SlideShare a Scribd company logo
เรื ่ อ ง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทักษะทางวิทยาศาสตร์
และพฤติกรรมการทำางานกลุ่ม วิชาเคมี เรื่องปริมาตรของก๊าซ
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้รูปแบบการสอนแบบร่วม
มือ

                                  บทที ่ 1

1      ความเป็นมาและความสำาคัญของปัญหา
                 เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปแล้วว่าวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยีมีบทบาทสำาคัญยิ่งต่อการพัฒนาประเทศ ซึ่งสังคม
ปัจจุบันนี้มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา การศึกษาวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี นับว่าเป็นเครื่องมือที่มี ความสำาคัญอย่างยิ่งในการ
พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และเป็นพื้นฐานในการพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมของประเทศ ในการที่จะส่งเสริมให้ประเทศชาติพึ่ง
ตนเองได้
           จากแผนการศึ ก ษา ระยะที่ 8 ได้ กำา หนดเป้ า หมายในการ
พัฒนาการเรียนการสอน คือ ปรับ กระบวนการเรีย นการสอนให้ ผู้
เรี ย นเป็ น ศู น ย์ ก ลาง รวมทั้ ง มี รู ป แบบการเรี ย นการสอนที่ ห ลาก
หลาย เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ เหมะสมกับกลุ่มเป้าหมาย มี
การผลิ ต แ ละพั ฒ นา สื่ อ ทุ ก ประ เภท รวมทั้ ง สื่ อสิ่ งพิ มพ์ สื่ อ
อิเล็กทรอนิกส์ สื่อคอมพิวเตอร์ สื่อผสมและอุปกรณ์การสอนต่างๆ
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของครูและการเรียนด้วยตัวเองของผู้เรียนใน
วั ย ต่ า งๆ การปรั บ ปรุ ง การจั ด กระบวนการเรี ย นการสอนให้ มี
ประสิทธิภาพ โดยครูผู้สอนปรับวิธีการเรียนการสอนให้ผู้เรียนเป็น
ศู นย์ กลางเน้ นกระบวนการคิ ดอย่ า งมี ร ะบบและมี เ หตุ ผ ล มุ่ ง ให้ ผู้
เรียนรักการเรียนรู้ รู้จักวิเคราะห์ สังเคราะห์ แสวงหาความรู้และ
รู้จักแก้ปัญหาด้วยตัวเอง รวมทั้งการรู้จักการทำางานร่วมกันเป็นหมู่
คณะ เพื่ อ เป็ น การพั ฒ นาทั ก ษะพื้ น ฐานของการมี ส่ ว นร่ ว มที่ มี
คุ ณ ภ า พ ข อ ง ส ม า ชิ ก สั ง ค ม
           วิชาวิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่มีความสำาคัญและจำาเป็นอย่างยิ่ง
ซึ่ ง ผู้ เ รี ย นต้ อ งศึ ก ษาเล่ า เรี ย นทั้ ง ในระดั บ ประถมศึ ก ษา ระดั บ
มั ธ ยมศึ ก ษาตอนต้ น ระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย และระดั บ
อุดมศึกษา ดังนั้นหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลายพุทธศักราช 2
524(ฉบั บ ปรั บ ปรุ ง พ.ศ. 2533 )ได้ กำา หนดให้ ผู้ เ รี ย นที่ ต้ อ งการ
เรี ย นเน้ น หนั ก ทางวิ ท ยาศาสตร์ ที่ เ ลื อ กเรี ย นในรายวิ ช าเคมี
ชี ว วิ ท ยา และฟิ สิ ก ส์ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการเรี ย นเหมื อ นกั น คื อ (
สถานบันส่งเสริมการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ,25
33)
        ١.เพื่อให้มีความเข้าใจในหลักการ และทฤษฎีที่เป็นพื้นฐาน
ข อ ง วิ ช า วิ ท ย า ศ า ส ต ร์
        ٢. เพื่ อให้มี ความเข้า ใจในลัก ษณะ ขอบเขต และข้ อจำา กั ด
           ข อ ง วิ ท ย า ศ า ส ต ร์
        ٣. เพื่ อ ให้ มี ทั ก ษะที่ สำา คั ญ ในการค้ น คว้ า และคิ ด ค้ น ทาง
           วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี
        ٤. เ พื่ อ ใ ห้ มี เ จ ค ติ ท า ง วิ ท ย า ศ า ส ต ร์
        ٥. เพื่ อ ให้ ต ระหนั ก ถึ ง ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งวิ ท ยาศาสตร์
           เ ท ค โ น โ ล ยี                    ม ว ล ม นุ ษ ย์ แ ล ะ
สภาพแวดล้ อ มในเชิ ง ที่ มี อิ ท ธิ พ ลและผลกระทบซึ่ ง กั น และกั น
               6. เพื่ อ ให้ ส ามารถนำา ความรู้ ความเข้ า ใจในเรื่ อ ง
วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ไ ปใช้ ป ระโยชน์ ต่ อ สั ง คมและดำา รง
ชี      วิ      ต      อ       ย่      า      ง   มี     คุ     ณ        ค่   า
        วิชาเคมี เ ป็ น สาขาหนึ่ง ในกลุ่ มวิ ช าวิท ยาศาสตร์ ที่ ผู้ เ รี ย นจะ
ต้องอาศัยทักษะการคิดการจินตนาการอย่างมีเหตุมีผลเป็นอย่าง
มากจึงจะทำา ให้เข้าใจในหลักกการและทฤษฎีต่างๆได้ การเลือก
วิธีการสอนที่ดีและถูกต้องจะเป็นเครื่องช่วยนำาไปสู่ผลสัมฤทธิ์ของ
การเรี ย นการสอนวิ ท ยาศาสตร์ อ ย่ า งแท้ จ ริ ง (จำา นง พรายแย้ ม
แข,2516) วิธีการสอนและกิจกรรมการเรียนการสอน จึงเป็นปัจจัย
หนึ่งที่ทำา ให้การเรี ยนการสอนวิช าเคมี บรรลุ ตามจุ ดประสงค์ ที่ตั่ง
เ            อ               า             ไ         ว้            ไ          ด้
        การสอนวิ ชาเคมี เป็ น การสอนแบบสื บ เสาะหาความรู้ ตาม
หลักสูตรของ สสวท. การสอนแบบนี้จะเน้นการใช้คำา ถามเป็นสื่อ
สำาคัญในกระบวนการแสวงหาความรู้(ประจวบจิต คำาจัตุรัส,2537)
ในทางปฏิบัติไม่ สามารถที่จะจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็น
แบบสื บ เสาะหาความรู้ ไ ด้ อ ย่ า งเต็ ม ที่ ทั้ ง ๆที่ ห ลั ก สู ต รตั้ ง ใจให้
นักเรีย นได้พัฒนาการสร้า งแนวคิดจากกระบวนการหาความรู้ทั้ง
มวล(สุ นี ย์ คล้ า ยนิ ล ,2533) ผู้ เ รี ย นไม่ ค่ อ ยให้ ค วามสำา คั ญ กั บ
คำาถามของครู ที่ครูใช้สืบเสาะหาความรู้ เนื่องจากผู้เรียนต้องการ
เฉพาะเนื้อหาวิชาเคมี เพื่อใช้ในการสอบแข่งขันเพื่อคัดเลือกเข้า
ศึ ก ษาต่ อ ในระดั บ อุ ด มศึ ก ษา นั ก เรี ย นจึ ง ไม่ ใ ห้ ค วามสนใจใน
กระบวนการหรือวิธีการที่ได้มาของความรู้เท่าที่ควร ครูเป็นบุคคล
ที่สำา คั ญที่ สุดในการจัดกิจ กรรมการเรี ย นการสอน โดยครู จั ดการ
เรียนการสอนที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง เนื้อหาวิชาวิทยาศาสตร์มี
การค้นคว้าแสดงหาความรู้ต่างๆอยู่ตลอดเวลา ซึ่งเป็นการพัฒนา
ความคิดของเด็กให้กว้างขึ้น โดยลักษณะความคิดหรือความรูที่ได้              ้
มาจะเกิ ด ขึ้ น จากกิ จ กรรมในชั้ น เรี ย น โดยนั ก เรี ย นค้ น พบความรู้
ด้วยตนเองจากการทำา กิจกรรมร่วมกันเป็นกลุ่ม ซึ่งความรู้ที่ได้จะ
เกิ ด จากการแลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น ระหว่ า งสมาชิ ก ในกลุ่ ม
ลักษณะการแบ่งกลุ่มนักเรียนในการเรียนการสอนจะจัดเป็นกลุ่ ม
ใหญ่ ไม่คำานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลซึ่งสอดคล้องกับงาน
วิจัยของ กีรติศักดิ์ เพ็ชรแก้ว(2535) ในเรื่องการจัดกลุ่ม การเรียน
การสอนวิทยาศาสตร์ ไม่กำา หนดลัก ษณะและกฎเกณฑ์ใ ดๆ ที่ใ ช้
แบ่งกลุ่มว่าจะแบ่งเด็กอย่างไรและในลักษณะไหนนอกจากนั้นเมื่อ
เสร็ จ การสอนหรื อ การทำา กิ จ กรรมในแต่ ล ะครั้ ง ครู ผู้ ส อนจะเริ่ ม
ทำา การสอนในเนื้อหาใหม่ต่อไปโดยไม่คำา นึงถึงความแตกต่างใน
การรับรู้ของนักเรียนแต่ละคน ซึ่ งในการพัฒนากิจ กรรมการเรีย น
การสอนควรปรับเปลี่ยนวิธีการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับความ
สามารถของนักเรียนโดยการเปลี่ยนวิธีสอนจากการเรียนกลุ่มใหญ่
มาเป็ น การเรี ย นกลุ่ ม ย่ อ ย และยึ ด ความแตกต่ า งระหว่ า งผู้ เ รี ย น
แต่ ล ะคนเป็ น หลั ก ซึ่ ง ลั ก ษณะกการเรี ย นการสอนที่ มี ก ารแบ่ ง
นักเรียนเป็นกลุ่มอย่างมีกฏเกณฑ์และเป็นระบบและคำานึงถึงความ
สามารถและความแตกต่างของแต่ละบุคคล เป็นลักษณะการเรียน
แบบร่ ว มมื อ กั น เรี ย นรู้ (Cooperative Learning)โดยมี ก ฎเกณฑ์
และเป้าหมายของกลุ่ม ซึ่งลักษะการจัดกลุ่มแต่ละกลุ่มจะมีสมาชิก
ในกลุ่มจำา นวน 4-5 คน และมีความสามารถที่แตกต่างกัน คือเด็ก
เก่ง เด็กปานกลาง เด็กอ่อน ในอัตราส่วน 1:2:1 คน เป้าหมายใน
การเรียนจะคำานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและเป็นวิธีการที่
ช่วยในผู้เรียนได้ใช้ความสามารถและศักยภาพของตนเองในการ
แก้ปัญหาต่างๆร่วมกัน สมาชิกในกลุ่มได้แลกเปลี่ยนเสนอแนะแนว
ความคิด รับผิ ดชอบ พู ดคุ ย ชี้แนะสิ่ งต่ างๆร่ วมกั น ภายในกลุ่ ม มี
รางวั ล หรื อ เป้ า หมายใ น การ เรี ย น เป็ น ตั ว เสริ มแ ร ง สุ ลั ดดา
ลอยฟ้ า (2539) ตั ว ผู้ วิ จั ย มี ค วามคิ ด ที่ จ ะใช้ เ ทคนิ ค การแบ่ ง กลุ่ ม
ของการเรีย นแบบร่วมมื อกั นเรีย นรู้ไปเป็ นเกณฑ์ใ นการแบ่ ง กลุ่ ม
ของนั ก เรี ย นในการเรี ย นการสอนวิ ช าเคมี โดยมี ก ารกำา หนดเป้ า
หมายหรือการให้รางวัลแก่นักเรียนเพื่อเป็นตัวเสริมแรงในการเรียน
ม า ใ ช้ ใ น ก ร ะ บ ว น ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น
       ลักษณะการเรียนการสอบแบบร่วมมือกันเรียนรู้ Salvin
(1990)(อ้างใน สุลัดดา ลอยฟ้า,2539) เป็นวิธีที่ช่วยให้ผู้เรียนได้
ใช้ความสามารถเฉพาะตัวและศักยภาพในตนเอง ร่วมกันเรียนรู้
และแก้ปัญหาต่างๆ ให้บรรลุผลสำาเร็จได้โดยสมาชิกในกลุ่ม
ตระหนักว่าแต่ละคนเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม ดังนั้น ความสำาเร็จหรือ
ความล้มเหลวของกลุ่ม สมาชิกในกลุ่มต้องรับผิดชอบร่วมกัน
สมาชิกจะมีการพูดคุยช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ผูเรียนได้รับความรู้
                                                ้
จากเพื่อน ซึ่งแต่ละคนจะมีบทบาทสำาคัญต่อความสำาเร็จของกลุ่ม
และเมื่อประสบผลสำาเร็จในการทำางานหรือความเข้าใจกับเนื้อหา
วิชาแล้วก็ยิ่งเพิ่มความสนใจในการทำากิจกรรมการเรียนรู้มากขึ้น
ซึ่งจะเป็นผลให้ผู้เรียนได้รู้สึกถึงคุณค่าของตนเองในชั้นเรียน
นอกจากนั้นการสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ยังก่อให้เกิดบรรยากาศ
ที่นักเรียนได้พูดคุยกัน ซึ่งเป็นการช่วยให้นักเรียนและเพื่อนเข้าใจ
ปัญหาชัดเจนยิ่งขึ้น แม้ว่าจะไม่สามารถหาคำาตอบได้ แต่ระดับ
การติดตามในปัญหาจะสูงกว่าการที่ครูเป็นผู้กำาหนดให้นักเรียน
ทำากิจกรรมและตัดสินใจคนเดียวเป็นการยกระดับความเข้าใจให้
สูงถึงระดับการถ่ายทอดความคิด สำาหรับบทบาทของครูจะเปลี่ยน
ไปจากเดิม ไม่ได้เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้เพียงอย่างเดียว แต่เป็นการ
สร้างสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการค้นคว้าหาความรู้ ซึ่งเกิดจาก
การกระทำาของตนเองและสมาชิกในกลุ่ม
       จากการศึกษางานวิจัยที่ใช้รูปแบบการสอนแบบร่วมมือกัน
เรียนรู้ ในวิชาวิทยาศาสตร์แลในวิชาอื่น สรุปได้ว่า การสอนแบบ
ร่วมมือการเรียนรู้ทำาให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เจตคติและพฤติกรรมการทำางาน
กลุ่มสูงขึ้น
       จากการศึกษาหลักการผลทฤษฎีในการเรียนการสอนแบบ
ร่วมมือกันเรียนรู้ ซึ่งเป็นการแบ่งบันประสบการณ์การเรียนรู้ของ
แต่ละบุคคลไปสู่กลุ่ม ช่วยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการ
เรียนได้ทั่วถึง ทั้งเด็กเก่ง เด็กปานกลาง เด็กอ่อน นักเรียนที่เรียน
อ่อนจะได้รับความเอาใจใส่จากครูหรือเพื่อน และยังเป็นรูปแบบที่
กระตุ้นให้ผู้เรียนมีความกระตือรือล้นในการเรียนตลอดเวลา
นอกจากนั้นยังเป็นการพัฒนาทักษะทางสังคมส่งเสริมความ
สัมพันธ์อันดีระหว่างตัวนักเรียนกับกลุ่มเพื่อนได้
       ด้วยเหตุนี้ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาผลการจัดการเรียนการ
สอนวิชาเคมีโดยใช้รูปแบบการสอนแบบร่วมมือกันเรียน ร่วมกับ
ชุดการสอนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะทำาให้ผล
สัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
รวมไปถึงพฤติกรรมการทำางานกลุ่มของนักเรียนสูงขึ้น ผู้วิจัยเลือก
ใช้การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้แบบ STAD (Student Teams
Achievement Division) เพราะเป็นรูปแบบการสอนสามารถ
ประยุกต์ใช้กับวิชาเคมีได้ซึ่งมี 5 ขันตอน 1) การนำาเสนอบทเรียน
                                    ้
ต่อทั้งชั้น 2) การศึกษากลุ่มย่อย 3) การทดสอบย่อย 4)
คะแนนความก้าวหน้าของสมาชิกในกลุ่ม 5) กลุ่มที่ได้รับการ
ยกย่อง และสอดแทรกวิธีการสอนเข้าไปในขั้นเสนอบทเรียนทั้ง
ชั้น ซึ่งผู้วิจัยได้พิจารณาถึงความเหมาะสมของเนื้อหาเป็นเกณฑ์
ในการเลือกใช้รูปแบบการสอน โดยแผนการสอนที่ใช้รูปแบบการ
สอนเพื่อให้เกิดมโนมติ (Concept Attainment Model) จะนำาไป
ใช้กับบทเรียนที่มีเนื้อหาสามารถบ่งบอกถึงคุณลักษณะเฉพาะของ
สิ่งนั้นๆและสามารถยกตัวอย่างได้หลายตัวอย่าง แผนการสอนที่
ใช้รูปแบบการสอนโดยให้สิ่งช่วยจัดมโนมติล่วงหน้า (Advance
Organizer Model) ไปใช้กับบทเรียนที่มีเนื้อหาสาระมากๆ
                ในการสอนวิทยาศาสตร์ให้มีประสิทธิภาพ และบรรลุ
เป้าหมายจะต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายและ
ขอบเขตของคำาว่าวิทยาศาสตร์เป็นอย่างดี ครูต้องตระหนักถึง
ความสำาคัญของกระบวนการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ไม่
น้อยไปกว่าเนื้อหาการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ที่ดีและ
ถุกต้องให้ผู้เรียนได้รับทั้งเนื้อหาความรู้ซึ่งเป็นผลผลิตทาง
วิทยาศาสตร์ และปลูกฝังการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ซึ่ง
หมายถึงทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และเจตคติทาง
วิทยาศาสตร์ ให้แก่ผู้เรียนด้วนในเวลาเดียวกัน(นิดา สะเพียรชัย
และคณะ 2523)

2.    วั ต ถุ ป ระสงค์ ข องการวิ จ ั ย
      2.1 เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธ์ทางการเรียนโดยใช้รูปแบบการ
สอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้
      2.2 เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ที่ได้รับ
การสอนตามหลักการสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้
      2.3 เพื่อพัฒนาพฤติกรรมการทำางานกลุ่มของนักเรียนจาก
การใช้แผนการสอนวิชาเคมีที่สร้างขึ้นตามหลักการสอนแบบร่วม
มือกันเรียนรู้

3.      ขอบเขตการวิ จ ั ย
        3.1ประชากร
              ประชากรที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2545 โรงเรียนกมลาไสย อำาเภอ
กมลาไสย จ. กาฬสินธุ์
3.2กลุ ่ ม ตั ว อย่ า ง
                     กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ เป็น
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2545
โรงเรียนกมลาไสย อำาเภอกมลาไสย จ. กาฬสินธุ์ โดยใช้นักเรียน
1 ห้อง จำานวน 30 คน


         3.3 ตั ว แปรในการศึ ก ษา
               3.3.1 ตัวแปรต้น ได้แก่ วิธีการสอนแบบร่วมมือกัน
เรียนรู้
               3.3.2 ตัวแปรตาม ได้แก่
                   3.3.2.1ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
                   3.3.2.2ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
                   3.3.2.3พฤติกรรมการทำางานกลุ่ม
4. คำ า จำ า กั ด ความนิ ย ามศั พ ท์ เ ฉพาะ
         4.1 นักเรียน หมายถึง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาค
เรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2545 โรงเรียนกมลาไสย อำาเภอกมลาไสย
จ. กาฬสินธุ์
         4.2 รูปแบบการสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู หมายถึง การ
สอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้แบบ STAD (Student Teams
Achievement Division) ตามแผนการสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้
ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีลักษณะเป็นการสอนที่มีเป้าหมายต้องการให้ผู้
เรียนได้พัฒนาทักษะทางสติปัญญา ทักษะทางสังคม และความรู้
ในด้านการเห็นถึงคุณค่าของตนเอง การที่จะให้ผู้เรียนบรรลุเป้า
หมายดังกล่าวข้างต้นต้องคำานึงถึงหลักการ 3 ประการ คือ
               4.2.1 รางวัลหรือเป้าหมายของกลุ่ม ซึ่งในการวิจัยครั้ง
นี้ผู้วิจัยกำาหนดรางวัล คือ อุปกรณ์การเรียน เช่น ดินสอน สมุด
               4.2.2 ความสามารถของแต่ละบุคคล ความสามารถใน
การเรียน การรับรู้ของบุคคลย่อมจะมีความแตกต่างกัน ในการ
เรียนโดยใช้รูปแบบนี้ บุคคลที่มีความสามารถทางการเรียนสูงจะ
ช่วยเหลือบุคคลที่มความสาารถทางการเรียนตำ่าให้เรียนรู้ได้ดีขึ้น
               4.2.3 ผู้เรียนมีโอกาสในการช่วยเหลือให้กลุ่มประสบ
ผลสำาเร็จเท่าเทียมกัน ไม่ว่าจะเป็นบุคคลที่มีความสามารถทางการ
เรียนสูง ปานกลาง ตำ่า และการที่จะให้ผู้เรียนบรรลุเป้าหมายต้อง
คำานึงถึงหลัก 3 ประการนี้ เพื่อกระตุ้นให้ผุ้เรียนพยายามในการ
เรียนรู้มากยิ่งขึ้นและพยายามปรับพฤติกรรมเพื่อความสำาเร็จของ
กลุ่ม
              การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนมีขั้นตอนดังนี้
                   4.2.3.1 ขันการเสนอบทเรียนต่อทั้งชั้น โดย
                             ้
เนื้อหาที่จะเรียนต่อนักเรียนทั้งห้อง โดยเลือกใช้รูปแบบการสอนที่
เหมาะสมกับเนื้อหาในการเรียนการสอนแต่ะจรั้ง ผูวิจัยใช้รูปแบบ
                                                   ้
การสอน 2 รูปแบบได้แก่รูปแบบการสอนเพื่อให้เกิดมโนมติ
(Concept Attainment Model) รูปแบบการสอนโดยให้สิ่งช่วยจัด
มโนมติล่วงหน้า (Advance Organizer Model) ไปใช้กับบทเรียน
ที่มีเนื้อหาสาระมากๆ
                   4.2.3.2 ขันการศึกษากลุ่มย่อย นักเรียนแต่ละ
                               ้
กลุ่มจะประกอบด้วยสมาชิก 4-5 คน ซึ่งมีความแตกต่างกันในแง่
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเพศ ภายในกลุ่มหนึ่งจะประกอยด้วย
สมาชิกที่เป็นนักเรียนเก่ง 1 คน คนเรียนปานกลาง 2 คน คนเรียน
อ่อน 1 คน ช่วยกันทำากิจกรรมที่กำาหนดโดยเน้นการช่วยเหลือกัน
ในการเรียนและความรับผิดชอบร่วมกันของสมาชิกทุกๆคนใน
กลุ่ม
                   4.2.3.3 ขันการตรวจสอบเป็นการทำาแบบ
                                 ้
ทดสอบด้วยตนเอง โดยไม่มีการช่วยเหลือกันต่างคนต่างทำา ตาม
ความเข้าใจและความสามารถของตนเองเป็นหลักจากการที่ได้รับ
การสอนและการทำากิจกรรมกลุ่มแล้ว ซึ่งแต่ละคนต้องทำาคะแนน
ให้ได้มากที่สุด เพื่อส่งผลให้ตัวเองและกลุ่มประสบความสำาเร็จให้
มากที่สุด
                   4.2.3.4 นำาคะแนนที่ได้จากการทดสอบย่อยของ
สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มมาเปรียบเทียบหาความแตกต่างกับคะแนน
พื้นฐานของสมาชิกแต่ละคนในกลุ่ม เพื่อคิดเป็นคะแนนพัฒนาของ
สมาชิกแต่ละคนในกลุ่ม
                   4.2.3.5 นำาคะแนนพัฒนาการ มาปรับเป็น
คะแนนความก้าวหน้าของนักเรียนแต่ละกลุ่ม ซึ่งกลุ่มที่ได้รับการ
ยกย่องบรรลุเป้าหมายของกลุ่ม จะมีคะแนนความก้าวหน้าตาม
เกณฑ์ที่ได้แจ้งไว้
         4.3 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คะแนนระหว่าง
ทดสอบหลังเรียนและการทดสอบก่อนเรียนที่ได้จากการตอบแบบ
สัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมี เรื่อง ปริมาตรของก๊าซ ของนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
         4.4 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หมายถึง พฤติกรรม
ที่เกิดจากการปฏิบัติและการฝึกความนึกคิดอย่างมีระบบ เป้
นทักษะทางสติปัญญาในการเลือกและใช้กระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์เพื่อแก้ปัญหาและค้นพบคำาตอบ ในการวิจัยครั้งนี้
คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ระหว่างทดสอบหลัง
เรียนและการทดสอบก่อนเรียนที่ได้จากการตอบแบบวัดทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน
      4.5 แบบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หมายถึง
แบบวัดความสามารถของนักเรียนในการใช้ทักษะกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งเป็นแบบทดสอบที่ได้นำามาจาก
             4.5.1ทักษะการสังเกต
             4.5.2ทักษะการวัด
             4.5.3ทักษะการจำาแนกประเภท
             4.5.4ทักษะการคำานวณ
             4.5.5ทักษะการจัดกระทำาและการสื่อความหมายของ
                  ข้อมูล
             4.5.6ทักษะการลงความคิดเห็นจากข้อมูล
             4.5.7ทักษะการพยากรณ์
             4.5.8ทักษะการตั้งสมมติฐาน
             4.5.9ทักษะการกำาหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ
             4.5.10ทักษะการกำาหนดและการควบคุมตัวแปร
             4.5.11ทักษะการทดลอง
             4.5.12ทักษะการตีความหมายของจ้อมูลและการลงข้อ
                  สรุป
      4.6 แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง แบบวัดความ
      สามารถของนักเรียนในการ
เรียนเรื่อง ปริมาตรของก๊าซ ซึ่งผู้วิจัยได้สร้างขึ้นเอง
      4.7 พฤติกรรมการทำางานกลุ่มที่บุคคลแสดงออกในการ
ปฏิบัติงาน หรือทำางานโดยมีเป้าหมายร่วมกันมีการติดต่อสื่อสาร
การประสานงาน เพื่อในงานกลุ่มบรรลุผลสำาเร็จตามเป้าหมาย
5. ประโยชน์ ท ี ่ ค าดว่ า จะได้ ร ั บ
      5.1 เป็นการเผยแพร่การสอนโดยใช้รูปแบบการสอนแบบ
ร่วมมือกันเรียนรู้ในรายวิชาเคมี
      5.2 เป็นแนวทางให้ครูผู้สอนได้ศึกษาและทดลองสร้างบท
เรียนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ในวิชาเคมี
      5.3เป็นแนวทางและวิธีการพัฒนาความรู้ความสามารถส่วน
          บุคคลให้เกิดขึ้นแก่ผู้เรียน
ทักษะกระบวนการวิทย์

More Related Content

What's hot

Gst uprojectcurriculum
Gst uprojectcurriculumGst uprojectcurriculum
Gst uprojectcurriculum
Wichai Likitponrak
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิตรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
Wichai Likitponrak
 
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียงคู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
โรงเรียนเทพลีลา
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกลชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
โรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรJiraprapa Suwannajak
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57 พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.คกำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57 พ.คkrupornpana55
 
การเลือกและจัดเนื้อหา
การเลือกและจัดเนื้อหาการเลือกและจัดเนื้อหา
การเลือกและจัดเนื้อหา
Surapong Khamjai
 
W 2
W 2W 2
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติวิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติWichai Likitponrak
 
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์Wichai Likitponrak
 
แผนการสอนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง โครงงานสำรวจและปฎิบัติการ การประหยัดพลังงาน ...
แผนการสอนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง โครงงานสำรวจและปฎิบัติการ การประหยัดพลังงาน ...แผนการสอนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง โครงงานสำรวจและปฎิบัติการ การประหยัดพลังงาน ...
แผนการสอนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง โครงงานสำรวจและปฎิบัติการ การประหยัดพลังงาน ...
Weerachat Martluplao
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
kanwan0429
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
kanwan0429
 
Practicsproject gstu62
Practicsproject gstu62Practicsproject gstu62
Practicsproject gstu62
Wichai Likitponrak
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
Wichai Likitponrak
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
Wichai Likitponrak
 
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลงานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลWichai Likitponrak
 
Wpกำหนดการสอน is1 พ.ค
Wpกำหนดการสอน is1 พ.คWpกำหนดการสอน is1 พ.ค
Wpกำหนดการสอน is1 พ.คkrupornpana55
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
kanwan0429
 

What's hot (20)

Gst uprojectcurriculum
Gst uprojectcurriculumGst uprojectcurriculum
Gst uprojectcurriculum
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิตรายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการมีทักษะชีวิต
 
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียงคู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกลชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
 
การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตร
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57 พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.คกำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57 พ.ค
 
การเลือกและจัดเนื้อหา
การเลือกและจัดเนื้อหาการเลือกและจัดเนื้อหา
การเลือกและจัดเนื้อหา
 
W 2
W 2W 2
W 2
 
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติวิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
 
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
 
แผนการสอนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง โครงงานสำรวจและปฎิบัติการ การประหยัดพลังงาน ...
แผนการสอนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง โครงงานสำรวจและปฎิบัติการ การประหยัดพลังงาน ...แผนการสอนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง โครงงานสำรวจและปฎิบัติการ การประหยัดพลังงาน ...
แผนการสอนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง โครงงานสำรวจและปฎิบัติการ การประหยัดพลังงาน ...
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
Practicsproject gstu62
Practicsproject gstu62Practicsproject gstu62
Practicsproject gstu62
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
 
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลงานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
 
Wpกำหนดการสอน is1 พ.ค
Wpกำหนดการสอน is1 พ.คWpกำหนดการสอน is1 พ.ค
Wpกำหนดการสอน is1 พ.ค
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 

Viewers also liked

Ch4 learning media (พ.ร.บ)
Ch4 learning media (พ.ร.บ)Ch4 learning media (พ.ร.บ)
Ch4 learning media (พ.ร.บ)
paritat_nas
 
Cell box h-hydrant-pl
Cell box h-hydrant-plCell box h-hydrant-pl
Cell box h-hydrant-platmax
 
อุปกรณ์การเตรียมสารละลาย
อุปกรณ์การเตรียมสารละลายอุปกรณ์การเตรียมสารละลาย
อุปกรณ์การเตรียมสารละลายJariya Jaiyot
 
4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย
Saipanya school
 
การวัดทางวิทยาศาสตร์
การวัดทางวิทยาศาสตร์การวัดทางวิทยาศาสตร์
การวัดทางวิทยาศาสตร์
พัน พัน
 
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยาอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยาApinya Phuadsing
 
4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย
Saipanya school
 
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์Jariya Jaiyot
 
Lab 1 calibrations of volumetric glasswars
Lab 1 calibrations of volumetric glasswarsLab 1 calibrations of volumetric glasswars
Lab 1 calibrations of volumetric glasswars
BELL N JOYE
 
สอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายสอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลาย
Duduan
 
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4พัน พัน
 
Lab 2 acid base titration and applications
Lab 2 acid base titration and applicationsLab 2 acid base titration and applications
Lab 2 acid base titration and applications
BELL N JOYE
 
Lab การไทเทรต
Lab การไทเทรตLab การไทเทรต
Lab การไทเทรตJariya Jaiyot
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
Krupol Phato
 

Viewers also liked (17)

Ch4 learning media (พ.ร.บ)
Ch4 learning media (พ.ร.บ)Ch4 learning media (พ.ร.บ)
Ch4 learning media (พ.ร.บ)
 
First lab
First labFirst lab
First lab
 
Cell box h-hydrant-pl
Cell box h-hydrant-plCell box h-hydrant-pl
Cell box h-hydrant-pl
 
อุปกรณ์การเตรียมสารละลาย
อุปกรณ์การเตรียมสารละลายอุปกรณ์การเตรียมสารละลาย
อุปกรณ์การเตรียมสารละลาย
 
4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย
 
การวัดทางวิทยาศาสตร์
การวัดทางวิทยาศาสตร์การวัดทางวิทยาศาสตร์
การวัดทางวิทยาศาสตร์
 
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยาอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
 
4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย
 
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
 
Lab 1 calibrations of volumetric glasswars
Lab 1 calibrations of volumetric glasswarsLab 1 calibrations of volumetric glasswars
Lab 1 calibrations of volumetric glasswars
 
สอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายสอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลาย
 
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
 
Lab 2 acid base titration and applications
Lab 2 acid base titration and applicationsLab 2 acid base titration and applications
Lab 2 acid base titration and applications
 
การเตรียมสารละลาย
การเตรียมสารละลายการเตรียมสารละลาย
การเตรียมสารละลาย
 
Lab การไทเทรต
Lab การไทเทรตLab การไทเทรต
Lab การไทเทรต
 
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
 

Similar to ทักษะกระบวนการวิทย์

บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
wanneemayss
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
wanitchaya001
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
benty2443
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
Theerayut Ponman
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
nattawad147
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
teerayut123
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
fernfielook
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
poppai041507094142
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
nattapong147
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
Piyapong Chaichana
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
wanichaya kingchaikerd
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
gam030
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
wanitchaya001
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
poppai041507094142
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
teerayut123
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
nattapong147
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
nattawad147
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
wanneemayss
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
fernfielook
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
Piyapong Chaichana
 

Similar to ทักษะกระบวนการวิทย์ (20)

บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 

More from สุรัชนี ภัทรเบญจพล

Ray
RayRay

More from สุรัชนี ภัทรเบญจพล (7)

Protein
ProteinProtein
Protein
 
Ray
RayRay
Ray
 
Equilibrium mahidol
Equilibrium mahidolEquilibrium mahidol
Equilibrium mahidol
 
ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์
 
1.โครงสร้างอะตอม
1.โครงสร้างอะตอม1.โครงสร้างอะตอม
1.โครงสร้างอะตอม
 
รายงานการเผยแพร่โทรทัศน์ครู
รายงานการเผยแพร่โทรทัศน์ครูรายงานการเผยแพร่โทรทัศน์ครู
รายงานการเผยแพร่โทรทัศน์ครู
 
Assessment
AssessmentAssessment
Assessment
 

ทักษะกระบวนการวิทย์

  • 1. เรื ่ อ ง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทักษะทางวิทยาศาสตร์ และพฤติกรรมการทำางานกลุ่ม วิชาเคมี เรื่องปริมาตรของก๊าซ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้รูปแบบการสอนแบบร่วม มือ บทที ่ 1 1 ความเป็นมาและความสำาคัญของปัญหา เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปแล้วว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีมีบทบาทสำาคัญยิ่งต่อการพัฒนาประเทศ ซึ่งสังคม ปัจจุบันนี้มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา การศึกษาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี นับว่าเป็นเครื่องมือที่มี ความสำาคัญอย่างยิ่งในการ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และเป็นพื้นฐานในการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศ ในการที่จะส่งเสริมให้ประเทศชาติพึ่ง ตนเองได้ จากแผนการศึ ก ษา ระยะที่ 8 ได้ กำา หนดเป้ า หมายในการ พัฒนาการเรียนการสอน คือ ปรับ กระบวนการเรีย นการสอนให้ ผู้ เรี ย นเป็ น ศู น ย์ ก ลาง รวมทั้ ง มี รู ป แบบการเรี ย นการสอนที่ ห ลาก หลาย เพื่อกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ เหมะสมกับกลุ่มเป้าหมาย มี การผลิ ต แ ละพั ฒ นา สื่ อ ทุ ก ประ เภท รวมทั้ ง สื่ อสิ่ งพิ มพ์ สื่ อ อิเล็กทรอนิกส์ สื่อคอมพิวเตอร์ สื่อผสมและอุปกรณ์การสอนต่างๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของครูและการเรียนด้วยตัวเองของผู้เรียนใน วั ย ต่ า งๆ การปรั บ ปรุ ง การจั ด กระบวนการเรี ย นการสอนให้ มี ประสิทธิภาพ โดยครูผู้สอนปรับวิธีการเรียนการสอนให้ผู้เรียนเป็น ศู นย์ กลางเน้ นกระบวนการคิ ดอย่ า งมี ร ะบบและมี เ หตุ ผ ล มุ่ ง ให้ ผู้ เรียนรักการเรียนรู้ รู้จักวิเคราะห์ สังเคราะห์ แสวงหาความรู้และ รู้จักแก้ปัญหาด้วยตัวเอง รวมทั้งการรู้จักการทำางานร่วมกันเป็นหมู่ คณะ เพื่ อ เป็ น การพั ฒ นาทั ก ษะพื้ น ฐานของการมี ส่ ว นร่ ว มที่ มี คุ ณ ภ า พ ข อ ง ส ม า ชิ ก สั ง ค ม วิชาวิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่มีความสำาคัญและจำาเป็นอย่างยิ่ง ซึ่ ง ผู้ เ รี ย นต้ อ งศึ ก ษาเล่ า เรี ย นทั้ ง ในระดั บ ประถมศึ ก ษา ระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนต้ น ระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย และระดั บ อุดมศึกษา ดังนั้นหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลายพุทธศักราช 2 524(ฉบั บ ปรั บ ปรุ ง พ.ศ. 2533 )ได้ กำา หนดให้ ผู้ เ รี ย นที่ ต้ อ งการ เรี ย นเน้ น หนั ก ทางวิ ท ยาศาสตร์ ที่ เ ลื อ กเรี ย นในรายวิ ช าเคมี ชี ว วิ ท ยา และฟิ สิ ก ส์ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการเรี ย นเหมื อ นกั น คื อ (
  • 2. สถานบันส่งเสริมการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ,25 33) ١.เพื่อให้มีความเข้าใจในหลักการ และทฤษฎีที่เป็นพื้นฐาน ข อ ง วิ ช า วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ٢. เพื่ อให้มี ความเข้า ใจในลัก ษณะ ขอบเขต และข้ อจำา กั ด ข อ ง วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ٣. เพื่ อ ให้ มี ทั ก ษะที่ สำา คั ญ ในการค้ น คว้ า และคิ ด ค้ น ทาง วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี ٤. เ พื่ อ ใ ห้ มี เ จ ค ติ ท า ง วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ٥. เพื่ อ ให้ ต ระหนั ก ถึ ง ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งวิ ท ยาศาสตร์ เ ท ค โ น โ ล ยี ม ว ล ม นุ ษ ย์ แ ล ะ สภาพแวดล้ อ มในเชิ ง ที่ มี อิ ท ธิ พ ลและผลกระทบซึ่ ง กั น และกั น 6. เพื่ อ ให้ ส ามารถนำา ความรู้ ความเข้ า ใจในเรื่ อ ง วิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี ไ ปใช้ ป ระโยชน์ ต่ อ สั ง คมและดำา รง ชี วิ ต อ ย่ า ง มี คุ ณ ค่ า วิชาเคมี เ ป็ น สาขาหนึ่ง ในกลุ่ มวิ ช าวิท ยาศาสตร์ ที่ ผู้ เ รี ย นจะ ต้องอาศัยทักษะการคิดการจินตนาการอย่างมีเหตุมีผลเป็นอย่าง มากจึงจะทำา ให้เข้าใจในหลักกการและทฤษฎีต่างๆได้ การเลือก วิธีการสอนที่ดีและถูกต้องจะเป็นเครื่องช่วยนำาไปสู่ผลสัมฤทธิ์ของ การเรี ย นการสอนวิ ท ยาศาสตร์ อ ย่ า งแท้ จ ริ ง (จำา นง พรายแย้ ม แข,2516) วิธีการสอนและกิจกรรมการเรียนการสอน จึงเป็นปัจจัย หนึ่งที่ทำา ให้การเรี ยนการสอนวิช าเคมี บรรลุ ตามจุ ดประสงค์ ที่ตั่ง เ อ า ไ ว้ ไ ด้ การสอนวิ ชาเคมี เป็ น การสอนแบบสื บ เสาะหาความรู้ ตาม หลักสูตรของ สสวท. การสอนแบบนี้จะเน้นการใช้คำา ถามเป็นสื่อ สำาคัญในกระบวนการแสวงหาความรู้(ประจวบจิต คำาจัตุรัส,2537) ในทางปฏิบัติไม่ สามารถที่จะจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็น แบบสื บ เสาะหาความรู้ ไ ด้ อ ย่ า งเต็ ม ที่ ทั้ ง ๆที่ ห ลั ก สู ต รตั้ ง ใจให้ นักเรีย นได้พัฒนาการสร้า งแนวคิดจากกระบวนการหาความรู้ทั้ง มวล(สุ นี ย์ คล้ า ยนิ ล ,2533) ผู้ เ รี ย นไม่ ค่ อ ยให้ ค วามสำา คั ญ กั บ คำาถามของครู ที่ครูใช้สืบเสาะหาความรู้ เนื่องจากผู้เรียนต้องการ เฉพาะเนื้อหาวิชาเคมี เพื่อใช้ในการสอบแข่งขันเพื่อคัดเลือกเข้า ศึ ก ษาต่ อ ในระดั บ อุ ด มศึ ก ษา นั ก เรี ย นจึ ง ไม่ ใ ห้ ค วามสนใจใน กระบวนการหรือวิธีการที่ได้มาของความรู้เท่าที่ควร ครูเป็นบุคคล ที่สำา คั ญที่ สุดในการจัดกิจ กรรมการเรี ย นการสอน โดยครู จั ดการ เรียนการสอนที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง เนื้อหาวิชาวิทยาศาสตร์มี
  • 3. การค้นคว้าแสดงหาความรู้ต่างๆอยู่ตลอดเวลา ซึ่งเป็นการพัฒนา ความคิดของเด็กให้กว้างขึ้น โดยลักษณะความคิดหรือความรูที่ได้ ้ มาจะเกิ ด ขึ้ น จากกิ จ กรรมในชั้ น เรี ย น โดยนั ก เรี ย นค้ น พบความรู้ ด้วยตนเองจากการทำา กิจกรรมร่วมกันเป็นกลุ่ม ซึ่งความรู้ที่ได้จะ เกิ ด จากการแลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น ระหว่ า งสมาชิ ก ในกลุ่ ม ลักษณะการแบ่งกลุ่มนักเรียนในการเรียนการสอนจะจัดเป็นกลุ่ ม ใหญ่ ไม่คำานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลซึ่งสอดคล้องกับงาน วิจัยของ กีรติศักดิ์ เพ็ชรแก้ว(2535) ในเรื่องการจัดกลุ่ม การเรียน การสอนวิทยาศาสตร์ ไม่กำา หนดลัก ษณะและกฎเกณฑ์ใ ดๆ ที่ใ ช้ แบ่งกลุ่มว่าจะแบ่งเด็กอย่างไรและในลักษณะไหนนอกจากนั้นเมื่อ เสร็ จ การสอนหรื อ การทำา กิ จ กรรมในแต่ ล ะครั้ ง ครู ผู้ ส อนจะเริ่ ม ทำา การสอนในเนื้อหาใหม่ต่อไปโดยไม่คำา นึงถึงความแตกต่างใน การรับรู้ของนักเรียนแต่ละคน ซึ่ งในการพัฒนากิจ กรรมการเรีย น การสอนควรปรับเปลี่ยนวิธีการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับความ สามารถของนักเรียนโดยการเปลี่ยนวิธีสอนจากการเรียนกลุ่มใหญ่ มาเป็ น การเรี ย นกลุ่ ม ย่ อ ย และยึ ด ความแตกต่ า งระหว่ า งผู้ เ รี ย น แต่ ล ะคนเป็ น หลั ก ซึ่ ง ลั ก ษณะกการเรี ย นการสอนที่ มี ก ารแบ่ ง นักเรียนเป็นกลุ่มอย่างมีกฏเกณฑ์และเป็นระบบและคำานึงถึงความ สามารถและความแตกต่างของแต่ละบุคคล เป็นลักษณะการเรียน แบบร่ ว มมื อ กั น เรี ย นรู้ (Cooperative Learning)โดยมี ก ฎเกณฑ์ และเป้าหมายของกลุ่ม ซึ่งลักษะการจัดกลุ่มแต่ละกลุ่มจะมีสมาชิก ในกลุ่มจำา นวน 4-5 คน และมีความสามารถที่แตกต่างกัน คือเด็ก เก่ง เด็กปานกลาง เด็กอ่อน ในอัตราส่วน 1:2:1 คน เป้าหมายใน การเรียนจะคำานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและเป็นวิธีการที่ ช่วยในผู้เรียนได้ใช้ความสามารถและศักยภาพของตนเองในการ แก้ปัญหาต่างๆร่วมกัน สมาชิกในกลุ่มได้แลกเปลี่ยนเสนอแนะแนว ความคิด รับผิ ดชอบ พู ดคุ ย ชี้แนะสิ่ งต่ างๆร่ วมกั น ภายในกลุ่ ม มี รางวั ล หรื อ เป้ า หมายใ น การ เรี ย น เป็ น ตั ว เสริ มแ ร ง สุ ลั ดดา ลอยฟ้ า (2539) ตั ว ผู้ วิ จั ย มี ค วามคิ ด ที่ จ ะใช้ เ ทคนิ ค การแบ่ ง กลุ่ ม ของการเรีย นแบบร่วมมื อกั นเรีย นรู้ไปเป็ นเกณฑ์ใ นการแบ่ ง กลุ่ ม ของนั ก เรี ย นในการเรี ย นการสอนวิ ช าเคมี โดยมี ก ารกำา หนดเป้ า หมายหรือการให้รางวัลแก่นักเรียนเพื่อเป็นตัวเสริมแรงในการเรียน ม า ใ ช้ ใ น ก ร ะ บ ว น ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น ลักษณะการเรียนการสอบแบบร่วมมือกันเรียนรู้ Salvin (1990)(อ้างใน สุลัดดา ลอยฟ้า,2539) เป็นวิธีที่ช่วยให้ผู้เรียนได้ ใช้ความสามารถเฉพาะตัวและศักยภาพในตนเอง ร่วมกันเรียนรู้
  • 4. และแก้ปัญหาต่างๆ ให้บรรลุผลสำาเร็จได้โดยสมาชิกในกลุ่ม ตระหนักว่าแต่ละคนเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม ดังนั้น ความสำาเร็จหรือ ความล้มเหลวของกลุ่ม สมาชิกในกลุ่มต้องรับผิดชอบร่วมกัน สมาชิกจะมีการพูดคุยช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ผูเรียนได้รับความรู้ ้ จากเพื่อน ซึ่งแต่ละคนจะมีบทบาทสำาคัญต่อความสำาเร็จของกลุ่ม และเมื่อประสบผลสำาเร็จในการทำางานหรือความเข้าใจกับเนื้อหา วิชาแล้วก็ยิ่งเพิ่มความสนใจในการทำากิจกรรมการเรียนรู้มากขึ้น ซึ่งจะเป็นผลให้ผู้เรียนได้รู้สึกถึงคุณค่าของตนเองในชั้นเรียน นอกจากนั้นการสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ยังก่อให้เกิดบรรยากาศ ที่นักเรียนได้พูดคุยกัน ซึ่งเป็นการช่วยให้นักเรียนและเพื่อนเข้าใจ ปัญหาชัดเจนยิ่งขึ้น แม้ว่าจะไม่สามารถหาคำาตอบได้ แต่ระดับ การติดตามในปัญหาจะสูงกว่าการที่ครูเป็นผู้กำาหนดให้นักเรียน ทำากิจกรรมและตัดสินใจคนเดียวเป็นการยกระดับความเข้าใจให้ สูงถึงระดับการถ่ายทอดความคิด สำาหรับบทบาทของครูจะเปลี่ยน ไปจากเดิม ไม่ได้เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้เพียงอย่างเดียว แต่เป็นการ สร้างสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการค้นคว้าหาความรู้ ซึ่งเกิดจาก การกระทำาของตนเองและสมาชิกในกลุ่ม จากการศึกษางานวิจัยที่ใช้รูปแบบการสอนแบบร่วมมือกัน เรียนรู้ ในวิชาวิทยาศาสตร์แลในวิชาอื่น สรุปได้ว่า การสอนแบบ ร่วมมือการเรียนรู้ทำาให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เจตคติและพฤติกรรมการทำางาน กลุ่มสูงขึ้น จากการศึกษาหลักการผลทฤษฎีในการเรียนการสอนแบบ ร่วมมือกันเรียนรู้ ซึ่งเป็นการแบ่งบันประสบการณ์การเรียนรู้ของ แต่ละบุคคลไปสู่กลุ่ม ช่วยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการ เรียนได้ทั่วถึง ทั้งเด็กเก่ง เด็กปานกลาง เด็กอ่อน นักเรียนที่เรียน อ่อนจะได้รับความเอาใจใส่จากครูหรือเพื่อน และยังเป็นรูปแบบที่ กระตุ้นให้ผู้เรียนมีความกระตือรือล้นในการเรียนตลอดเวลา นอกจากนั้นยังเป็นการพัฒนาทักษะทางสังคมส่งเสริมความ สัมพันธ์อันดีระหว่างตัวนักเรียนกับกลุ่มเพื่อนได้ ด้วยเหตุนี้ผู้วิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาผลการจัดการเรียนการ สอนวิชาเคมีโดยใช้รูปแบบการสอนแบบร่วมมือกันเรียน ร่วมกับ ชุดการสอนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะทำาให้ผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนรู้และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ รวมไปถึงพฤติกรรมการทำางานกลุ่มของนักเรียนสูงขึ้น ผู้วิจัยเลือก ใช้การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้แบบ STAD (Student Teams Achievement Division) เพราะเป็นรูปแบบการสอนสามารถ
  • 5. ประยุกต์ใช้กับวิชาเคมีได้ซึ่งมี 5 ขันตอน 1) การนำาเสนอบทเรียน ้ ต่อทั้งชั้น 2) การศึกษากลุ่มย่อย 3) การทดสอบย่อย 4) คะแนนความก้าวหน้าของสมาชิกในกลุ่ม 5) กลุ่มที่ได้รับการ ยกย่อง และสอดแทรกวิธีการสอนเข้าไปในขั้นเสนอบทเรียนทั้ง ชั้น ซึ่งผู้วิจัยได้พิจารณาถึงความเหมาะสมของเนื้อหาเป็นเกณฑ์ ในการเลือกใช้รูปแบบการสอน โดยแผนการสอนที่ใช้รูปแบบการ สอนเพื่อให้เกิดมโนมติ (Concept Attainment Model) จะนำาไป ใช้กับบทเรียนที่มีเนื้อหาสามารถบ่งบอกถึงคุณลักษณะเฉพาะของ สิ่งนั้นๆและสามารถยกตัวอย่างได้หลายตัวอย่าง แผนการสอนที่ ใช้รูปแบบการสอนโดยให้สิ่งช่วยจัดมโนมติล่วงหน้า (Advance Organizer Model) ไปใช้กับบทเรียนที่มีเนื้อหาสาระมากๆ ในการสอนวิทยาศาสตร์ให้มีประสิทธิภาพ และบรรลุ เป้าหมายจะต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายและ ขอบเขตของคำาว่าวิทยาศาสตร์เป็นอย่างดี ครูต้องตระหนักถึง ความสำาคัญของกระบวนการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ไม่ น้อยไปกว่าเนื้อหาการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ที่ดีและ ถุกต้องให้ผู้เรียนได้รับทั้งเนื้อหาความรู้ซึ่งเป็นผลผลิตทาง วิทยาศาสตร์ และปลูกฝังการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ซึ่ง หมายถึงทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และเจตคติทาง วิทยาศาสตร์ ให้แก่ผู้เรียนด้วนในเวลาเดียวกัน(นิดา สะเพียรชัย และคณะ 2523) 2. วั ต ถุ ป ระสงค์ ข องการวิ จ ั ย 2.1 เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธ์ทางการเรียนโดยใช้รูปแบบการ สอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ 2.2 เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ที่ได้รับ การสอนตามหลักการสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ 2.3 เพื่อพัฒนาพฤติกรรมการทำางานกลุ่มของนักเรียนจาก การใช้แผนการสอนวิชาเคมีที่สร้างขึ้นตามหลักการสอนแบบร่วม มือกันเรียนรู้ 3. ขอบเขตการวิ จ ั ย 3.1ประชากร ประชากรที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2545 โรงเรียนกมลาไสย อำาเภอ กมลาไสย จ. กาฬสินธุ์
  • 6. 3.2กลุ ่ ม ตั ว อย่ า ง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ เป็น นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2545 โรงเรียนกมลาไสย อำาเภอกมลาไสย จ. กาฬสินธุ์ โดยใช้นักเรียน 1 ห้อง จำานวน 30 คน 3.3 ตั ว แปรในการศึ ก ษา 3.3.1 ตัวแปรต้น ได้แก่ วิธีการสอนแบบร่วมมือกัน เรียนรู้ 3.3.2 ตัวแปรตาม ได้แก่ 3.3.2.1ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3.3.2.2ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 3.3.2.3พฤติกรรมการทำางานกลุ่ม 4. คำ า จำ า กั ด ความนิ ย ามศั พ ท์ เ ฉพาะ 4.1 นักเรียน หมายถึง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาค เรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2545 โรงเรียนกมลาไสย อำาเภอกมลาไสย จ. กาฬสินธุ์ 4.2 รูปแบบการสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู หมายถึง การ สอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้แบบ STAD (Student Teams Achievement Division) ตามแผนการสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีลักษณะเป็นการสอนที่มีเป้าหมายต้องการให้ผู้ เรียนได้พัฒนาทักษะทางสติปัญญา ทักษะทางสังคม และความรู้ ในด้านการเห็นถึงคุณค่าของตนเอง การที่จะให้ผู้เรียนบรรลุเป้า หมายดังกล่าวข้างต้นต้องคำานึงถึงหลักการ 3 ประการ คือ 4.2.1 รางวัลหรือเป้าหมายของกลุ่ม ซึ่งในการวิจัยครั้ง นี้ผู้วิจัยกำาหนดรางวัล คือ อุปกรณ์การเรียน เช่น ดินสอน สมุด 4.2.2 ความสามารถของแต่ละบุคคล ความสามารถใน การเรียน การรับรู้ของบุคคลย่อมจะมีความแตกต่างกัน ในการ เรียนโดยใช้รูปแบบนี้ บุคคลที่มีความสามารถทางการเรียนสูงจะ ช่วยเหลือบุคคลที่มความสาารถทางการเรียนตำ่าให้เรียนรู้ได้ดีขึ้น 4.2.3 ผู้เรียนมีโอกาสในการช่วยเหลือให้กลุ่มประสบ ผลสำาเร็จเท่าเทียมกัน ไม่ว่าจะเป็นบุคคลที่มีความสามารถทางการ เรียนสูง ปานกลาง ตำ่า และการที่จะให้ผู้เรียนบรรลุเป้าหมายต้อง คำานึงถึงหลัก 3 ประการนี้ เพื่อกระตุ้นให้ผุ้เรียนพยายามในการ
  • 7. เรียนรู้มากยิ่งขึ้นและพยายามปรับพฤติกรรมเพื่อความสำาเร็จของ กลุ่ม การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนมีขั้นตอนดังนี้ 4.2.3.1 ขันการเสนอบทเรียนต่อทั้งชั้น โดย ้ เนื้อหาที่จะเรียนต่อนักเรียนทั้งห้อง โดยเลือกใช้รูปแบบการสอนที่ เหมาะสมกับเนื้อหาในการเรียนการสอนแต่ะจรั้ง ผูวิจัยใช้รูปแบบ ้ การสอน 2 รูปแบบได้แก่รูปแบบการสอนเพื่อให้เกิดมโนมติ (Concept Attainment Model) รูปแบบการสอนโดยให้สิ่งช่วยจัด มโนมติล่วงหน้า (Advance Organizer Model) ไปใช้กับบทเรียน ที่มีเนื้อหาสาระมากๆ 4.2.3.2 ขันการศึกษากลุ่มย่อย นักเรียนแต่ละ ้ กลุ่มจะประกอบด้วยสมาชิก 4-5 คน ซึ่งมีความแตกต่างกันในแง่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเพศ ภายในกลุ่มหนึ่งจะประกอยด้วย สมาชิกที่เป็นนักเรียนเก่ง 1 คน คนเรียนปานกลาง 2 คน คนเรียน อ่อน 1 คน ช่วยกันทำากิจกรรมที่กำาหนดโดยเน้นการช่วยเหลือกัน ในการเรียนและความรับผิดชอบร่วมกันของสมาชิกทุกๆคนใน กลุ่ม 4.2.3.3 ขันการตรวจสอบเป็นการทำาแบบ ้ ทดสอบด้วยตนเอง โดยไม่มีการช่วยเหลือกันต่างคนต่างทำา ตาม ความเข้าใจและความสามารถของตนเองเป็นหลักจากการที่ได้รับ การสอนและการทำากิจกรรมกลุ่มแล้ว ซึ่งแต่ละคนต้องทำาคะแนน ให้ได้มากที่สุด เพื่อส่งผลให้ตัวเองและกลุ่มประสบความสำาเร็จให้ มากที่สุด 4.2.3.4 นำาคะแนนที่ได้จากการทดสอบย่อยของ สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มมาเปรียบเทียบหาความแตกต่างกับคะแนน พื้นฐานของสมาชิกแต่ละคนในกลุ่ม เพื่อคิดเป็นคะแนนพัฒนาของ สมาชิกแต่ละคนในกลุ่ม 4.2.3.5 นำาคะแนนพัฒนาการ มาปรับเป็น คะแนนความก้าวหน้าของนักเรียนแต่ละกลุ่ม ซึ่งกลุ่มที่ได้รับการ ยกย่องบรรลุเป้าหมายของกลุ่ม จะมีคะแนนความก้าวหน้าตาม เกณฑ์ที่ได้แจ้งไว้ 4.3 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คะแนนระหว่าง ทดสอบหลังเรียนและการทดสอบก่อนเรียนที่ได้จากการตอบแบบ สัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมี เรื่อง ปริมาตรของก๊าซ ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 4.4 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หมายถึง พฤติกรรม ที่เกิดจากการปฏิบัติและการฝึกความนึกคิดอย่างมีระบบ เป้
  • 8. นทักษะทางสติปัญญาในการเลือกและใช้กระบวนการทาง วิทยาศาสตร์เพื่อแก้ปัญหาและค้นพบคำาตอบ ในการวิจัยครั้งนี้ คะแนนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ระหว่างทดสอบหลัง เรียนและการทดสอบก่อนเรียนที่ได้จากการตอบแบบวัดทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน 4.5 แบบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หมายถึง แบบวัดความสามารถของนักเรียนในการใช้ทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งเป็นแบบทดสอบที่ได้นำามาจาก 4.5.1ทักษะการสังเกต 4.5.2ทักษะการวัด 4.5.3ทักษะการจำาแนกประเภท 4.5.4ทักษะการคำานวณ 4.5.5ทักษะการจัดกระทำาและการสื่อความหมายของ ข้อมูล 4.5.6ทักษะการลงความคิดเห็นจากข้อมูล 4.5.7ทักษะการพยากรณ์ 4.5.8ทักษะการตั้งสมมติฐาน 4.5.9ทักษะการกำาหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ 4.5.10ทักษะการกำาหนดและการควบคุมตัวแปร 4.5.11ทักษะการทดลอง 4.5.12ทักษะการตีความหมายของจ้อมูลและการลงข้อ สรุป 4.6 แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง แบบวัดความ สามารถของนักเรียนในการ เรียนเรื่อง ปริมาตรของก๊าซ ซึ่งผู้วิจัยได้สร้างขึ้นเอง 4.7 พฤติกรรมการทำางานกลุ่มที่บุคคลแสดงออกในการ ปฏิบัติงาน หรือทำางานโดยมีเป้าหมายร่วมกันมีการติดต่อสื่อสาร การประสานงาน เพื่อในงานกลุ่มบรรลุผลสำาเร็จตามเป้าหมาย 5. ประโยชน์ ท ี ่ ค าดว่ า จะได้ ร ั บ 5.1 เป็นการเผยแพร่การสอนโดยใช้รูปแบบการสอนแบบ ร่วมมือกันเรียนรู้ในรายวิชาเคมี 5.2 เป็นแนวทางให้ครูผู้สอนได้ศึกษาและทดลองสร้างบท เรียนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ในวิชาเคมี 5.3เป็นแนวทางและวิธีการพัฒนาความรู้ความสามารถส่วน บุคคลให้เกิดขึ้นแก่ผู้เรียน