SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
6. การพัฒนาการเรียนการสอนวิชาเคมีที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 
โดยใช้มัลติมีเดียเพื่อการศึกษาการทดลองทางเคมี 
การวิจัยและพัฒนาการเรียนการสอนวิชาเคมีที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยใช้มัลติมีเดีย 
เพื่อการศึกษาการทดลองทางเคมี (ฉบับสรุป) 
สิ่งพิมพ์ สกศ. อันดับที่ 66 / 2547 
พิมพ์ครั้งที่ 1 เมษายน 2547 
จานวน 1,000 เล่ม 
ผู้จัดพิมพ์เผยแพร่ กลุ่มงานครู/คณาจารย์ 
สานักมาตรฐานการศึกษาและพัฒนาการเรียนรู้ 
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา 
ถนนสุโขทัย เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300 
โทรศัพท์ 0-2668-7123 ต่อ 2526, 2531 โทรสาร 0-2669-7129 
Web site: http:// www.onec.go.th 
ผู้พิมพ์ ห้างหุ้นส่วนจากัด วี ที ซี คอมมิวนิเคชั่น 
32/99 รามอินทรา 65 
แขวงท่าแร้ง เขตบางเขน กทม. 10220 
โทรศัพท์ 0 - 2509 - 4499 
โทรสาร 0 - 2509 – 4546 
ความเป็นมา 
การปฏิรูปการเรียนรู้เป็นประเด็นสาคัญประเด็นหนึ่งของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 โดยมาตรา 22 หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา มีประเด็นหลัก 3ประเด็นคือ ต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ 
ถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด และกระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถตามธรรมชาติและเต็มตาม ศักยภาพดังนั้น ครูผู้สอนทุกระดับ/ทุกวิชา ควรพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ การจัดการ เรียนการสอนวิชาเคมีก็เช่นเดียวกัน ตามหลักสูตรทุกรายวิชามีจุดประสงค์ให้นักเรียนมีความรู้ในเนื้อหาวิชา และต้องการให้ นักเรียนได้ปฏิบัติการทดลอง เพื่อฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และปลูกฝังเจตคติทางวิทยาศาสตร์ 
การปฏิบัติการทดลอง จึงถือเป็นหัวใจสาคัญของวิชาเคมีที่จะช่วยให้ผู้เรียนได้มีประสบการณ์ตรงในการสืบเสาะหาความรู้ ด้วยตนเอง เป็นผู้ที่คิดเป็น ทาเป็น และแก้ปัญหาได้ โดยครูเป็นผู้จัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน การปฏิบัติการ ทดลองจึงเป็นวิธีการสอนวิธีหนึ่งที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ แต่การทดลองบางการทดลองในบทเรียนผู้เรียนไม่ได้ปฏิบัติการ ทดลอง เนื่องจากมีข้อจากัดหลายประการ เช่น สารเคมีมีราคาแพงหรือเป็นการทดลองที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ ปฏิบัติการทดลอง หรือบางการทดลองไม่สามารถสังเกตผลการทดลองได้ชัดเจน และเนื้อหาวิชาบางเรื่องเป็นนามธรรม เข้าใจยากนอกจากนั้น ครูผู้สอนบางท่านยังมุ่งสอนแต่เนื้อหาโดยยึดตัวครูเป็นสาคัญ และไม่เปิด 
โอกาสให้ผู้เรียนได้ทดลอง ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองด้วยเหตุผลดังกล่าว ครูผู้สอนวิชาเคมี จึงจาเป็นต้องพัฒนาวิธีการเรียนรู้ ของผู้เรียนและหาเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกยุคโลกาภิวัตน์ นั่นก็คือ 
การนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการจัดการเรียนการสอนซึ่งสามารถนามาใช้ได้หลาย รูปแบบ เช่น มัลติมีเดีย อินเตอร์เน็ต ซึ่งการนามัลติมีเดีย
มาใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการเรียนการสอนนี้ ผู้วิจัยได้ทาการศึกษาวิจัย เมื่อปีการศึกษา2536 โดยสร้างและพัฒนาบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนระบบมัลติมีเดียเรื่องการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบจาลองสถานการณ์ในการวิเคราะห์ และสรุปผลการทดลองเรื่องปฏิกิริยาไฟฟ้าเคมี โดยทดลองกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5ปีการศึกษา 2542 โรงเรียนราช วินิตบางแก้ว จังหวัดสมุทรปราการ จานวน 52 คน ผลการศึกษาวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่ใช้ คอมพิวเตอร์ช่วยสอนระบบมัลติมีเดียสูงกว่านักเรียนที่วิเคราะห์และสรุปผลการทดลองแบบอภิปรายโดยครูใน 
ชั้นเรียน และนักเรียนกลุ่มทดลองมีเจตคติที่ดีและเห็นด้วยกับการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนระบบมัลติมีเดียในการวิเคราะห์ และสรุปผลการทดลองวิชาเคมีและต้องการที่จะเรียนรู้ในลักษณะนี้กับเรื่องอื่นๆ ต่อไปนอกจากนั้น เมื่อผู้วิจัยได้ทาหน้าที่ เป็นหัวหน้าศูนย์คอมพิวเตอร์ช่วยสอนและอินเตอร์เน็ต โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว ตั้งแต่ปีการศึกษา 2538 จนถึงปัจจุบัน ได้ ทดลองสร้างและใช้มัลติมีเดีย เช่น เซลล์กัลวานิก เซลล์อิเล็กโทรไลต์ โลหะแอลคาไล โลหะแฮโลเจนและให้นักเรียนศึกษา ค้นคว้าหาความรู้ โดยสืบค้นข้อมูลต่างๆ ทางอินเทอร์เน็ตด้วยตนเองพบว่า การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารไม่ ว่ารูปแบบใด สามารถใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญได้ และจากการได้รับเชิญจากสถาบัน ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ให้เป็นวิทยากรอบรมครูผู้สอนวิชาเคมีซึ่งเป็นวิทยากรแกนนาจาก เขตการศึกษาต่างๆ ทั่วประเทศ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2539-2541 พบว่าครูผู้สอนวิชาเคมีส่วนมากใช้คอมพิวเตอร์ไม่ได้ และไม่ สามารถผลิตมัลติมีเดียหรือนาเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาช่วยในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้ และมีความสนใจที่จะ ศึกษาวิธีการผลิตและการใช้มัลติมีเดียเพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนวิชาเคมีให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นดังนั้น ผู้วิจัยซึ่ง เป็นครูแห่งชาติ ปี 2541 จึงมีแนวคิดในการพัฒนาความรู้ความสามารถ วิสัยทัศน์ และบทบาทของครูในการจัดกิจกรรมการ เรียนการสอนวิชาเคมีที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยนาเทคโนโลยีที่ทันสมัย คือ มัลติมีเดียเพื่อการศึกษาการทดลองทางเคมี หรืออินเทอร์เน็ตเข้ามาใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการจัดการเรียนการสอนวิชาเคมี โดยมีกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ นิเทศ และติดตามผลการพัฒนา 
วัตถุประสงค์ 
1. เพื่อพัฒนาครูเครือข่ายให้มีความรู้ ความสามารถในการสร้างและพัฒนามัลติมีเดียเพื่อการศึกษาการทดลองทางเคมี 
2. เพื่อพัฒนาครูเครือข่ายให้มีความรู้ ความสามารถในการประเมินคุณภาพและหาประสิทธิภาพมัลติมีเดียเพื่อการศึกษาการ ทดลองทางเคมี 
3. เพื่อพัฒนาครูเครือข่ายให้มีความรู้และสามารถนามัลติมีเดียเพื่อการศึกษาการทดลองทางเคมีที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ ที่กาหนดไปใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการเรียนรู้วิชาเคมีของนักเรียน 
4. เพื่อศึกษาผลการจัดการเรียนการสอนวิชาเคมีที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยใช้มัลติมีเดียเพื่อการศึกษาการทดลองทางเคมี ของครูเครือข่าย 
5. เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอนวิชาเคมีที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญของครูให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น 
4. ครูเครือข่ายมีความรู้และสามารถประเมินคุณภาพ หาประสิทธิภาพและปรับปรุงมัลติมีเดียเพื่อการศึกษาการทดลองทาง เคมีได้ จานวน 18 เรื่อง 
เพื่อการศึกษาการทดลองทางเคมี 
1. การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ 
ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการเรียนรู้ นักการศึกษา ครู ผู้บริหาร ผู้เรียน และทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา ได้ให้ความคิดเห็น เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ สรุปเป็นสาระสาคัญได้ดังนี้การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน เป็นสาคัญ หมายถึง การกาหนดจุดมุ่งหมายสาระ กิจกรรม แหล่งเรียนรู้ สื่อการเรียน และการวัดประเมินผลที่มุ่งพัฒนาคน
และชีวิตให้เกิดประสบการณ์การเรียนรู้เต็มตามความสามารถ สอดคล้องกับความถนัด ความสนใจและความต้องการของ ผู้สอนจะคานึงถึงสิทธิของผู้เรียน 2 ประการ คือ สิทธิของผู้เรียนที่จะเรียนรู้ และกระตุ้น 
4. เน้นกระบวนการมากกว่าเนื้อหา กระบวนการเรียนรู้ที่มาจากผู้เรียนจะมีความ 
หลากหลาย ขึ้นอยู่กับศักยภาพของผู้เรียนแต่ละคน โดยเน้นความแตกต่างระหว่างบุคคล 
ที่ไม่ใช่คุณภาพของการจา แต่เป็นศักยภาพของความใส่ใจและแรงผลักดันของแต่ละบุคคล 
อารมณ์พื้นฐานของผู้เรียนจะพัฒนาไปสู่คุณธรรมและจริยธรรม ซึ่งท่านพุทธทาสกล่าวว่า 
เป็นการศึกษาชนิดหางไม่ด้วน คือการรู้จักควบคุมความฉลาดเป็นการเรียนรู้คู่คุณธรรม 
กระบวนการเรียนรู้ ได้แก่ 
4.1 กระตุ้นความรู้เดิมของผู้เรียน 
4.2 ให้ผู้เรียนได้รับข้อมูลใหม่ โดยการแสวงหา รวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง 
4.3 ให้ผู้เรียนได้ศึกษา วิเคราะห์ ทาความเข้าใจข้อมูลโดยใช้ทักษะ 
กระบวนการต่างๆ 
4.4 ให้ผู้เรียนสรุปความรู้ที่ได้ด้วยตนเองและแสดงออกถึงสิ่งที่ค้นพบด้วยการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียน สามารถทางานได้สาเร็จภายใต้การแนะนาช่วยเหลือจากผู้สอน ผู้เรียนจะทากิจกรรมเพิ่มเติมได้หลากหลายจากกิจกรรม 
การเรียนรู้ที่ตนเองสนใจ บทบาทผู้สอนได้แก่ คอยสังเกต สนับสนุน สร้างบรรยากาศทางสังคมให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับ เพื่อนสมาชิกของผู้เรียน จะทาให้ผู้เรียนได้รับความหมายและประโยชน์ของการเรียนรู้อันเป็นพื้นฐานการพัฒนา ความสามารถทางการคิด 
5. พัฒนาผู้เรียนแบบองค์รวม เนื่องจากธรรมชาติของผู้เรียนมีศักยภาพที่หลากหลายและซับซ้อน การพัฒนาศักยภาพผู้เรียน ได้อย่างเต็มที่และกลมกลืนกิจกรรมการเรียนรู้ต้องให้ความสาคัญต่อการพัฒนาผู้เรียนทุก ๆ คน และทุก ๆ ด้าน 
คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลตามความต้องการ ความสนใจและความพร้อมการออกแบบกิจกรรมจะต้องเหมาะกับ ผู้เรียน เช่น การทาโครงงาน การทางานเป็นกลุ่มโดยคานึงถึงจุดมุ่งหมายหรือความต้องการ ความสนใจของผู้เรียน ความรู้ เดิมของผู้เรียนและสาระที่จะเรียนรู้ใหม่ การสร้างบรรยากาศที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเป็นผู้กระทา โดย 
6. กิจกรรมการเรียนรู้เป็นโครงสร้างแบบเปิดมีความยืดหยุ่นหลากหลายผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนา ทักษะการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองทักษะการคิด ทักษะกระบวนการ ทักษะการจัดการ และทักษะการทางานเป็นกลุ่ม 
ซึ่งทักษะเหล่านี้จะหลอมรวมเป็นทักษะชีวิตของผู้เรียนต่อไป 
7. การประเมินในขณะมีการเรียนการสอน เป็นการประเมินที่เป็นธรรมชาติสอดคล้องกับความเป็นจริง ซึ่งเป็นการประเมิน ที่ทาไม่ได้ง่าย ถ้าผู้สอนไม่เข้าใจกระบวนการเรียนรู้สู่การพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน เพราะการเรียนรู้ยังคงดาเนินอย่าง ต่อเนื่องขณะที่มีการประเมิน วิธีการประเมินโดยใช้การทดสอบการเรียนรู้จะถูกปิดลงขณะที่มีการประเมินเกิดขึ้น การ ประเมินตามสภาพจริงต้องการให้ผู้เรียนประยุกต์ความรู้เดิมกับสถานการณ์ใหม่ ผู้สอนสามารถแยกแยะได้ว่าอะไรเป็นสิ่งที่ ผู้เรียนจาได้ และสิ่งใดที่ผู้เรียนประยุกต์ขึ้น ทาให้เกิดแนวทางปฏิบัติที่หลากหลาย ซึ่งนาไปสู่ความยุติธรรมของ 
การประเมินและเป็นการพัฒนาการเรียนรู้สาหรับผู้เรียน 
2. สื่อประสม (Multimedia) 
ในอดีต สื่อประสม (Multimedia) หมายถึง การนาสื่อหลายๆ ประเภทมาใช้ร่วมกัน 
ทั้งภาพนิ่งและเคลื่อนไหว เพื่อใช้เป็นสื่อในการจัดการเรียนการสอนที่เสนอเนื้อหาใน 
รูปแบบต่างๆ นอกเหนือจากการบรรยาย โดยผู้เรียนไม่ได้มีปฏิสัมพันธ์ต่อสื่อนั้นโดยตรง 
แต่ในปัจจุบันผู้เรียนสามารถมีปฏิสัมพันธ์กับสื่อได้ ดังนั้น สื่อประสม จึงมีความหมาย
เพิ่มขึ้นจากเดิม ถือเป็น “สื่อประสมเชิงโต้ตอบ” (Interactive Multimedia) เป็นการนาอุปกรณ์ต่างๆ เช่น เครื่องเล่นซีดีรอม เครื่องเสียงระบบดิจิทัล เครื่องเล่นแผ่นวีดิทัศน์ ฯลฯมาใช้ร่วมกันเพื่อเสนอเนื้อหาข้อมูลที่เป็นตัวอักษร ภาพกราฟฟิก ภาพถ่ายภาพเคลื่อนไหวแบบวีดิทัศน์ และเสียงในระบบสเตริโอ โดยการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ 
ช่วยในการผลิต การนาเสนอเนื้อหา และเพื่อเป็นตัวควบคุมการทางานของอุปกรณ์ร่วมเหล่านี้เพื่อให้ทางานตามโปรแกรมที่ เขียนไว้เป็นการให้ผู้เรียนมิใช่เพียงแต่นั่งดู หรือฟังข้อมูลจากสื่อที่เสนอมาเท่านั้น แต่ผู้เรียนสามารถควบคุมให้คอมพิวเตอร์ ทางานในการตอบสนองต่อคาสั่งและให้ข้อมูลป้อนกลับในรูปแบบต่าง ๆ ได้อย่างเต็มที่ เนื้อหาในสื่อประสมจะมีลักษณะ ไม่เรียงลาดับเป็นเส้นตรง มิใช่เป็นสิ่งพิมพ์ และสามารถเชื่อมโยงถึงกันได้ตลอดเวลาโดยที่ผู้เรียนไม่จาเป็นต้องอ่าน ตามลาดับของเนื้อหา แต่เป็นการอ่านในลักษณะของ ข้อความหลายมิติ (Hypertext) และสื่อหลายมิติ (Hypermedia) 
จากความหมายที่เพิ่มขึ้นของสื่อประสมดังกล่าว นักเทคโนโลยีการศึกษา 
แบ่งสื่อประสมออกเป็น 2 กลุ่ม คือ 
สื่อประสม I (Multimedia I) เป็นสื่อประสมที่ใช้โดยการนาสื่อหลายประเภทมาใช้ 
ร่วมกันในการเรียนการสอน เช่น นาวีดิทัศน์มาสอนประกอบการบรรยายของผู้สอนโดยมี 
สื่อสิ่งพิมพ์มาประกอบ หรือเป็นสื่อประสมในชุดการเรียน หรือชุดการสอน การใช้สื่อ 
ประสม I นี้ผู้เรียนและสื่อจะไม่มีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบกัน และจะมีลักษณะเป็น “สื่อหลายแบบ” 
ตามศัพท์บัญญัติของราชบัณฑิตยสถาน 
สื่อประสม II (Multimedia II) เป็นสื่อประสมที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นฐานในการเสนอ 
สารสนเทศ หรือการผลิตเพื่อเสนอข้อมูลประเภทต่างๆ เช่น ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว 
ตัวอักษร และเสียงในลักษณะของสื่อหลายมิติ โดยที่ผู้ใช้มีการโต้ตอบกับสื่อโดยตรง 
การใช้คอมพิวเตอร์ในสื่อประสม II ใช้ได้ใน 2 ลักษณะ คือ
บรรณานุกรม 
กิดานันท์ มลิทอง. 2543. เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม. กรุงเทพมหานคร: 
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 376 หน้า. 
คณิต ไข่มุกต์. 2527. “คอมพิวเตอร์กับการศึกษา”. สื่อ. 3 (เมษายน-เมษายน 2527): 21-30. 
ณรงค์ บุญมี. 2529. การใช้คอมพิวเตอร์ในกระทรวงศึกษาธิการ: Mis / CE / CAI. 
รายงานการประชุมวิชาการ เรื่องการนาคอมพิวเตอร์ไปใช้ช่วยในการเรียนการสอน 
วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์. 11-12 กันยายน 2529. กรุงเทพมหานคร: สสวท. 
ทักษิณา สวนานนท์. 2530. คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภา. 
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์. 2535. เอกสารประกอบการสอนวิชาทฤษฎีและการสอนวิทยาศาสตร์. 
ภาควิชาการศึกษา, คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (อัดสาเนา) 
ประวิทย์ บึงสว่าง. 2537. การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบจาลองสถานการณ์ 
ในการวิเคราะห์และสรุปผลการทดลอง เรื่องปฏิกิริยาไฟฟ้าเคมี. 
กรุงเทพมหานคร: วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 
พรพิไล เลิศวิชา. 2544. การศึกษาในท่ามกลางเทคโนโลยี. กรุงเทพมหานคร. เอกสาร 
ประกอบการจัดงานสัมมนาทางวิชาการมหกรรมอินเทอร์เน็ตเพื่อการศึกษาในโรงเรียน 
ครั้งที่ 1, สานักงานเลขานุการคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ 
ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ 
วรรณทิพา รอดแรงค้า. 2535. เพื่อพัฒนาการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์. 
ภาควิชาการศึกษา, คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. 2539. แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ 
ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2540-2544). กรุงเทพมหานคร: อรรถพลการพิมพ์. 
--------. 2543. ร่วมคิดร่วมเขียน ปฏิรูปการเรียนรู้ผู้เรียนสาคัญที่สุด. กรุงเทพมหานคร: 
สถาบันแห่งชาติเพื่อปฏิรูปการเรียนรู้ 
--------. 2541. รายงานการสรุปผลการประชุมปฏิบัติการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ 
วิทยากรแกนนาวิชาเคมี. สสวท. 
สุดา ใบแย้ม. เอกสารหมายเลข 4 การเรียนการสอนทาไมต้องเน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลาง. 
กรุงเทพมหานคร: หน่วยศึกษานิเทศน์ กรมสามัญศึกษา. 
สมหวัง พิริยานุวัฒน์และคนอื่นๆ. 2533. รวมบทความทางการประเมินโครงการ. 
พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 
หน่วยศึกษานิเทศน์ กรมสามัญศึกษา. 2540. การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่เน้นนักเรียน 
เป็นศูนย์กลาง. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภา.

More Related Content

What's hot

วิทยานิพนธ์
วิทยานิพนธ์วิทยานิพนธ์
วิทยานิพนธ์ruathai
 
Media&tech2learn 003 - Part 3
Media&tech2learn 003 - Part 3Media&tech2learn 003 - Part 3
Media&tech2learn 003 - Part 3Kittipun Udomseth
 
Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้phoom_man
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd aสื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd ajaacllassic
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗jaacllassic
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗jaacllassic
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้immyberry
 
บทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกันบทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกันNirut Uthatip
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้Pennapa Kumpang
 
งานนำเสนอ สามบทครูเดียว การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา
งานนำเสนอ สามบทครูเดียว การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษางานนำเสนอ สามบทครูเดียว การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา
งานนำเสนอ สามบทครูเดียว การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษาWeerachat Martluplao
 
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3Yodhathai Reesrikom
 
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ 2
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ 2การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ 2
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ 2seven_mu7
 
46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน
46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน
46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้านPochchara Tiamwong
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้Vi Mengdie
 
งานบทที่ 7
งานบทที่ 7งานบทที่ 7
งานบทที่ 7hadesza
 

What's hot (20)

วิทยานิพนธ์
วิทยานิพนธ์วิทยานิพนธ์
วิทยานิพนธ์
 
Media&tech2learn 003 - Part 3
Media&tech2learn 003 - Part 3Media&tech2learn 003 - Part 3
Media&tech2learn 003 - Part 3
 
Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd aสื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
บทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกันบทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกัน
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
 
งานนำเสนอ สามบทครูเดียว การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา
งานนำเสนอ สามบทครูเดียว การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษางานนำเสนอ สามบทครูเดียว การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา
งานนำเสนอ สามบทครูเดียว การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา
 
Ea5103
Ea5103Ea5103
Ea5103
 
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
 
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ 2
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ 2การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ 2
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ 2
 
46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน
46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน
46เครื่องมือติดตามตรวจสอบ8ด้าน
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้
 
งานบทที่ 7
งานบทที่ 7งานบทที่ 7
งานบทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
55102 ภาษาไทย utq
55102  ภาษาไทย utq55102  ภาษาไทย utq
55102 ภาษาไทย utq
 

Similar to 6

ข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วยภาค ข วิชาฟิสิกส์ ชุดที่6
ข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วยภาค ข วิชาฟิสิกส์ ชุดที่6ข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วยภาค ข วิชาฟิสิกส์ ชุดที่6
ข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วยภาค ข วิชาฟิสิกส์ ชุดที่6Anukun Khaiochaaum
 
บทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานินบทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานินsuwat Unthanon
 
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคมวิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคมMuntana Pannil
 
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคมวิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคมMuntana Pannil
 
Assignment 4 Siriporn
Assignment 4 SiripornAssignment 4 Siriporn
Assignment 4 Siripornsiriporn9915
 
รายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือรายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือNirut Uthatip
 
รายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือรายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือNirut Uthatip
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7wanneemayss
 

Similar to 6 (20)

World class
World classWorld class
World class
 
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการนโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3
 
ข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วยภาค ข วิชาฟิสิกส์ ชุดที่6
ข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วยภาค ข วิชาฟิสิกส์ ชุดที่6ข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วยภาค ข วิชาฟิสิกส์ ชุดที่6
ข้อสอบบรรจุครูผู้ช่วยภาค ข วิชาฟิสิกส์ ชุดที่6
 
บทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานินบทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานิน
 
วิชาการ
วิชาการวิชาการ
วิชาการ
 
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคมวิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
 
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคมวิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
วิสัยทัศน์โรงเรียนผาเมืองวิทยาคม
 
Assignment 4 Siriporn
Assignment 4 SiripornAssignment 4 Siriporn
Assignment 4 Siriporn
 
ทักษะกระบวนการวิทย์
ทักษะกระบวนการวิทย์ทักษะกระบวนการวิทย์
ทักษะกระบวนการวิทย์
 
รายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือรายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือ
 
รายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือรายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือ
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 

More from Mus Donganon (9)

10
1010
10
 
9
99
9
 
8
88
8
 
7
77
7
 
5
55
5
 
4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 

6

  • 1. 6. การพัฒนาการเรียนการสอนวิชาเคมีที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยใช้มัลติมีเดียเพื่อการศึกษาการทดลองทางเคมี การวิจัยและพัฒนาการเรียนการสอนวิชาเคมีที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยใช้มัลติมีเดีย เพื่อการศึกษาการทดลองทางเคมี (ฉบับสรุป) สิ่งพิมพ์ สกศ. อันดับที่ 66 / 2547 พิมพ์ครั้งที่ 1 เมษายน 2547 จานวน 1,000 เล่ม ผู้จัดพิมพ์เผยแพร่ กลุ่มงานครู/คณาจารย์ สานักมาตรฐานการศึกษาและพัฒนาการเรียนรู้ สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ถนนสุโขทัย เขตดุสิต กรุงเทพฯ 10300 โทรศัพท์ 0-2668-7123 ต่อ 2526, 2531 โทรสาร 0-2669-7129 Web site: http:// www.onec.go.th ผู้พิมพ์ ห้างหุ้นส่วนจากัด วี ที ซี คอมมิวนิเคชั่น 32/99 รามอินทรา 65 แขวงท่าแร้ง เขตบางเขน กทม. 10220 โทรศัพท์ 0 - 2509 - 4499 โทรสาร 0 - 2509 – 4546 ความเป็นมา การปฏิรูปการเรียนรู้เป็นประเด็นสาคัญประเด็นหนึ่งของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 โดยมาตรา 22 หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา มีประเด็นหลัก 3ประเด็นคือ ต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด และกระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถตามธรรมชาติและเต็มตาม ศักยภาพดังนั้น ครูผู้สอนทุกระดับ/ทุกวิชา ควรพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ การจัดการ เรียนการสอนวิชาเคมีก็เช่นเดียวกัน ตามหลักสูตรทุกรายวิชามีจุดประสงค์ให้นักเรียนมีความรู้ในเนื้อหาวิชา และต้องการให้ นักเรียนได้ปฏิบัติการทดลอง เพื่อฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และปลูกฝังเจตคติทางวิทยาศาสตร์ การปฏิบัติการทดลอง จึงถือเป็นหัวใจสาคัญของวิชาเคมีที่จะช่วยให้ผู้เรียนได้มีประสบการณ์ตรงในการสืบเสาะหาความรู้ ด้วยตนเอง เป็นผู้ที่คิดเป็น ทาเป็น และแก้ปัญหาได้ โดยครูเป็นผู้จัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน การปฏิบัติการ ทดลองจึงเป็นวิธีการสอนวิธีหนึ่งที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ แต่การทดลองบางการทดลองในบทเรียนผู้เรียนไม่ได้ปฏิบัติการ ทดลอง เนื่องจากมีข้อจากัดหลายประการ เช่น สารเคมีมีราคาแพงหรือเป็นการทดลองที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อผู้ ปฏิบัติการทดลอง หรือบางการทดลองไม่สามารถสังเกตผลการทดลองได้ชัดเจน และเนื้อหาวิชาบางเรื่องเป็นนามธรรม เข้าใจยากนอกจากนั้น ครูผู้สอนบางท่านยังมุ่งสอนแต่เนื้อหาโดยยึดตัวครูเป็นสาคัญ และไม่เปิด โอกาสให้ผู้เรียนได้ทดลอง ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองด้วยเหตุผลดังกล่าว ครูผู้สอนวิชาเคมี จึงจาเป็นต้องพัฒนาวิธีการเรียนรู้ ของผู้เรียนและหาเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของโลกยุคโลกาภิวัตน์ นั่นก็คือ การนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารมาใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการจัดการเรียนการสอนซึ่งสามารถนามาใช้ได้หลาย รูปแบบ เช่น มัลติมีเดีย อินเตอร์เน็ต ซึ่งการนามัลติมีเดีย
  • 2. มาใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการเรียนการสอนนี้ ผู้วิจัยได้ทาการศึกษาวิจัย เมื่อปีการศึกษา2536 โดยสร้างและพัฒนาบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนระบบมัลติมีเดียเรื่องการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบจาลองสถานการณ์ในการวิเคราะห์ และสรุปผลการทดลองเรื่องปฏิกิริยาไฟฟ้าเคมี โดยทดลองกับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5ปีการศึกษา 2542 โรงเรียนราช วินิตบางแก้ว จังหวัดสมุทรปราการ จานวน 52 คน ผลการศึกษาวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่ใช้ คอมพิวเตอร์ช่วยสอนระบบมัลติมีเดียสูงกว่านักเรียนที่วิเคราะห์และสรุปผลการทดลองแบบอภิปรายโดยครูใน ชั้นเรียน และนักเรียนกลุ่มทดลองมีเจตคติที่ดีและเห็นด้วยกับการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนระบบมัลติมีเดียในการวิเคราะห์ และสรุปผลการทดลองวิชาเคมีและต้องการที่จะเรียนรู้ในลักษณะนี้กับเรื่องอื่นๆ ต่อไปนอกจากนั้น เมื่อผู้วิจัยได้ทาหน้าที่ เป็นหัวหน้าศูนย์คอมพิวเตอร์ช่วยสอนและอินเตอร์เน็ต โรงเรียนราชวินิตบางแก้ว ตั้งแต่ปีการศึกษา 2538 จนถึงปัจจุบัน ได้ ทดลองสร้างและใช้มัลติมีเดีย เช่น เซลล์กัลวานิก เซลล์อิเล็กโทรไลต์ โลหะแอลคาไล โลหะแฮโลเจนและให้นักเรียนศึกษา ค้นคว้าหาความรู้ โดยสืบค้นข้อมูลต่างๆ ทางอินเทอร์เน็ตด้วยตนเองพบว่า การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารไม่ ว่ารูปแบบใด สามารถใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญได้ และจากการได้รับเชิญจากสถาบัน ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ให้เป็นวิทยากรอบรมครูผู้สอนวิชาเคมีซึ่งเป็นวิทยากรแกนนาจาก เขตการศึกษาต่างๆ ทั่วประเทศ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2539-2541 พบว่าครูผู้สอนวิชาเคมีส่วนมากใช้คอมพิวเตอร์ไม่ได้ และไม่ สามารถผลิตมัลติมีเดียหรือนาเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาช่วยในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้ และมีความสนใจที่จะ ศึกษาวิธีการผลิตและการใช้มัลติมีเดียเพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนวิชาเคมีให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นดังนั้น ผู้วิจัยซึ่ง เป็นครูแห่งชาติ ปี 2541 จึงมีแนวคิดในการพัฒนาความรู้ความสามารถ วิสัยทัศน์ และบทบาทของครูในการจัดกิจกรรมการ เรียนการสอนวิชาเคมีที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยนาเทคโนโลยีที่ทันสมัย คือ มัลติมีเดียเพื่อการศึกษาการทดลองทางเคมี หรืออินเทอร์เน็ตเข้ามาใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการจัดการเรียนการสอนวิชาเคมี โดยมีกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ นิเทศ และติดตามผลการพัฒนา วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาครูเครือข่ายให้มีความรู้ ความสามารถในการสร้างและพัฒนามัลติมีเดียเพื่อการศึกษาการทดลองทางเคมี 2. เพื่อพัฒนาครูเครือข่ายให้มีความรู้ ความสามารถในการประเมินคุณภาพและหาประสิทธิภาพมัลติมีเดียเพื่อการศึกษาการ ทดลองทางเคมี 3. เพื่อพัฒนาครูเครือข่ายให้มีความรู้และสามารถนามัลติมีเดียเพื่อการศึกษาการทดลองทางเคมีที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ ที่กาหนดไปใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการเรียนรู้วิชาเคมีของนักเรียน 4. เพื่อศึกษาผลการจัดการเรียนการสอนวิชาเคมีที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยใช้มัลติมีเดียเพื่อการศึกษาการทดลองทางเคมี ของครูเครือข่าย 5. เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอนวิชาเคมีที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญของครูให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น 4. ครูเครือข่ายมีความรู้และสามารถประเมินคุณภาพ หาประสิทธิภาพและปรับปรุงมัลติมีเดียเพื่อการศึกษาการทดลองทาง เคมีได้ จานวน 18 เรื่อง เพื่อการศึกษาการทดลองทางเคมี 1. การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการเรียนรู้ นักการศึกษา ครู ผู้บริหาร ผู้เรียน และทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา ได้ให้ความคิดเห็น เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ สรุปเป็นสาระสาคัญได้ดังนี้การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียน เป็นสาคัญ หมายถึง การกาหนดจุดมุ่งหมายสาระ กิจกรรม แหล่งเรียนรู้ สื่อการเรียน และการวัดประเมินผลที่มุ่งพัฒนาคน
  • 3. และชีวิตให้เกิดประสบการณ์การเรียนรู้เต็มตามความสามารถ สอดคล้องกับความถนัด ความสนใจและความต้องการของ ผู้สอนจะคานึงถึงสิทธิของผู้เรียน 2 ประการ คือ สิทธิของผู้เรียนที่จะเรียนรู้ และกระตุ้น 4. เน้นกระบวนการมากกว่าเนื้อหา กระบวนการเรียนรู้ที่มาจากผู้เรียนจะมีความ หลากหลาย ขึ้นอยู่กับศักยภาพของผู้เรียนแต่ละคน โดยเน้นความแตกต่างระหว่างบุคคล ที่ไม่ใช่คุณภาพของการจา แต่เป็นศักยภาพของความใส่ใจและแรงผลักดันของแต่ละบุคคล อารมณ์พื้นฐานของผู้เรียนจะพัฒนาไปสู่คุณธรรมและจริยธรรม ซึ่งท่านพุทธทาสกล่าวว่า เป็นการศึกษาชนิดหางไม่ด้วน คือการรู้จักควบคุมความฉลาดเป็นการเรียนรู้คู่คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้ ได้แก่ 4.1 กระตุ้นความรู้เดิมของผู้เรียน 4.2 ให้ผู้เรียนได้รับข้อมูลใหม่ โดยการแสวงหา รวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง 4.3 ให้ผู้เรียนได้ศึกษา วิเคราะห์ ทาความเข้าใจข้อมูลโดยใช้ทักษะ กระบวนการต่างๆ 4.4 ให้ผู้เรียนสรุปความรู้ที่ได้ด้วยตนเองและแสดงออกถึงสิ่งที่ค้นพบด้วยการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียน สามารถทางานได้สาเร็จภายใต้การแนะนาช่วยเหลือจากผู้สอน ผู้เรียนจะทากิจกรรมเพิ่มเติมได้หลากหลายจากกิจกรรม การเรียนรู้ที่ตนเองสนใจ บทบาทผู้สอนได้แก่ คอยสังเกต สนับสนุน สร้างบรรยากาศทางสังคมให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับ เพื่อนสมาชิกของผู้เรียน จะทาให้ผู้เรียนได้รับความหมายและประโยชน์ของการเรียนรู้อันเป็นพื้นฐานการพัฒนา ความสามารถทางการคิด 5. พัฒนาผู้เรียนแบบองค์รวม เนื่องจากธรรมชาติของผู้เรียนมีศักยภาพที่หลากหลายและซับซ้อน การพัฒนาศักยภาพผู้เรียน ได้อย่างเต็มที่และกลมกลืนกิจกรรมการเรียนรู้ต้องให้ความสาคัญต่อการพัฒนาผู้เรียนทุก ๆ คน และทุก ๆ ด้าน คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลตามความต้องการ ความสนใจและความพร้อมการออกแบบกิจกรรมจะต้องเหมาะกับ ผู้เรียน เช่น การทาโครงงาน การทางานเป็นกลุ่มโดยคานึงถึงจุดมุ่งหมายหรือความต้องการ ความสนใจของผู้เรียน ความรู้ เดิมของผู้เรียนและสาระที่จะเรียนรู้ใหม่ การสร้างบรรยากาศที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเป็นผู้กระทา โดย 6. กิจกรรมการเรียนรู้เป็นโครงสร้างแบบเปิดมีความยืดหยุ่นหลากหลายผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนา ทักษะการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองทักษะการคิด ทักษะกระบวนการ ทักษะการจัดการ และทักษะการทางานเป็นกลุ่ม ซึ่งทักษะเหล่านี้จะหลอมรวมเป็นทักษะชีวิตของผู้เรียนต่อไป 7. การประเมินในขณะมีการเรียนการสอน เป็นการประเมินที่เป็นธรรมชาติสอดคล้องกับความเป็นจริง ซึ่งเป็นการประเมิน ที่ทาไม่ได้ง่าย ถ้าผู้สอนไม่เข้าใจกระบวนการเรียนรู้สู่การพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน เพราะการเรียนรู้ยังคงดาเนินอย่าง ต่อเนื่องขณะที่มีการประเมิน วิธีการประเมินโดยใช้การทดสอบการเรียนรู้จะถูกปิดลงขณะที่มีการประเมินเกิดขึ้น การ ประเมินตามสภาพจริงต้องการให้ผู้เรียนประยุกต์ความรู้เดิมกับสถานการณ์ใหม่ ผู้สอนสามารถแยกแยะได้ว่าอะไรเป็นสิ่งที่ ผู้เรียนจาได้ และสิ่งใดที่ผู้เรียนประยุกต์ขึ้น ทาให้เกิดแนวทางปฏิบัติที่หลากหลาย ซึ่งนาไปสู่ความยุติธรรมของ การประเมินและเป็นการพัฒนาการเรียนรู้สาหรับผู้เรียน 2. สื่อประสม (Multimedia) ในอดีต สื่อประสม (Multimedia) หมายถึง การนาสื่อหลายๆ ประเภทมาใช้ร่วมกัน ทั้งภาพนิ่งและเคลื่อนไหว เพื่อใช้เป็นสื่อในการจัดการเรียนการสอนที่เสนอเนื้อหาใน รูปแบบต่างๆ นอกเหนือจากการบรรยาย โดยผู้เรียนไม่ได้มีปฏิสัมพันธ์ต่อสื่อนั้นโดยตรง แต่ในปัจจุบันผู้เรียนสามารถมีปฏิสัมพันธ์กับสื่อได้ ดังนั้น สื่อประสม จึงมีความหมาย
  • 4. เพิ่มขึ้นจากเดิม ถือเป็น “สื่อประสมเชิงโต้ตอบ” (Interactive Multimedia) เป็นการนาอุปกรณ์ต่างๆ เช่น เครื่องเล่นซีดีรอม เครื่องเสียงระบบดิจิทัล เครื่องเล่นแผ่นวีดิทัศน์ ฯลฯมาใช้ร่วมกันเพื่อเสนอเนื้อหาข้อมูลที่เป็นตัวอักษร ภาพกราฟฟิก ภาพถ่ายภาพเคลื่อนไหวแบบวีดิทัศน์ และเสียงในระบบสเตริโอ โดยการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ช่วยในการผลิต การนาเสนอเนื้อหา และเพื่อเป็นตัวควบคุมการทางานของอุปกรณ์ร่วมเหล่านี้เพื่อให้ทางานตามโปรแกรมที่ เขียนไว้เป็นการให้ผู้เรียนมิใช่เพียงแต่นั่งดู หรือฟังข้อมูลจากสื่อที่เสนอมาเท่านั้น แต่ผู้เรียนสามารถควบคุมให้คอมพิวเตอร์ ทางานในการตอบสนองต่อคาสั่งและให้ข้อมูลป้อนกลับในรูปแบบต่าง ๆ ได้อย่างเต็มที่ เนื้อหาในสื่อประสมจะมีลักษณะ ไม่เรียงลาดับเป็นเส้นตรง มิใช่เป็นสิ่งพิมพ์ และสามารถเชื่อมโยงถึงกันได้ตลอดเวลาโดยที่ผู้เรียนไม่จาเป็นต้องอ่าน ตามลาดับของเนื้อหา แต่เป็นการอ่านในลักษณะของ ข้อความหลายมิติ (Hypertext) และสื่อหลายมิติ (Hypermedia) จากความหมายที่เพิ่มขึ้นของสื่อประสมดังกล่าว นักเทคโนโลยีการศึกษา แบ่งสื่อประสมออกเป็น 2 กลุ่ม คือ สื่อประสม I (Multimedia I) เป็นสื่อประสมที่ใช้โดยการนาสื่อหลายประเภทมาใช้ ร่วมกันในการเรียนการสอน เช่น นาวีดิทัศน์มาสอนประกอบการบรรยายของผู้สอนโดยมี สื่อสิ่งพิมพ์มาประกอบ หรือเป็นสื่อประสมในชุดการเรียน หรือชุดการสอน การใช้สื่อ ประสม I นี้ผู้เรียนและสื่อจะไม่มีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบกัน และจะมีลักษณะเป็น “สื่อหลายแบบ” ตามศัพท์บัญญัติของราชบัณฑิตยสถาน สื่อประสม II (Multimedia II) เป็นสื่อประสมที่ใช้คอมพิวเตอร์เป็นฐานในการเสนอ สารสนเทศ หรือการผลิตเพื่อเสนอข้อมูลประเภทต่างๆ เช่น ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว ตัวอักษร และเสียงในลักษณะของสื่อหลายมิติ โดยที่ผู้ใช้มีการโต้ตอบกับสื่อโดยตรง การใช้คอมพิวเตอร์ในสื่อประสม II ใช้ได้ใน 2 ลักษณะ คือ
  • 5. บรรณานุกรม กิดานันท์ มลิทอง. 2543. เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 376 หน้า. คณิต ไข่มุกต์. 2527. “คอมพิวเตอร์กับการศึกษา”. สื่อ. 3 (เมษายน-เมษายน 2527): 21-30. ณรงค์ บุญมี. 2529. การใช้คอมพิวเตอร์ในกระทรวงศึกษาธิการ: Mis / CE / CAI. รายงานการประชุมวิชาการ เรื่องการนาคอมพิวเตอร์ไปใช้ช่วยในการเรียนการสอน วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์. 11-12 กันยายน 2529. กรุงเทพมหานคร: สสวท. ทักษิณา สวนานนท์. 2530. คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภา. บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์. 2535. เอกสารประกอบการสอนวิชาทฤษฎีและการสอนวิทยาศาสตร์. ภาควิชาการศึกษา, คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. (อัดสาเนา) ประวิทย์ บึงสว่าง. 2537. การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบจาลองสถานการณ์ ในการวิเคราะห์และสรุปผลการทดลอง เรื่องปฏิกิริยาไฟฟ้าเคมี. กรุงเทพมหานคร: วิทยานิพนธ์ปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. พรพิไล เลิศวิชา. 2544. การศึกษาในท่ามกลางเทคโนโลยี. กรุงเทพมหานคร. เอกสาร ประกอบการจัดงานสัมมนาทางวิชาการมหกรรมอินเทอร์เน็ตเพื่อการศึกษาในโรงเรียน ครั้งที่ 1, สานักงานเลขานุการคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ วรรณทิพา รอดแรงค้า. 2535. เพื่อพัฒนาการสืบเสาะหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์. ภาควิชาการศึกษา, คณะศึกษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. 2539. แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ.2540-2544). กรุงเทพมหานคร: อรรถพลการพิมพ์. --------. 2543. ร่วมคิดร่วมเขียน ปฏิรูปการเรียนรู้ผู้เรียนสาคัญที่สุด. กรุงเทพมหานคร: สถาบันแห่งชาติเพื่อปฏิรูปการเรียนรู้ --------. 2541. รายงานการสรุปผลการประชุมปฏิบัติการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ วิทยากรแกนนาวิชาเคมี. สสวท. สุดา ใบแย้ม. เอกสารหมายเลข 4 การเรียนการสอนทาไมต้องเน้นนักเรียนเป็นศูนย์กลาง. กรุงเทพมหานคร: หน่วยศึกษานิเทศน์ กรมสามัญศึกษา. สมหวัง พิริยานุวัฒน์และคนอื่นๆ. 2533. รวมบทความทางการประเมินโครงการ. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. หน่วยศึกษานิเทศน์ กรมสามัญศึกษา. 2540. การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่เน้นนักเรียน เป็นศูนย์กลาง. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภา.