้ า นโฆษณาว่ า กางเกงดั ง กล่ า วสามารถกำจั ด ออกจากเนื้อเยื่อนั่นเอง และส่วนผสมสุดวิเศษสาม เซลลู ไ ลท์ บ ริ เ วณรอบเอวและต้ น ขาได้ ด้ ว ยส่ ว นผสมจาก อย่างที่ว่านั้น ก็ยังไม่แน่ว่าจะมีปริมาณมากพอที่จะ อโลเวรา วิ ต ามิ น อี และคาเฟอี น ซึ่ ง เป็ น ที่ นิ ย มใช้ กั น อย่ า ง ให้ผลที่ต้องการหรือไม่ แพร่หลายในครีมลดเซลลูไลท์ทั่วไปเชียวนะ ฉลาดซื้อี่ 111 พฤษภาคม 2553 6 ปีที่ 16 ฉบับที
  • 9. อาหาร “ห้ามนำเข้า” โรงภาพยนตร์ ใ นไต้ ห วั น นั้ น ข้าวโพด หรือฮอทด็อก แม้จะไม่ได้ เจาะจงมากเช่ น ขนมจี บ ทอด ข้ า ว เป็ น ที่ รู้ กั น ดี ว่ า จริ ง จั ง กั บ การห้ า ม ซื้ อ จากหน้ า โรง ก็ ใ ห้ ส ามารถนำ กล่ อ งเบนโตะ เครป ทุ เ รี ย น เม็ ด ผู้ บ ริ โ ภคนำอาหาร(ที่ ไ ม่ ไ ด้ ซื้ อ จาก เข้าไปได้ แตงโม(ดู เ หมื อ นว่ า จะแล้ ว แต่ ว่ า หน้าโรง) เข้าไปรับประทาน ... อ้อ ทั้ ง นี้ เ ขาเปิ ด ช่ อ งให้ แ ต่ ล ะโรง พนั ก งานจะคิ ด อะไรได้ ) ในขณะที่ นึกว่าเป็นแต่ที่เมืองไทยเสียอีก ไปทำรายการอาหารห้ามนำเข้ากันเอา บางแห่ ง ก็ ร ะบุ ไ ว้ ก ว้ า งๆ ว่ า ห้ า มนำ แต่ เ มื่ อ เดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ ที่ เอง ซึ่งจากการสำรวจโรงภาพยนตร์ “อาหารร้อน” เข้าไป อย่างหลังนี่ก็ถือ ผ่านมา รัฐบาลไต้หวันได้ออกประกาศ 10 แห่ ง ในกรุ ง ไทเป โดยองค์ ก ร เป็ น การเอาเปรี ย บผู้ บ ริ โ ภคอยู่ ห้ า มการกระทำดั ง กล่ า ว โรงไหน ผู้บริโภคของไต้หวันปรากฎว่าเกือบ เหมื อ นกั น เพราะทำให้ เ ข้ า ใจไปว่ า ฝ่ า ฝื น จะถู ก ปรั บ ประมาณ 60,000 ร้ อ ยละ 80 ของโรงภาพยนตร์ ที่ ห้ามอาหารร้อนจากภายนอกทั้งหมด ถึง 150,000 บาท สำรวจ มี ข้ อ ห้ า มที่ ดู ไ ม่ ค่ อ ยสมเหตุ แต่ โ รงหนั ง เขายั ง มี ห มั ด เด็ ด โดยจะยอมให้ ห้ า มได้ เ ฉพาะ สมผล เช่ น ห้ า มนำเบอร์ เ กอร์ เ ข้ า ไป ไว้ จั ด การกั บ ผู้ ช มที่ จ ะนำอาหาร อาหารบางอย่าง เช่น อาหารที่ทำให้ โดยให้เหตุผลเรื่องกลิ่น แต่ในขณะ เข้ า ไปรั บ ประทาน ด้ ว ยการเก็ บ เกิ ด เสี ย งดั ง เวลารั บ ประทาน และ เดี ย วกั น ที่ ห น้ า โรงก็ ข ายฮอทด็ อ ก “ ค่ า ธ ร ร ม เ นี ย ม ใ น ก า ร ท ำ ค ว า ม อาหารที่ มี ก ลิ่ น แรงเท่ า นั้ น ส่ ว น (ซึ่งกลิ่นก็ไม่น่าจะต่างกัน) สะอาด” อีกนะ เขาช่างมุ่งมั่นดีจริงๆ อาหารอื่นๆ อย่าง น้ำอัดลม กาแฟ บางโรงมีข้อกำหนดไว้เฉพาะ ซองใหม่ ไม่ชวนสูบ การขึ้นราคาบุหรี่ก็จะส่งผลต่อธุรกิจ ของพวกเขา ในขณะเดี ย วกั น ก็ เดื อ นกรกฎาคม 2012 ส่งเสริมให้คนหันไปซื้อจากตลาดมืด ออสเตรเลีย จะเป็นประเทศแรกใน มากขึ้ น ประธานกลุ่ ม ร้ า นค้ า ปลี ก โลกที่ ซองบุหรี่จะต้องดูเรียบๆ ไม่มี IGA บอกว่ า กฎหมายดั ง กล่ า ว โลโก้ ไม่มีสีสันฉูดฉาด ดึงดูดใจอีก 25 ซึ่งจะทำให้บุหรี่ขนาดซองละ 30 เป็น การทำร้ายคนออสซี่จำนวน 16 ต่อไป มวนขึ้นราคาอีกซองละ 60 บาท ล้ า นคนที่ เ ลื อ กการใช้ ชี วิ ต อย่ า งถู ก นอกจากนี้ ยั ง ต้ อ งมี ค ำเตื อ น งานนี้ ค่ า ยบุ ห รี่ ต อบโต้ ทั น ที ต้องตามกฎหมาย ตั ว ใหญ่ ๆ ถึ ง อั น ตรายต่ อ สุ ข ภาพ ด้ ว ยการขู่ ว่ า จะฟ้ อ งร้ อ งแน่ น อน ง า น นี้ ดู ท่ า ว่ า รั ฐ จ ะ ห น า ว โดยยี่ห้อนั้นเขาให้พิมพ์ตัวเล็กๆ ไว้ โฆษกของผู้ผลิตบุหรี่อิมพีเรียล โท เพราะตามกฎหมายของออสเตรเลีย ด้านล่าง แบคโคบอกว่า “การใช้ซองเรียบๆ ก็ นั้ น บริ ษั ท บุ ห รี่ ส ามารถที่ จ ะฟ้ อ งร้ อ ง นายกรั ฐ มนตรี เควิ น รั ด ด์ เท่ า กั บ เป็ น การทำให้ ผู้ บ ริ โ ภคไม่ ข อ ค่ า ช ด เ ช ย จ า ก ก า ร ถู ก บั ง คั บ บอกว่านี่เป็นกฎหมายที่เข้มงวดที่สุด สามารถแยกแยะยี่ ห้ อ ของเราออก เปลี่ ย นลั ก ษณะของซองผลิ ต ภั ณ ฑ์ ในโลก และบริษัทบุหรี่คงจะไม่ชอบ จากยี่ห้ออื่นได้ ซึ่งนั่นเท่ากับเป็นการ ได้ และรัฐบาลจะต้องจ่ายค่าชดเชย แน่ น อน แต่ ส งสั ย จะเข้ ม ไม่ พ อจึ ง สูญเสียประโยชน์ของบริษัท” ให้เป็นเงินถึงปีละ 3000 ล้านเหรียญ ต้องแถมด้วยการขึ้นภาษีอีกร้อยละ ส่ ว นร้ า นค้ า รายย่ อ ยบอกว่ า (ไม่ต่ำกว่า 86,000 ล้านบาท) ฉลาดซื้อ ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 111 พฤษภาคม 2553 7
  • 10. แชมป์รอสาย อ ง ค์ ก ร ผู้ บ ริ โ ภ ค ข อ ง อี ก นะ(บริ ษั ท แจ้ ง ไว้ ว่ า เวลารอสาย คิดไปคิดมาบริษัทก็ประกาศ นิ ว ซี แ ลนด์ ท ำการสำรวจระยะเวลา ของช่วงดังกล่าวอาจนานถึง 36 นาที ว่าอาจจะต้องย้ายฐานศูนย์บริการไป ที่ผู้บริโภคต้องรอสายเมื่อโทรเข้าไป และ 65 นาที ตามลำดับ) เขาแจ้งว่า ยั ง เมื อ งมะนิ ล า ประเทศฟิ ลิ ป ปิ น ส์ ที่ ศู น ย์ บ ริ ก า ร ข อ ง ผู้ ใ ห้ บ ริ ก า ร ปัญหาที่เกิดขึ้นนั้นเป็นเพราะปริมาณ ซึ่งจะส่งผลให้พนักงานในนิวซีแลนด์ อิ น เตอร์ เ น็ ต (ทั้ ง หมด 10 เจ้ า ลูกค้าเพิ่มขึ้นกว่าร้อยละ 30 จนขณะ (ซึ่งบริษัทจ้างด้วยค่าตอบแทนชั่วโมง สำหรับรองรับประชากร 4 ล้านคน นี้มีลูกค้ากว่า 300,000 รายที่ต้องให้ ละ 20 เหรียญ หรือประมาณ 470 ทั้ ง ประเทศ) และพบว่ า ลู ก ค้ า ของ บริการ(พูดเหมือนเป็นความผิดของ บาท บวกกับโบนัสจากจำนวนครั้งที่ เทลสตราเคลียร์ต้องรอนานที่สุด ลูกค้านะนี่) รั บ สายและความรวดเร็ ว ในการ เขาพบว่ า ถ้ า คุ ณ โทรเข้ า ไป ด้ ว ยความไม่ พ ร้ อ มดั ง กล่ า ว แก้ ปั ญ หา) ต้ อ งตกงานไม่ ต่ ำ กว่ า ที่ ศู น ย์ บ ริ ก ารของเทลสตราเคลี ย ร์ จึ ง ทำให้ พ นั ก งานที่ ใ ห้ บ ริ ก ารเองก็ 120 คน ในวันอังคาร ช่วงเวลา 23:40 น. – เครี ย ดไม่ แ พ้ กั น หนุ่ ม สาวชาวกี วี่ ที่ นักวิเคราะห์บอกว่าบริการจะ 01:30 น. คุ ณ จะใช้ เ วลารอสาย อายุระหว่าง 17 – 29 ปี ที่ผ่านการ ดีขึ้นหรือไม่ยังบอกไม่ได้ แต่ที่แน่ๆ 30 นาที ถ้าเป็นวันพฤหัส ช่วงเวลา ฝึ ก เป็ น เวลา 3 สั ป ดาห์ ก่ อ นเริ่ ม บริ ษั ท จะประหยั ด เงิ น ได้ ห ลายล้ า น 18:30 น.– 20:00 น. คุณจะได้ถือ ปฏิบัติงาน จะต้องรับฟังคนโทรเข้า เหรียญทีเดียว สายรอ 58 นาที มาระบายอารมณ์ ใ ส่ แ ล้ ว ก็ ต้ อ งรี บ ซึ่งความจริงตัวเลขดังกล่าวนี้ รั บ สายต่ อ ไปทั น ที โ ดยไม่ มี เ วลา ต่ ำ กว่ า ที่ ท างบริ ษั ท เขาแจ้ ง เตื อ นไว้ ผ่อนคลาย ฉลาดซื้อี่ 111 พฤษภาคม 2553 8 ปีที่ 16 ฉบับที
  • 11. เรื่องเด่น กองบรรณาธิการ ลิขสิทธิ์ = ปิดโอกาส? ฉลาดซื้อ ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 111 พฤษภาคม 2553 9
  • 12. ส่วนใหญ่แล้วเมื่อเราพูดถึงการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา โดยเฉพาะ อย่างยิ่งเรื่องกฎหมายลิขสิทธิ์เรามักจะได้ยินกันจนชิน คือเรื่องของเทปผี ซีดี/ ดีวีดีเถื่อน ที่ว่าด้วยการสูญเสียผลประโยชน์ของเจ้าของลิขสิทธิ์อย่างสำนัก พิมพ์ ค่ายหนัง ค่ายเพลง ฯลฯ เสียมาก แต่อีกสิ่งหนึ่งที่เรายังไม่ค่อยได้พูดถึงกันมากนักคือเรื่องของลิขสิทธิ์จาก มุมมองของผู้บริโภค เช่นเรื่องของโอกาสในการเข้าถึงข้อมูล ความรู้ จากงาน อันมีลิขสิทธิ์ที่มีราคาแพงเกินกว่าที่ผู้บริโภคในประเทศกำลังพัฒนาจะสามารถ ซื้อได้ หรือสิทธิในการทำสำเนาเพื่อแบ่งปันงานลิขสิทธิ์ที่ผู้บริโภคได้ซื้อมาอย่าง ถูกต้อง รวมถึงการขาดการสนับสนุนจากรัฐให้มีการสร้างหรือใช้ประโยชน์จาก งานที่ทำขึ้นเพื่อประโยชน์สาธารณะที่ไม่สงวนลิขสิทธิ์ในการแบ่งปันเป็นต้น การปรับปรุงกฎหมายลิขสิทธิ์ในปัจจุบันมีแนวโน้มที่ค่อนไปทางการ รักษาผลประโยชน์ของภาคธุรกิจ ไม่ว่าจะเป็นการขยายขอบเขต/ระยะเวลาการ คุ้มครอง การเพิ่มระดับการปราบปราม ล้วนแล้วแต่ส่งผลให้วัสดุเพื่อการเรียน รู้มีราคาแพงขึ้นหรือหาได้ยากขึ้นสำหรับในประเทศกำลังพัฒนา ซึ่งยังต้องอาศัย การต่อยอดจากงานที่มีการสร้างสรรค์ไว้ก่อนหน้านั้น นอกจากนี้ผู้บริโภคยังถูก ปฏิเสธเสรีภาพในการใช้สินค้าในแบบที่ควรจะสามารถทำได้อีกด้วย ว่าแล้วเรามาดูกันว่าถึงวันนี้กฎหมายลิขสิทธิ์ของประเทศไหนจะรักษา สมดุลระหว่างการรักษาผลประโยชน์ของเจ้าของลิขสิทธิ์กับการเข้าถึงความรู้ ของผู้บริโภคได้ดีกว่ากัน ฉลาดซื้อ 10 ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 111 พฤษภาคม 2553
  • 13. A2K Global survey สหพันธ์ผู้บริโภคสากล (Consumers International) ได้ทำการ สำรวจความเป็นมิตรต่อผู้บริโภคของกฎหมายลิขสิทธิ์ของ 34 ประเทศ จากทั่วทุกภูมิภาคของโลกในประเด็นต่อไปนี้ • ขอบเขต/ระยะเวลาคุ้มครอง • อิสระในการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากงานอันมีลิขสิทธิ์ • เสรีภาพในการแบ่งปันและถ่ายโอน • การบริหารจัดการและบังคับใช้กฎหมาย เราพบว่า • ประเทศไทยอยู่ในอันดับที่ 30 ในขณะที่ประเทศ เพื่อนบ้านของเราอย่าง มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และเวียดนามมี กฎหมายที่เป็นมิตรต่อผู้บริโภคมากกว่า (ในอันดับที่ 13 19 และ 20 ตามลำดับ) • สถานภาพทางเศรษฐกิจหรือระดับการพัฒนา ไม่ใช่ตัวแปรชี้วัดการมีกฎหมายลิขสิทธิ์ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ สวีเดน อเมริกา บังคลาเทศและอินโดนีเซียต่างก็อยู่ในสิบ อันดับต้น ในขณะที่อังกฤษและเคนย่าต่างก็เป็นหนึ่งในสิบ อันดับยอดแย่ • ประเทศส่วนใหญ่ยังทำคะแนนได้น้อยในเรื่องของ เสรีภาพในการแบ่งปันและถ่ายโอน ซึ่งหมายความว่า ประเทศเหล่านี้ควรเพิ่มงบประมาณในการส่งเสริมการสร้าง งานที่ไม่สงวนลิขสิทธิ์ สนับสนุนการใช้ ครีเอทีฟ คอมมอน และซอฟท์แวร์แบบโอเพ่นซอร์ส และใช้ประโยชน์จากงานที่ ยังไม่มีผู้อ้างสิทธิให้มากขึ้น • โดยรวมแล้วสิ่งที่ประเทศเหล่านี้ทำได้ดีก็คือเรื่อง ของการเข้าถึงและการใช้โดยสื่อมวลชน (แต่เรื่องนี้มีความ เกี่ยวข้องกับผู้บริโภคน้อยมาก เพราะสื่อเหล่านี้มี งบประมาณไว้สำหรับจ่ายค่าลิขสิทธิ์อยู่แล้ว) ฉลาดซื้อ ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 111 พฤษภาคม 2553 11
  • 14. Top ten ประเทศที่มีกฎหมายลิขสิทธิ์และการบังคับ ใช้ที่เอื้อต่อการเข้าถึงความรู้มากที่สุด 10 อันดับ 1. อินเดีย 2. เลบานอน 3. อิสราเอล 4. สหรัฐอเมริกา 5. อินโดนีเซีย 6. อัฟริกาใต้ 7. บังคลาเทศ 8. โมรอคโค 9. สวีเดน 10. ปากีสถาน กฎหมายลิขสิทธิ์ของประเทศเหล่านี้ ระบุข้อยกเว้นไว้อย่างกว้างๆ ทำให้ผู้บริโภคสามารถใช้งานจากงานอันมีลิขสิทธิ์ได้ สหรัฐอเมริกาและ อิสราเอล เรียกข้อยกเว้นนี้ว่า “การใช้งานอย่างเป็นธรรม” ในขณะที่สวีเดน และเลบานอนเรียกว่า “การทำสำเนาเพื่อการใช้ส่วนตัว” (โดยไม่ได้ระบุว่าเพื่อ ประโยชน์ทางการศึกษาเท่านั้น ดังนั้นจึงสามารถใช้เพื่อการบันเทิงได้ด้วย) ฉลาดซื้อ 12 ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 111 พฤษภาคม 2553
  • 15. Bottom ten ประเทศที่มีกฎหมายลิขสิทธิ์และการบังคับใช้ที่ เอื้อต่อการเข้าถึงความรู้น้อยที่สุด 10 อันดับ 1. ชิลี 2. จอร์แดน 3. อังกฤษ 4. เคนยา 5. ไทย 6. อาร์เจนตินา 7. บราซิล 8. แซมเบีย 9. อียิปต์ 10. ญี่ปุ่น ฉลาดซื้อ ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 111 พฤษภาคม 2553 13
  • 16. การจัดอันดับเกรดของแต่ละประเทศในด้านต่างๆ (แสดงเฉพาะ 10 อันดับต้น และ 10 อันดับท้าย) โดยให้เกรดแบบเดียวกับที่นักเรียนได้ในสมุดพก การจัดการและการบังคับใช้กฎหมาย อิสระในการเข้าถึงและการใช้งานอันมีลิขสิทธิ์ .... ขอบเขตและระยะเวลาการคุ้มครอง อิสระในการแบ่งปันและถ่ายโอน เพื่อประโยชน์สาธารณะ โดยผู้สร้างเนื้อหา โดยสื่อมวลชน เพื่อการศึกษา โดยห้องสมุด ในครอบครัว คะแนนรวม โดยผู้พิการ ออนไลน์ ประเทศ อันดับ 10 อันดับต้น 1 อินเดีย B B B A A A B C C D A B 2 เลบานอน C C C B B A B C A F B B 3 อิสราเอล D D C A B A B C B C B B 4 สหรัฐอเมริกา B B C A B C A A B C D B 5 อินโดนีเซีย D B A A D A B A B D D B 6 อัฟริกาใต้ B D B B D A D F B B C B 7 บังคลาเทศ B C A C C C B F C D C B- 8 โมรอคโค C D B A C A A F C F C B- 9 สวีเดน C A F A B A D A B D C B- 10 ปากีสถาน A D A F F A B F B F B B- 10 อันดับท้าย 25 ญี่ปุ่น F C B C F B D A D C D C 26 อียิปต์ D C B B D B C F B F F C 27 แซมเบีย C B D C D C D F B D D C 28 บราซิล F F F D B B F A B C D C- 29 อาร์เจนตินา C F F C D B F C C B C C- 30 ไทย D B B F C B C F D F F C- 31 เคนยา A D D C D D D F B F F C- 32 อังกฤษ C F F B C D B A F D F C- 33 จอร์แดน C D C D F B D F B F F C- 34 ชิลี F F F C D D F F F C C D ฉลาดซื้อ 14 ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 111 พฤษภาคม 2553
  • 17. ประเทศไทยได้เกรดเฉลี่ย C- โนอา เมทธินี นักกฎหมายอาสาสมัครของ มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค ซึ่งเป็นนักวิจัยที่ทำการวิเคราะห์ กฎหมายลิขสิทธิ์ของประเทศไทยในการสำรวจครั้งนี้ บอกว่า โดยภาพรวมแล้วกฎหมายลิขสิทธิ์ของไทยยัง ไม่มีมาตรการในการรับมือกับการพัฒนาการทาง เทคโนโลยีในสื่อใหม่ๆ ที่เกิดขึ้น เช่น การดาวน์โหลด ผ่านอินเตอร์เน็ต รวมถึงยังไม่มีการระบุไว้อย่างชัดเจน ในเรื่องการคุ้มครองสิทธิของผู้พิการในการเข้าถึง ข้อมูลความรู้ต่างๆ เขาตั้งข้อสังเกตว่าเมื่อไรก็ตามที่เราจะมีการแก้ กฎหมายเพื่อลดช่องว่างดังกล่าว เป็นไปได้อย่างยิ่งที่ ผู้บริโภคไทยจะเป็นฝ่ายเสียเปรียบ เพราะประเทศไทย ยังต้องการทำข้อตกลงทางการค้ากับประเทศอย่าง อเมริกาหรือกลุ่มประเทศอียู ซึ่งต้องการกฎหมาย คุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญาที่เข้มขึ้น ขณะนี้นัก ศึกษาสามารถทำสำเนาตำราเรียนเพื่อใช้ส่วนตัวได้ แต่ในอนาคตเมื่อมีการปรับปรุงกฎหมายลิขสิทธิ์แล้ว การจะทำสำเนาได้จะต้องผ่านกระบวนการที่ซับซ้อน และยากขึ้น ----- *หมายเหตุ ถ้าดูจากตาราง สหรัฐอเมริกาซึ่ง ประโยชน์ของภาคธุรกิจกับสิทธิผู้บริโภค ... จะทำข้อตกลงทางการค้ากับเราและเรียกร้องให้เรามี สมดุลที่ต้องตามหา กฎหมายลิขสิทธิ์เข้มขึ้นนั้น ให้อิสระกับประชาชนใน ภาคธุรกิจมักอ้างว่าควรมีกฎหมายลิขสิทธิ์ที่เข้ม ประเทศในการทำสำเนา และคัดลอกไฟล์ มากกว่า ไว้ก่อน เพราะไม่เช่นนั้นจะได้รับความเสียหายจาก บ้านเรามากทีเดียว เทคโนโลยีการแชร์ไฟล์ทางเน็ต แต่จนปัจจุบันก็ยังไม่ มีหลักฐานชัดเจนว่าการแชร์ไฟล์เป็นสาเหตุหลักของ การขาดทุนของธุรกิจเพลง แต่มีหลักฐานว่ารายได้ของ อุตสาหกรรมภาพยนตร์เพิ่มขึ้นสูงอย่างเป็น ประวัติการณ์ในปี 2552 ฉลาดซื้อ ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 111 พฤษภาคม 2553 15
  • 18. ภาคธุรกิจทำอย่างไร • ในแคนาดา สมาคมนักแต่งเพลงของแคนาดาเสนอให้มีการเก็บค่าธรรมเนียมรายเดือน เพื่อให้คนสามารถแบ่งปันเพลงกันได้อย่างถูกกฎหมาย • บริษัทวอร์เนอร์สาขาประเทศจีน ออกแผ่นดีวีดีไม่กี่วันหลังภาพยนตร์ออกฉาย โดย จำหน่ายในราคาแผ่นละ 70 บาท • หลายประเทศให้ผู้บริโภคได้ฟังเพลงหรือดูภาพยนตร์ผ่านแพลทฟอร์มดิจิตัลด้วยค่าบริการ ที่สมเหตุสมผล เช่น Spotify (www.spotify.com) หรือ Hulu (www.hulu.com) เป็นต้น • ปล่อยฟรีไปเลย หรือที่เรียกกันว่าเป็นผลงานสังกัดค่ายเพลงอินเตอร์เน็ท (netlabel) เช่น เพลงของ Radio Head หรือ Nine Inch Nails ซึ่งการปล่อยฟรีในที่นี้เท่ากับเป็นการ โปรโมทให้ผลงานของตนเองเป็นที่รับรู้โดยผู้ฟังจำนวนมาก COPY COPY COPY เมื่อการทำสำเนามีค่าใช้จ่าย ในแคนาดา สเปน ยูเครน สวีเดน จะคิดภาษีเพิ่มในอุปกรณ์เช่นเครื่องคอมพิวเตอร์ และที่ใช้สื่อบันทึก อย่างแผ่นซีดี ดีวีดีเปล่า เป็นต้น แต่นั่นยังเข้มไม่เท่าที่อิตาลี ที่ผู้บริโภคแต่ละครัวเรือนจะต้องจ่ายเงินเพิ่มถึง 100 ยูโร (ประมาณ 4,000 บาท) เพื่อ “สิทธิในการทำสำเนาเพื่อใช้เอง” ซึ่งได้แก่ภาษีที่ต้องเสียเมื่อ ซื้อซีดี ดีวีดีเปล่า เมมโมรี่สติ๊ก หรือมือถือมัลติมีเดีย และค่าธรรมเนียมในการดาวน์โหลด จากร้านเพลงออนไลน์ และภาษีที่ต้องจ่ายเมื่อซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์ (ซึ่งถือเป็นอุปกรณ์ใน การทำสำเนาด้วย) เราคงไม่ปฏิเสธว่าสังคมจะยั่งยืนได้ถ้าทุกคนสามารถเข้าถึงความรู้ได้โดยไม่ถูกจำกัด และสามารถร่วมกันสร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อประโยชน์สาธารณะได้ ติดตามการรณรงค์เพื่อ การเข้าถึงความรู้ของสหพันธ์ผู้บริโภคสากลและความเคลื่อนไหวขององค์กรสมาชิกได้ที่ http://a2knetwork.org/ พบกับผลสำรวจความคิดเห็นของนักศึกษาไทย เรื่องของอุปสรรคในการเข้าถึงงานอันมี ลิขสิทธิ์ได้ ในฉลาดซื้อฉบับ 112 (มิถุนายน) ฉลาดซื้อ 16 ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 111 พฤษภาคม 2553
  • 19. เรื่องจากปก พชร แกล้วกล้า ผู้ประสานงานโครงการ พัฒนากลไกการเฝ้าระวังความปลอดภัยด้านอาหารของผู้บริโภค มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค ผลทดสอบ ฉลาดซื้อฉบับนี้ขอรายงานผลการทดสอบ ของแห้งสำหรับปรุงอาหารยอดนิยม 3 ชนิดคือ เห็ด หอมแห้ง เห็ดหูหนูขาว และสาหร่ายทะเลแห้ง ครับ เหดหอม ็ ผลการทดสอบที่จะนำเสนอคราวนี้มาจาก การเก็บตัวอย่างจำนวน 2 ครั้ง ครั้งแรกเดือน เหดหหนขาว ็ ู ู กันยายน และครั้งที่สอง เดือนพฤศจิกายน 2552 โดยเก็บตัวอย่างจากทั้งในห้างสรรพสินค้าและใน ตลาดสด ของพื้นที่ดำเนินงานโครงการฯ 8 จังหวัด และสาหรายทะเล ่ ได้แก่ กรุงเทพฯ สมุทรสงคราม ขอนแก่น มหาสารคาม เชียงใหม่ พะเยา สตูล และสงขลา ฉลาดซื้อ ปีที่ 16 ฉบับทีี่ 111 พฤษภาคม 2553 17