SlideShare a Scribd company logo
1 of 66
Download to read offline
การสืบพันธุ์
และการเจริญของสัตว์
ครูสิปป์ แสง สุขผล
การสืบพันธุ์
(Reproduction)
หมายถึง กระบวนการที่ทาให้เกิดสิ่งมีชีวิตตัวใหม่ขึ้นมาจากสิ่งมีชีวิต
ชนิดเดียวกัน โดยที่สิ่งมีชีวิตรุ่นใหม่ที่เกิดขึ้นจะทดแทนสิ่งมีชีวิตรุ่นเก่าที่
ตายไป ทาให้สิ่งมีชีวิตเหลือรอดอยู่ได้โดยไม่สูญพันธุ์
2. ความสาคัญของการสืบพันธุ์
1.ทาให้เกิดหน่วยของสิ่งมีชีวิตขึ้นมาใหม่ ทดแทนชีวิตเดิมที่ตายไป
2.การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศทาให้เกิด ความผันแปรของลักษณะ ซึ่ง
เป็นกลไกของการดารงชีวิต
3.การสืบพันธุ์เป็นตัวตัดสินว่าอะไรเป็นสิ่งมีชีวิตหรือไม่
3.ประเภทของการสืบพันธุ์
การสืบพันธุ์มี 2 วิธี คือการสืบพันธุ์แบบไม่
อาศัยเพศ และการสืบพันธุ์แบบอาศัย
เพศ
1.การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (Asexual
Reproduction)
2.การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (Sexual
Reproduction)
สัตว์บางชนิดสามารถสืบพันธุ์ทั้งแบบอาศัย
เพศและแบบไม่อาศัยเพศ
เช่น ไฮดรา การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ
ของไฮดราจะใช้วิธีการแตกหน่อ
4.การเพิ่มจานวนเซลล์
(cellmultiplication)
5.การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ (asexual reproduction)
เป็นการสืบพันธุ์ที่ไม่ต้องอาศัยเซลล์สืบพันธุ์ (sex cell) เป็นการสืบพันธุ์ที่สร้าง
หน่วยใหม่ขึ้นมาจากสิ่งมีชีวิตเดิม การสืบพันธุ์แบบนี้พบตั้งแต่สิ่งที่มีชีวิตที่ยัง
ไม่เป็นเซลล์ พวกเซลล์เดียว และพวกหลายเซลล์ไปจนถึงพืชชั้นสูง
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศสามารถแบ่งได้ดังนี้
1. การแตกหน่อ (BUDDING) หน่อเดิมจะแบ่งเซลล์ได้หน่อใหม่ (BUD) แต่ติดกับหน่อเดิม รูปร่าง
เหมือนหน่อเดิม แต่ขนาดเล็กกว่า พบในพืชเซลล์เดียว เช่น ยีสต์ ในพืชหลายเซลล์ เช่น มาร์
เเชนเทีย (MARCHANTIA) ซึ่งเป็นพืชชั้นต่าพวกตะไคร่ชนิดหนึ่ง (หรือเรียกลิเวอร์เวิธ) และต้น
ตีนตุ๊กแก ต้นตายใบเป็น ส่วนในสัตว์หลายเซลล์ ได้แก่ ไฮดรา
ไฮดรา ซัคทอเรีย มาร์แชนเทีย
2. การแบ่งแยก (FISSION) เป็นการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของ
สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว เช่น โพรโทซัว แบคทีเรีย ยีสต์ และสาหร่าย
ระหว่างที่มีการแบ่งแยกจะมีการแบ่งสารพันธุกรรมด้วย แบ่งได้ 2
ประเภท คือ
1.1 แบ่งแยกเป็นสอง (BINARY FISSION) จากหนึ่งเซลล์แบ่ง
ได้เป็น 2 เซลล์ และ 4 เซลล์ต่อไปเรื่อยๆ ได้แก่ พารามีเซียม
1.2 การแบ่งแยกทวีคูณ (MULTIPLE FISSION) นิวเคลียส จะ
มีการแบ่งแบบไมโตซีสหลายครั้งได้นิวเคลียสหลายอัน แล้วจึงแบ่ง
ไซโตพลาซึมได้เป็นหลายเซลล์จะเกิดในพวกสัตว์ไม่มีกระดูกสัน
หลัง เช่น ในเชื้อมาเลเรียบางระยะและในอะมีบาบางชนิดในระยะ
เป็นตัวหนอนของฟองน้าและปลาดาวบางชนิด
http://web.nkc.kku.ac.th/118214/modules.php?name=Content&pa=showpage&pid=8
การสืบพันธุ์แบบไบนารีฟิ ชชัน (binary fission) (a-b) ภาพแสดงการแบ่งตัวตามยาว (c-d) ภาพแสดงการแบ่งตัวตามขวาง
(Miller and Harley, 2002)
Asexual reproduction by multiple fission in Amphistegina
http://www.marine.usf.edu/reefslab/pages/photoalbum.html
การแบ่งตัวแบบทวีคูณพบในพวกสปอโรซัว
http://web.nkc.kku.ac.th/118214/modules.php?name=Content&pa=showpage&pid=8
3.) พาร์ธีโนเจเนซิส (Parthenogenesis)
เช่น ตั๊กแตนกิ่งไม้ เพลี้ย ไรน้า
4 .) การงอกใหม่ (Regeneration)
ได้แก่ ดาวทะเล พลานาเรีย
5.)การสร้างสปอร์ (Spore Formation)
ได้แก่ เชื้อราไฮฟา
6.)การขาดออกเป็นท่อน (Fragmentation)
เช่น สาหร่ายทะเล(สาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน)
6.การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ (sexual reproduction)
เป็นการสืบพันธุ์ที่ผลิตสิ่งมีชีวิตใหม่ขึ้นมาด้วยการรวมตัวของหน่วย
พันธุกรรมการรวมตัวของเซลล์สืบพันธุ์เรียกว่าปฏิสนธิ (fertilization)
กลายเป็นเซลล์เริ่มต้นของสิ่งมีชีวิตรุ่นต่อไป
รูปแบบของการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ
1. รูปแบบของการสืบพันธุ์ในสิ่งมีชีวิตที่มีโครโมโซมเป็นแฮพลอยด์
พบในสิ่งมีชีวิตพวกโพรทิส
สร้างเซลล์สืบพันธุ์ที่เป็นแฮพลอยด์(แบ่งเซลล์แบบไมโทซิส) เกิดการ
รวมตัวของเซลล์สืบพันธุ์ ได้ไซโกตที่เป็นดิพลอยด์
ไซโกต จะแบ่งแบบไมโอซิสได้สปอร์ที่เป็นแฮพลอยด์ เจริญเป็น
สิ่งมีชีวิตที่มีโครโมโซมเป็นแฮพลอยด์
2. รูปแบบของการสืบพันธุ์ในสิ่งมีชีวิตที่มีโครโมโซมเป็นดิพลอยด์
พบในคน สัตว์ พืชบางชนิด เห็ดราบางชนิด และโพรโทซัว
โครโมโซมเป็นดิพลอยด์ สร้างเซลล์สืบพันธุ์แบบแฮพลอยด์(ไมโอซิส)
รวมตัวของเซลล์สืบพันธุ์ ได้ไซโกตเป็นดิพลอยด์
ไซโกต จะแบ่งแบบไมโทซิสเพิ่มจานวนเซลล์เจริญเป็นสิ่งมีชีวิตใหม่เป็นดิ
พลอยด์
ไข่ (Egg)
ลักษณะกลมหรือรี เคลื่อนที่ไม่ได้ไข่ของสัตว์มักมีอาหารสะสมอยู่
เพื่อเลี้ยงตัวอ่อนที่อยู่ภายในไข่เซลล์ไข่ส่วนมากมักจะมีสิ่งห่อหุ้ม
เพื่อป้องกันการกระทบกระเทือนจากสิ่งแวดล้อม
มีขนาดเล็กกว่าไข่มาก ส่วนประกอบอยู่ 3 ส่วน คือ หัว (head) ลาตัว
(body) และหาง (tail) ส่วนหัวจะมีนิวเคลียสเป็นส่วนประกอบ เคลื่อนที่โดย
ใช้หางตัวอสุจิจะมีขนาดเล็กกว่าไข่มาก และมองไม่เห็นด้วยตาเปล่า และจะเคลื่อนที่
ได้เร็วเพราะมีส่วนหางช่วยในการเคลื่อนที่เพื่อสะดวกในการเข้าผสมกับไข่
ตัวอสุจิ (Sperm)
เมื่อตัวอสุจิผสมกับไข่จะเกิด การปฏิสนธิ (Fertilization) ขึ้น
การปฏิสนธิ (Fertilization) แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
1.)การปฏิสนธิภายใน (Internal Fertilization)
ตัวอสุจิจากสัตว์เพศผู้เข้าผสมกับไข่ซึ่งยังอยู่ในตัวของสัตว์เพศเมีย
ได้แก่ สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ปลาที่ออกลูกเป็นตัว เช่น ปลาหางนกยูง
2.)การปฏิสนธิภายนอก (External Fertilization)
การผสมระหว่างไข่และตัวอสุจิภายนอกตัวของสัตว์เพศเมีย โดย
ที่เพศผู้จะปล่อยเชื้ออสุจิออกมา และเพศเมียจะปล่อยไข่ออกมา
เพื่อผสมกับตัวอสุจิ ได้แก่ สัตว์ครึ่งน้าครึ่งบก เช่น กบ เป็นต้น
ปลาต่าง ๆ และสัตว์น้าที่ออกลูกเป็นไข่ทุกชนิด
7.การสืบพันธุ์ของคน
การสืบพันธุ์ของคนมีการรวมตัวกันของอสุจิกับเซลล์ไข่ใน
ร่างกายของเพศหญิงเกิดเป็นไซโกต จากนั้นไซโกตจึงเริ่มแบ่ง
เซลล์และเจริญเติบโตเป็นเอ็มบริโอ เอ็มบริโอทีมีอายุเข้าสู่
เดือนที่ 3 ของการตั้งครรภ์และเมื่อครบ 9 เดือน จะคลอด
ออกมาเป็นทารก
อวัยวะสืบพันธุ์เพศชาย ( male genital organ) อวัยวะสืบพันธุ์
เพศชายแบ่งออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆ คือ
1.อวัยวะสืบพันธุ์เพศชายภายนอก ( external male genital
organ) เป็นอวัยวะส่วน ที่สามารถมองเห็นได้จากภายนอก
ระบบสืบพันธุ์เพศชาย (Male Reproductive System)
เป็นระบบที่ทาหน้าที่ในการสร้างเซลล์สืบพันธุ์ คือ sperm และทาหน้าที่
ในการนาส่ง sperm เข้าไปในอวัยวะสืบพันธุ์เพศหญิงเพื่อผสมกับเซลล์ไข่
ต่อไป นอกจากนี้ยังทาหน้าที่สร้าง hormone เพศชายอีกด้วย
2. อวัยวะสืบพันธุ์เพศชายภายใน ( internal male genital
organ) เป็นส่วนที่ไม่สามารถมองเห็นได้จากภายนอก
1. ลึงค์ ( penis)
2. ถุงอัณฑะ ( scrotum หรือ scrotal sec)
น้ากาม ( semen)
น้ากาม ( semen) หรือน้าอสุจิของการร่วมเพศ น้ากามเกิดจากต่อม
คัลเพอร์แต่ละครั้งมีประมาณ 3 cm³ ประกอบด้วยของเหลวจากต่อม
ต่างๆ คือ เซมินัลฟลูอิด พรอสเทติกฟลูอิดและของเหลวจากต่อมคาวเพอร์
และอสุจิอีกประมาณ 300-500 ล้านตัว น้ากามจะมีสีขาว ทึบแสง มีกลิ่น
เฉพาะตัว การหลั่งน้ากามเกิดจากการหดและแข็งตัวของกล้ามเนื้อตามท่อและ
เซมินัลเวซิเคิล
Spermatogenic cell
Spermatogenic cell เป็นกลุ่มของเซลล์สืบพันธุ์เพศชายจะมีการแบ่งตัว
และเปลี่ยนตั้งแต่ spermatogonia จนกลายไปเป็น sperm เรียก
กระบวนการนี้ว่า spermatogenesis ซึ่งใช้เวลานานประมาณ 64 วัน
แบ่งออกเป็นระยะต่าง ๆ ได้ 4 ระยะคือ
1.spermatocytogenesis
2.meiosis
- meiosis I เป็นการแบ่งเซลล์จาก primary spermatocyte กลายเป็น secondary
spermatocyte
- meiosis II เป็นการแบ่งเซลล์จาก secondary spermatocyte กลายเป็น
spermatid
3.spermiogenesis
4.spermiation
รูปที่ 5 ลักษณะโครงสร้างของอสุจิ
ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง (Female Reproductive System)
อวัยวะสืบพันธุ์ภายใน
อวัยวะเพศภายนอก (external genitalia)
การตกไข่และการมีประจาเดือน
8.การเติบโตของสิ่งมีชีวิต
1.การเพิ่มจานวนเซลล์
2. การเพิ่มขนาดเซลล์
เป็นกระบวนการสะสมและสังเคราะห์สารอินทรีย์ภายโมเลกุลของเซลล์ ทาให้โมเลกุลมี
ขนาดใหญ่ขึ้น หรือมีการรวมกันระหว่างโมเลกุลกับโมเลกุล เป็นผลให้เซลล์ต้องขยายขนาด
ตามไปด้วย
-ในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว การแบ่งเซลล์ถือว่าเป็น
การสืบพันธุ์
-สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ การแบ่งเซลล์เป็น
การเพิ่มจานวนเซลล์ให้มากขึ้น
การวัดการเติบโต (mesurement of growth)
เป็นการวัดขนาดที่เพิ่มมากขึ้นทาได้หลายวิธี คือ
1.การวัดน้าหนักที่เพิ่มขึ้น
2. การวัดความสูงที่เพิ่มขึ้น
3. การวัดปริมาตรที่เพิ่มขึ้น
4. การนับจานวนเซลล์ที่เพิ่มขึ้น
เส้นโค้งของการเติบโต (growth curve) เส้นโค้งที่แสดงอัตราการเติบโตอาจจะ
วัดออกมาเป็นหน่วยน้าหนักที่เพิ่มขึ้นต่อหน่วยเวลาที่เปลี่ยนไปหรือหน่วยความสูงที
เพิ่มขึ้นต่อหน่วยเวลาที่เปลี่ยนไป สิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่จะมีเส้นโค้งของการเติบโตเป็นรูปตัว
เอส (S) หรือ sigmoid curve เสมอ
3. การเปลี่ยนแปลงสภาพของเซลล์
พัฒนาการทางร่างกายของมนุษย์
4. การเกิดรูปร่างที่แน่นอน
ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโต
1.ศักยภาพของการถ่ายทอดลักษณะทาง
2. ปัจจัยทางสิ่งแวดล้อม
2.1 ปัจจัยทางชีวภาพ การเติบโตที่ผิดปกติอาจเป็นผลมาจากสิ่งมีชีวิตที่
ดารงชีวิตอยู่ด้วยกัน
2.2 ปัจจัยทางกายภาพ
2.2.1 ปัจจัยเกี่ยวกับพลังงาน ได้แก่ ความร้อน แสง เสียง เป็นต้น
2.2.2 ปัจจัยเกี่ยวกับสารเคมี สารเคมีที่มีผลต่อการเจริญเติบโต คือ
ฮอร์โมน เนื่องจากฮอร์โมน และสารที่เกี่ยวข้องโมน จะควบคุมการทางานของ
ระบบต่างๆ ในร่างกายให้เป็นปกติ
9.การเจริญของสิ่งมีชีวิต
การสร้างเซลล์สืบพันธุ์ในสัตว์
1. ขบวนการสร้างสเปอร์ม (spermatogenesis)
2. ขบวนการสร้างไข่ (Oogenesis)
3. ชนิดของไข่
ไข่ของสัตว์ต่างๆ จาแนกได้เป็น 4 ชนิด ตามปริมาณและการกระจายของไข่
แดง
1. ISOLECITHAL EGG เป็นพวกที่มีไข่แดงน้อย และกระจายทั่วไปภายใน
เซลล์ เช่น ไข่หอยเม่น ไข่ปลาดาว และไข่สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
2. MESOLECITHAL EGG เป็นพวกที่มีไข่แดงปานกลาง และไข่แดงมักจะอยู่
หนาแน่นที่ขั้วใดขั้วหนึ่งของเซลล์ ตัวอย่างเช่น ไข่กบ
3. TELOLECITHAL EGG เป็นพวกที่มีไข่แดงมาก และไข่แดงอยู่หนาแน่น
ตัวอย่างเช่น ไข่นก ไข่ไก่ ไข่ปลา และไข่ของสัตว์เลื้อยคลาน
4.CENTROLLECITHAL EGG เป็นพวกที่มีไข่แดงอยู่ตรงกลาง ตัวอย่าง เช่น
ไข่แมลง
4. อิทธิพลของไข่แดง
1. ขัดขวางการแบ่งเซลล์ของไข่ จากการศึกษาพบว่า บริเวณที่มีไข่แดงน้อย
จะมีการแบ่งเซลล์และมีการเคลื่อนที่ของเซลล์มากกว่าบริเวณที่มีไข่แดงมาก
2. ไข่แดงเป็นอาหารของตัวอ่อน
ด้านบนของไข่จะมีไข่แดงน้อยจะมีนิวเคลียสอยู่ด้วย เรียก
บริเวณว่า “แอนิมัลโพล (animal pole) ”
ส่วนด้านล่างจะมีไข่แดงสะสมอยู่มาก เรียกว่า “วีจีทัลโพล
(vegetal pole) ” ไข่แดงมีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตของสัตว์มาก
รูปแสดงไข่ชนิดเทโลเลซิทัล(telolecithal egg)
10.แบบแผนและลาดับขั้นตอนของการเจริญของสัตว์ชั้นสูง
การเจริญเติบโตของสัตว์ชั้นสูง มี 3 กระบวนการ คือ
1. การแบ่งตัวของไซโกต (Cleavage)
1.1 โฮโลบลาสติก คลีเวจ
(Holoblastic cleavage)
1.2 เมอโรบลาสติก คลีเวจ
(Meroblastic cleavage)
สรุปขั้นคลีเวจ
คลีเวจ (cleavage)เป็นการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสของไซโกตทั้งในแนวดิ่งและ
แนวขวาง การแบ่งเซลล์ของคลีเวจมี 2 แบบ คือ
- แบ่งตลอดเซลล์ไซโกต (holoblastic cleavage)
- แบ่งไม่ตลอดเซลล์ไซโกต (meroblastic cleavage)
2. บลาสทูเลชัน (Blastulation)
บลาสทูลา (blastula)เมื่อไซโกตถูกแบ่งให้เล็กลงโดยไม่มีการเพิ่มเนื้อที่
เซลล์ใหม่ (blastomeres หรือ cleavage cell) ประมาณ 100 – 250 เซลล์แล้ว จะอัด
ตัวกันแน่นจนเป็นรูปทรงกลม (spherical shape) และจะมีการเคลื่อนตัวของ
เซลล์ ทาให้เกิดช่องกลวงขึ้นตรงกลาง (central cavity) ภายในมีของเหลวบรรจุ
อยู่เต็ม เรียกช่องนี้ว่า “ บลาสโทซีล (blastocoel) ” ซึ่งเป็นลักษณะสาคัญของ
ระยะบลาสทูลา ส่วนชั้นของเซลล์ที่ล้อมรอบบลาสโทซีลอยู่เรียกว่า “ บลาสโท
เมียร์ (blastomere) ”
3. แกสทรูเลชัน (Gastrulation)
แกสทรูลา (gastrula)เป็นระยะที่บลาสทูลาที่มีเซลล์เพียงชั้นเดียว
(single-layered blastula)มีการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปทรงกลมที่มีเซลล์ 2 ชั้น
(double-layered sphere) ซึ่งจะเจริญเปลี่ยนแปลงไปเป็นทางเดินอาหาร
ในระยะนี้จะเกิดเนื้อเยื่อชั้นต่างๆ ขึ้น คือ เนื้อเยื่อชั้นนอก (ectoderm)
เนื้อเยื่อชั้นกลาง (mesoderm) และเนื้อเยื่อชั้นใน (endoderm)
การเจริญของตัวอ่อนในขั้นต่าง ๆ
11.การเจริญระยะเอ็มบริโอของกบการเจริญระยะเอ็มบริโอของกบ
ไข่กบมีลักษณะกลม ครึ่งบนมีสีเทาเข้มเกือบดา ครึ่งล่างมีสีขาวเหลืองเป็นบริเวณ
ที่มีไข่แดงซึ่งเป็นอาหารสะสมอยู่หนาแน่น
การเปลี่ยนแปลงในระยะแกสทรูลาของเอ็มบริโอกบ
Egg Cleavage Morula Blastula Glastrula
12. การเจริญระยะเอ็มบริโอของไก่
การเจริญระยะเอ็มบริโอของไก่
เซลล์ของไข่ไก่คือส่วนที่เรียกว่าไข่แดงเท่านั้น ไข่ขาวและเปลือกไข่เป็นส่วนประกอบที่
อยู่ภายนอกเซลล์ ไก่มีการปฏิสนธิภายในตัว(internal fertilization) เนื้อเยื่อทั้ง 3 ชั้นจะ
เจริญไปเป็นอวัยวะต่างๆของไก่ นอกจากเจริญไปเป็นอวัยวะต่าง ๆแล้วยังเจริญไปเป็น
โครงสร้างที่อยู่นอกเอ็มบริโอ (extraembryonic structure) 4 อย่างคือ โครงสร้างเหล่านี้
จาเป็นสาหรับสิ่งมีชีวิตที่ออกลูกเป็นไข่
1. ถุงไข่แดง (yolk sac)
2. แอนแลนทอยส์ (allantois)
3. ถุงน้าคร่า (amnion) และคอเรียน (chorion)
4. เปลือกไข่ (shell)
แสดงการพัฒนาของเอ็มบริโอไก่ภายในไข่ในช่วงเวลา
การพัฒนาของไข่เมื่อได้รับการผสมแล้ว
ไข่เมื่อได้รับการผสมแล้วจะกลายเป็นไซโกต (ZYGOTE) แล้วมีการแบ่ง
นิวเคลียสแบบไมโทซีส ไซโกตจะมีการเปลี่ยนแปลงต่อเนื่องกัน 4 ระยะ คือ
1. CLEAVAGE เริ่มจากไซโกตแบ่งตัวจาก 1 – 2 – 4 - 8 ... จนกระทั้ง
เซลล์มาเกาะกันเป็นก้อนกลมๆ เรียกว่า โมรูลา (MORULA)
2. BLASTULA เป็นตัวอ่อนในระยะที่มีการเคลื่อนที่ของเซลล์เพื่อให้ได้
ช่องว่างในตัวอ่อนเรียกช่องว่างนี้ว่า BLASTOCOEL และเรียกเซลล์ที่ล้อม
ช่องว่างว่า BLASTODERM ลักษณะของตัวอ่อนตอนนี้คล้ายผลน้อยหน่า
3. GASTRULA เป็นตัวอ่อนที่ต่อจากระยะ BLASTULA คือ เซลล์
แบ่งตัวแล้วเคลื่อนที่เข้าข้างในเห็นตัวอ่อนเป็นรูปถ้วย ซึ่งดูคล้ายมีผนัง 2 ชั้น คือ
ชั้นนอกและชั้นในและในตอนนี้จะเห็นมีช่องว่าง 2 ช่อง คือ BLASTOCOEL
และ ARCHENTERON ซึ่งช่อง ARCHENTERON ต่อไปจะเจริญไปเป็น
ทางเดินอาหาร ต่อมาจะเกิดเนื้อเยื่อแทรกระหว่างเนื้อเยื่อชั้นนอกและเนื้อเยื่อ
ชั้นใน เนื้อเยื่อที่เกิดขึ้นใหม่นี้คือเนื้อเยื่อชั้นกลางในตอนท้ายระยะ GASTRULA
จะมีการสร้างระบบประสาทขึ้น
Morula Blastula Gastrula
4. การเกิดรูปร่างของเอ็มบริโอ (embryogenesis)เป็น
การเปลี่ยนแปลง เนื้อเยื่อชั้นต่างๆ เป็นรูปร่างของเอ็มบริโอที่
สมบูรณ์ต่อไป ซึ่งประกอบด้วย
- อวัยวะที่เปลี่ยนแปลงมาจากเนื้อเยื่อชั้นนอก เช่น
ผิวหนัง (skin) , ส่วนของปาก , ระบบประสาท เป็นต้น
- อวัยวะที่เปลี่ยนแปลงมาจากเนื้อเยื่อชั้นกลาง เช่น
ระบบกล้ามเนื้อ , โครงกระดูก , ระบบขับถ่าย , ระบบสืบพันธุ์ ,ระบบ
หมุนเวียนโลหิต เป็นต้น
- อวัยวะที่เปลี่ยนแปลงมาจากเนื้อเยื่อชั้นใน เช่น ระบบ
ทางเดินอาหาร , ระบบหายใจ , อื่นๆ เป็นต้น
13. การเจริญระยะเอ็มบริโอของคน
การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
การเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ อาจแบ่งออกได้เป็น 3 ระยะด้วยกัน คือ
1. ระยะไข่ตก (Ovulation) 2. ระยะคัพภะ (Embryo) 3. ระยะตัวอ่อน (Fetus)
การคุ้มภัยให้ลูกอ่อนแบ่งออกเป็น 2 วิธี คือ
1. เอ็มบริโอที่เจริญนอกตัวแม่ เอ็มบริโอพวกนี้จะต้องมีส่วนที่ช่วย
ป้องกันอันตรายให้แก่เอ็มบริโอที่อยู่ภายใน
เช่น ไข่ไก่ ไข่กบ
2. เอ็มบริโอที่เจริญภายในตัวแม่ เอ็มบริโอพวกนี้จะมีความปลอดภัยสูง
มากเพราะแม่จะเป็นตัวคุ้มภัยให้
รูปแสดงการเจริญเอ็มบริโอของคนตั้งแต่เริ่มคลีเวจครั้งแรกจนถึงคลอด
การเจริญเติบโตหลังระยะเอ็มบริโอของสัตว์
สัตว์บางชนิดเช่น แมลงและกบ มีการเปลี่ยนแปลง
รูปร่างขณะเจริญเติบโต โดยรูปร่างขณะที่เป็นตัวอ่อนและ
ตัวเต็มวัยแตกต่างกันมาก เรียกการเปลี่ยนแปลงแบบนี้ว่า
เมทามอร์โฟซิส (metamorphosis)
1. เมทามอร์โฟซิสของแมลง แบ่งออกเป็น 4 แบบคือ
1.1 ไม่มีเมทามอร์โฟซิส (ametamorphosis )
ตัวอ่อนที่ฟักออกจากไข่มีรูปร่างเหมือนกับพ่อแม่ทุกอย่าง แล้ว
ตัวอ่อนก็ค่อย ๆ เจริญเติบโตแล้วลอกคราบเจริญเป็นตัวเต็มวัยต่อไป
เช่น แมลงสามง่าม แมลงหางดีด
1.2 มีเมทามอร์โฟซิสแบบค่อยเป็นค่อยไป (gradual metamorphosis)
ตัวอ่อนที่ฟักออกมาจากไข่มีรูปร่างคล้ายพ่อแม่ แต่มีอวัยวะบางอย่างไม่
ครบ เช่น ไม่มีปีก เมื่อแมลงโตขึ้นและลอกคราบปีกจะเริ่มงอกขึ้นเรียกตัวอ่อน
ระยะนี้ว่า นิมฟ์ (nymph) ต่อจากนั้นก็จะมีการลอกคราบหลายครั้งและเจริญเป็น
ตัวเต็มวัยต่อไป เช่น ตั๊กแตน แมลงสาบ ปลวก เหา ไร่ไก่ จักจั่น
1.3 มีเมทามอร์โฟซิสแบบไม่สมบูรณ์ (incomplete metamorphosis)
มีลักษณะคล้ายแบบค่อยเป็นค่อยไป แต่ขณะที่เจริญเติบโตนั้น มีการ
เปลี่ยนแปลงรูปร่างมากกว่า ตัวอ่อนมักเจริญอยู่ในน้า หายใจด้วยเหงือกเรียกว่า
ไนแอด (naiad) ต่อจากนั้นตัวอ่อนจะลอกคราบขึ้นมาอยู่บนบกและหายใจด้วย
ระบบท่อลม เช่น ชีปะขาว แมลงปอ
1.4 มีเมทามอร์โฟซิสแบบสมบูรณ์ (complete metamorphosis)
โดยมีการเจริญเปลี่ยนแปลงรูปร่างของร่างกาย เป็น 4 ขั้นตอน
ด้วยกัน คือ ไข่ (egg) แล้วฟักเป็นตัวอ่อนหรือตัวหนอน(larva) ซึ่งกินอาหาร
เก่งมากและเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ต่อจากนั้นจึงเป็นดักแด้ (pupa)
หยุดกินอาหารมักใช้ใยหรือใบไม้หุ้มตัวและฟักตัวอยู่ระยะหนึ่ง ตัวเต็มวัย
(adult) ออกจากเกราะและสืบพันธุ์ได้ต่อไป เช่น ด้วง ผีเสื้อ แมลงวัน ยุง ผึ้ง
ไหม
รูปแสดงการเจริญเติบโตของยุง
2. เมทามอร์โฟซิสของกบ
หลังจากปฏิสนธิตัวอ่อนจะฟักออกจากไข่เป็นลูกอ๊อด (tadpole)ว่ายน้า
และหายใจด้วยเหงือกซึ่งอยู่ภายนอก (external gill) มีการงอกขาหลังและขา
หน้าต่อมาเปลี่ยนแปลงรูปร่างโดยส่วนหางหดสั้นเข้า ขึ้นมาอาศัยอยู่บนบก
หายใจด้วยปอดและผิวหนังแทนเหงือก อายุได้ 3 ปีสืบพันธุ์ต่อไป
ไข่
ลูกอ๊อด
ลูกกบ
การเจริญเอ็มบริโอของคนตั้งแต่เริ่มคลีเวจครั้งแรกจนถึงคลอด
รูปแสดงการเจริญเอ็มบริโอของคนตั้งแต่เริ่มคลีเวจครั้งแรกจนถึงคลอด

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพSirintip Arunmuang
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชThanyamon Chat.
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมWichai Likitponrak
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศKhwankamon Changwiriya
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตTa Lattapol
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตnetzad
 
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดWan Ngamwongwan
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)Thitaree Samphao
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกThitaree Samphao
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองsukanya petin
 
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืช
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืชระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืช
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืชdnavaroj
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 

What's hot (20)

แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืช
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561Lesson4 animalrepro2561
Lesson4 animalrepro2561
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
พลังงานน้ำ
พลังงานน้ำพลังงานน้ำ
พลังงานน้ำ
 
Kingdom Animalia
Kingdom AnimaliaKingdom Animalia
Kingdom Animalia
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืช
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืชระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืช
ระบบลำเลียงน้ำและแร่ธาตุในพืช
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 

Similar to การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต

ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011Namthip Theangtrong
 
การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2Coverslide Bio
 
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์Wichai Likitponrak
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตPinutchaya Nakchumroon
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอนnokbiology
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)Pinutchaya Nakchumroon
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรมkrudararad
 
การสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชการสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชchiralak
 
Lesson4animalrepro kr uwichai62
Lesson4animalrepro kr uwichai62Lesson4animalrepro kr uwichai62
Lesson4animalrepro kr uwichai62Wichai Likitponrak
 
การสืบพันธุ์
การสืบพันธุ์การสืบพันธุ์
การสืบพันธุ์Wan Ngamwongwan
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอนNokko Bio
 
บทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
บทที่-5-การสืบพันธุ์.pptบทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
บทที่-5-การสืบพันธุ์.pptrathachokharaluya
 

Similar to การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต (20)

การสืบพันธ์
การสืบพันธ์การสืบพันธ์
การสืบพันธ์
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
 
Animal System
Animal SystemAnimal System
Animal System
 
การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2การสืบพันธุ2
การสืบพันธุ2
 
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
ติวสอบเตรียมสืบพันธุ์และเจริญสัตว์
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโตบทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
What is 0rganism 1
What is 0rganism 1What is 0rganism 1
What is 0rganism 1
 
1 repro
1 repro1 repro
1 repro
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอน
 
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
บทที่ 13 การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต (1)
 
พันธุกรรม
พันธุกรรมพันธุกรรม
พันธุกรรม
 
1
11
1
 
การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2
 
การสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืชการสืบพันธุ์ของพืช
การสืบพันธุ์ของพืช
 
Lesson4animalrepro kr uwichai62
Lesson4animalrepro kr uwichai62Lesson4animalrepro kr uwichai62
Lesson4animalrepro kr uwichai62
 
การสืบพันธุ์
การสืบพันธุ์การสืบพันธุ์
การสืบพันธุ์
 
ระบบสืบพันธุ์ สอน
ระบบสืบพันธุ์  สอนระบบสืบพันธุ์  สอน
ระบบสืบพันธุ์ สอน
 
บทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
บทที่-5-การสืบพันธุ์.pptบทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
บทที่-5-การสืบพันธุ์.ppt
 

การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต