SlideShare a Scribd company logo
3. การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่อง การนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟ 
สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ 
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี 
สุทธิรัตน์ แสงจันทร์ 1 
จงกล แก่นเพิ่ม 2 
บทคัดย่อ 
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ1) พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่อง การนาเสนอ 
ข้อมูลด้วยกราฟ สา หรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 
2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกับคะแนนสอบก่อนเรียน จากการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ 
มัลติมีเดีย 3)ศึกษาดัชนีประสิทธิผลจากการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย 4) ศึกษาความพึง 
พอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ศึกษาใน 
ครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 จานวน 30 คน ซึ่งได้มาโดย 
การสุ่มแบบง่าย โดยการจับฉลากมา 1 ห้องเรียน จานวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ 
ประกอบด้วย 1)บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย “เรื่อง การนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟ”สาหรับนักเรียนชั้น 
มัธยมศึกษาปีที่ 1 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3)แบบสอบถามความพึงพอใจสถิติที่ใช้ใน 
การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบที (t-test) 4)คู่มือการใช้ 
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย 
ผลการวิจัยพบว่า 1)บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย “เรื่อง การนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟ”สาหรับ 
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 87.89/84.33 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน 
ของนักเรียนสูงกว่าคะแนนทดสอบก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญที่ระดับ .05 3)ค่าดัชนีประสิทธิผลของ 
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่องการสร้างงานนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟ มีค่าเท่ากับ .69 หมายความว่า 
ผู้เรียนมีความก้าวหน้าทางการเรียนเพิ่มขึ้นร้อยละ69 และ 4) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อบทเรียน 
มัลติมีเดียอยู่ในระดับมากที่สุด 
คำสำคัญ : บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย, การนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟ 
Abstract 
The purposes of this research were: 1) to develop the multimedia courseware on 
data graphs presentation for Matthayomsuksa 1 students according to the quality and 
the intended criteria of efficiency at 80/80, 2) to compare the pretest score with the 
achievement score from learning with multimedia courseware, 3) to find out the 
effectiveness index from learning with multimedia courseware and 4) to study the 
students’ satisfaction towards the multimedia courseware. 
The samples were as 30 Matthayomsuksa1students in the second semester of 
2013 the academic year 2013 by random sampling. Research instruments were: 
1นิสิตปริญญาโทสาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 
2รองศาสตราจารย์ สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 
118 วารสารเทคโนโลยีการศึกษาและมีเดียคอนเวอร์เจนซ์
1) multimedia courseware on data graphs presentation;2) the achievement test, and 3) 
the students’ questionnaire on satisfaction towards the multimedia courseware. 
Research statistics used were mean, standard deviation and t-test. 
The results of the research were as follows: 1) the quality of multimedia 
courseware on data graphs presentation was at good level and the efficiency was at 
87.98/84.33, 2) the achievement test score was significantly higher than the pretest score 
at .05 level, 3) the effectiveness index of multimedia courseware on data graphs 
presentation were 0.69 or 69 percent, and 4) the students’ satisfaction on multimedia 
courseware was at the highest level. 
Keywords : Computer Multimedia Instruction, Data Graphs Presentation 
ภูมิหลัง 
ปัจจุบันเทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจาวันของทุกคนและทุกหน่วยงานในสังคมมนุษย์ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ได้พัฒนาความคิดของมนุษย์หลายๆด้านอย่างเป็นระบบ โดยเฉพาะในด้านการเรียนและการสอนจะ เห็นได้จากหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ได้กาหนดสมรรถนะที่สาคัญของผู้เรียนในด้าน ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีไว้ว่าเป็นความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมีทักษะ กระบวนการทางเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้การสื่อสาร การทางาน การแก้ปัญหาอย่าง สร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม จึงได้มีการพัฒนาบทเรียนขึ้นมาหลากหลายจนเข้ารูปแบบสื่อมัลติมีเดีย ดังที่กิ ดานันท์ มลิทอง (2546) ได้อธิบายไว้ว่าเป็นการนาสื่อหลาย ๆ ประเภทมาใช้ร่วมกันทั้งวัสดุอุปกรณ์และวิธีการเพื่อให้เกิด ประสิทธิภาพ 
สูงสุดในการเรียนการสอนโดยใช้สื่อแต่ละชนิดตามลาดับขั้นตอนของเนื้อหาการนาบทเรียนมัลติมีเดียมาจัดการเรียนการ สอนต้องเป็นบทเรียนที่มีคุณภาพเพราะบทเรียนมัลติมีเดียจะเป็นสื่อกลางในการนาเนื้อหาจากบทเรียนและจากแหล่งการ เรียนรู้อื่น ๆ สามารถนามารวมไว้ในบทเรียนมัลติมีเดียถ่ายทอดไปยังผู้เรียนทาให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้และการรับรู้ เข้าใจในเนื้อหาได้ง่ายด้วยคุณสมบัติของสื่อ ผู้เรียนสามารถ 
เรียนรู้และรับข้อมูลได้มากกว่า 1ช่องทางและหลากหลายรูปแบบ ทั้งสื่อที่เป็นข้อความ ภาพเสียง วีดิทัศน์ วีดิโอ เป็นต้น สื่อ ที่มีคุณภาพจะดึงดูดความสนใจและความเร้าใจผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ มีความสุขกับ 
การเรียนและผู้เรียนยังสามารถทบทวนความรู้ได้ด้วยตนเองทุกที่ทุกเวลาที่ต้องการและส่งผลให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ ดี โดยผู้เรียนจะต้องมีปฏิสัมพันธ์กับเครื่องคอมพิวเตอร์ได้การเรียนการสอนในกลุ่มสาระการ 
เรียนรู้การงานพื้นฐานอาชีพและเทคโนโลยี 
เป็นกลุ่มสาระที่ช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะพื้นฐานที่จาเป็นต่อการดารงชีวิตและรู้เท่าทันการ เปลี่ยนแปลง สามารถความรู้เกี่ยวกับการดารงชีวิต การอาชีพและเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในการทางานอย่างมีความคิด สร้างสรรค์สามารถแข่งขันได้ในสังคมไทยและสากล เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ รักการทางาน และมีเจตคติที่ดีต่อ การทางาน สามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างพอเพียงและมีความสุข (สา นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2551) ซึ่งโรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารีเป็นโรงเรียน ขยายโอกาส จึงมีนักเรียนที่มี 
พื้นฐานความรู้ที่แตกต่างกันไป จากการเรียนการสอนวิชาคอมพิวเตอร์ในเรื่องการสร้างงานนาเสนอด้วยกราฟ ผู้วิจัยได้ ศึกษาปัญหาในการเรียนการสอนแล้วพบว่า ผู้เรียนมีความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างงานนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟน้อย เมื่อเริ่ม
มีความซับซ้อนมากขึ้นก็จะทาไม่ได้แล้วทางานไม่ทัน บางคนสามารถสร้างงานนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟได้ดี มีปัญหา เกี่ยวกับเวลาเรียนน้อยเพราะต้องเดินมาเรียนบางห้องใช้ 
เวลา 5 ถึง15นาทีและในหนึ่งห้องเรียนมีผู้เรียนเฉลี่ยจานวน 55 คนต่อหนึ่งห้องเรียนซึ่งมีจานวนมากทาให้นักเรียนบางคน ขาดสมาธิในการเรียน มีผู้เรียนที่เรียนรู้ช้า ทางานไม่ครบ ส่งงานไม่ตรงเวลาจากเหตุผลข้างต้น ผู้วิจัยเห็นถึงความสาคัญและ ความจา เป็นในการนา สื่อมัลติมีเดียมาใช้ในการเรียนการสอน จึงได้จัดทาบทเรียนมัลติมีเดีย วิชา ง21202 คอมพิวเตอร์2 สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ขึ้นเพื่อแก้ปัญหาผู้เรียนมีความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟน้อย เมื่อเริ่มมีความซับซ้อนมากขึ้นก็จะทาไม่ได้ แล้วทางานไม่ทันผู้เรียนที่เรียนช้าหรือทางานไม่ครบกาหนดเวลาจากการสารวจ ในชั้นเรียน ผู้เรียนร้อยละ 98 มีคอมพิวเตอร์ใช้ที่บ้าน แต่ไม่สามารถใช้อินเตอร์เน็ตได้เป็นส่วนมาก ผู้วิจัยจึงสร้างบทเรียน เป็นออฟไลน์ทาให้ผู้เรียนสามารถนาบทเรียนมัลติมีเดียชุดนี้ไปศึกษาทบทวนได้ด้วยตนเองได้ทุกเวลาที่ต้องการ 
วัตถุประสงค์การวิจัย 
1. เพื่อพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่องการนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟสาหรับนักเรียนชั้มัธยมศึกษาปีที่ 1 ให้มี ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 
2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนกับคะแนนสอบก่อนเรียน จากบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่องการ นาเสนอข้อมูลด้วยกราฟ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 
3. เพื่อหาค่าดัชนีประสิทธิผลจากการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่องการนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟ สาหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 
4. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่องการนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟ 
สมมุติฐานการวิจัย 
1. นักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่อง การนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน สูงกว่าคะแนนสอบก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญที่ระดับ .05 
2. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่องการนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟ สาหรับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 
1. บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียเรื่องการนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟ”สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 มีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ์80/80 
2. เป็นแนวทางในการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียในเนื้อหาสาระอื่นๆ 
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 
1.บทเรียนมัลติมีเดีย เรื่อง การนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 
2.แบบประเมินคุณภาพ บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่อง การนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1โดยผู้เชี่ยวชาญ 
3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 
4. แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียการนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟ สาหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 
วิธีดาเนินการวิจัย 
1. ผู้วิจัยนาหนังสือจากศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ถึงผู้อานวยการโรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระ ราชูปถัมภ์ฯเพื่อขอความอนุเคราะห์กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการเก็บข้อมูลรวมถึงขอใช้ห้องคอมพิวเตอร์ในการทดลองจริง
2. ติดต่อประสานงานกับกลุ่มตัวอย่างด้วยตนเองเพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์ และประโยชน์ที่เกิดจากผลการวิจัย 
3. การเตรียมสถานที่และเครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือ ห้องคอมพิวเตอร์ ซึ่งในการทดลองจริงได้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ 1 เครื่อง ต่อนักเรียน 1 คน 
4. ให้กลุ่มตัวอย่างทาแบบทดสอบก่อนเรียนจานวน 20 ข้อ มี 4 ตัวเลือก ใช้เวลา 30นาที โดยได้ดาเนินการก่อนเริ่มเรียน บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย 1 สัปดาห์จากนั้นผู้วิจัยจึงชี้แจงให้กลุ่มตัวอย่างทราบถึงกาหนดการเรียนบทเรียน คอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เพื่อให้ผู้เรียนมีความพร้อม 
5. ให้กลุ่มตัวอย่างเรียนบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่องการนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟจากคอมพิวเตอร์ พร้อมอุปกรณ์หู ฟังโดยนักเรียนหนึ่งคนต่อคอมพิวเตอร์หนึ่งเครื่องเป็นเวลา 40 นาที 
6. เมื่อครบกาหนดตามระยะเวลาให้กลุ่มตัวอย่างทา แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผ่านบทเรียนคอมพิวเตอร์ มัลติมีเดีย จานวน 20 ข้อ มี 4 ตัวเลือก ใช้เวลา40 นาที 
7. นาข้อมูลไปหาค่าดัชนีประสิทธิผลของสื่อการสอนมัลติมีเดีย เรื่องการสร้างงานเสนอข้อมูลด้วยกราฟ 
8. ให้กลุ่มตัวอย่างทาแบบสอบถามความพึงพอใจที่ผู้วิจัยจัดเตรียมไว้ 
9. เก็บรวบรวมข้อมูลจากคะแนนการทดสอบก่อนเรียนกับคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผ่านบทเรียนคอมพิวเตอร์ มัลติมีเดีย และแบบสอบถามความพึงพอใจ 
10. นาคะแนนทั้งหมดที่ได้มาทาการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สาเร็จรูป 
ผลการวิจัย 
1. การหาคุณภาพและประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่อง การนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟ สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 
1.1 ผลการทดสอบหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย กับนักเรียนจานวน30คน หลังจากเรียนผ่านบทเรียน คอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่องการสร้างงานนาเสนอด้วยกราฟ ได้คะแนนแบบฝึกหัดเฉลี่ย 
คิดเป็นร้อยละ 87.89 และคะแนนวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 84.33 ถือว่าเป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 สรุป ได้ว่าบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย นี้มีประสิทธิภาพสามารถนาไปใช้ในการเรียนการสอนได้ 
1.2 การหาคุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย รายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องการนาเสนอข้อมูลด้วย กราฟ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ผลการหาคุณภาพ โดยรวมมีค่าเฉลี่ย 4.56 อยู่ในระดับดีมาก 
2. ผลการเปรียบเทียบคะแนนทดสอบก่อนเรียนกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คะแนนเฉลี่ยของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สูง กว่าคะแนนทดสอบก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 
3. ผลการหาค่าดัชนีประสิทธิผลจากการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียวิชา คอมพิวเตอร์ เรื่อง การนาเสนอข้อมูล ด้วยกราฟ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1ผู้เรียนมีความก้าวหน้าทางการเรียนเพิ่มขึ้นร้อยละ 69 
4. ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่อง การนาเสนอข้อมูล ด้วยกราฟ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1มีความพึงพอใจต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ 
มัลติมีเดีย เรื่อง การนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟสาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่1โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระ ราชูปถัมภ์ฯ เฉลี่ยอยู่ที่ 4.77 อยู่ในระดับ ดีมาก และค่าคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด
ข้อเสนอแนะ 
ข้อเสนอแนะทั่วไป 
1.ระบบคอมพิวเตอร์ควรจะเป็นมาตรฐานเดียวกันทุกเครื่องให้ครบจานวนนักเรียนทั้ง 50 คนต่อหนึ่งห้องเรียน จะทาให้ นักเรียนสามารถเรียนรู้และรับรู้ได้เท่าเทียมกันเพราะในการเรียนการสอนโดยใช้สื่อมัลติมีเดียผู้เรียนต้องใช้อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์คนละหนึ่งชุดแต่ละคนจะเรียนรู้ด้วยตนเองได้และเท่าเทียมกัน 
2. สื่อที่นามาประกอบในบทเรียนควรจะคมชัดมากกว่านี้หรือสร้างให้สามารถลิงค์ไปยัง แหล่งที่มาของข้อมูลได้ 
ข้อเสนอแนะสาหรับการวิจัยครั้งต่อไป 
1. บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย ครั้งต่อไปจะทาลงบนเว็บเพื่อผู้เรียนมีการทางานอย่างเป็นระบบและตรงเวลา และ สามารถสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้อื่นๆ นอกเหนือที่มีในบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียได้ 
2. ในการสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย ครั้งต่อไปต้องศึกษาโปรแกรมสาหรับสร้างบทเรียนให้เป็นอย่างดีเพราะใน ปัจจุบันมีโปรแกรมมากมายที่สามารถใช้สร้างบทเรียนมัลติมีเดียได้ซึ่งแต่ละโปรแกรมก็มีข้อดีและข้อเสีย ความยากง่าย แตกต่างกันไป เลือกใช้โปรแกรมที่ไม่มีความซับซ้อนมากแต่สามารถ 
แทรกสื่อต่างๆได้ตามหลักการสร้างสื่อมัลติมีเดียเพื่อจะได้สื่อมัลติมีเดียที่มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น 
3. ผลจากการวิจัยครั้งนี้ จะเป็นแนวทางในการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย ในวิชาคอมพิวเตอร์ ในเนื้อหาการ สร้างเกมจากโปรแกรมนา เสนอในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 และผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วย 
ตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เอกสารอ้างอิง 
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). คู่มือการใช้หลักสูตรการศึกษาฉบับพุทธศักราช 2551.กรุงเทพฯ : 
องค์การค้าคุรุสภา. 
_______. (2542).ราชบัณฑิตยสถาน พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน.กรุงเทพฯ :นามบุ๊คส์ 
พับลิเคชั่นส์. 
_______. (2543). เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม.พิมพ์ครั้งที่ 2.กรุงเทพฯ :อรุณการพิมพ์. 
_______. (2548). เทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อการศึกษา.กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ์. 
กาญจนา อรุณสุขรุจี. (2546). ความพึงพอใจของสมาชิกสหกรณ์ต่อการดาเนินงานของสหกรณ์ 
การเกษตรไชยปราการ จังหวัดเชียงใหม่.วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต. เชียงใหม่ : 
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 
กิดานันท์มลิทอง. (2540).เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม.กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์ชวนพิมพ์. 
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2544). e-learning:ยุทธศาสตร์การเรียน.Economy. 1(26): 43. 
กฤษมันต์ วัฒนาณรงค์. (2542). เทคโนโลยีเทคนิคศึกษา.กรุงเทพฯ :สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า 
พระนครเหนือ. 
ครรชิต มาลัยวงศ์. (2536).“มัลติมีเดีย-เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มพูนการเรียนรู้”.วารสารราชบัณฑิตยสถาน. 
(ฉบับภาคผนวก) 
จิตรลดา ทองปลี.(2550). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียกลุ่มสาระการเรียนรู้ 
ภาษาต่างประเทศ เรื่องคาศัพท์ “Project : Play& Learn” สาหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 2. 
ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต.กรุงเทพฯ :มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 
จิรพัฒน์ ชัยพร. (2539). ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้บทเรียนไฮเปอร์เท็กซ์ วิชาฟิสิกส์ เรื่อง 
ปรากฎการณ์เสียงของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดสตึก จังหวัดบุรีรัมย์. 
วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ :มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 
ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2525). การทดสอบประสิทธิภาพสื่อการสอน. นนทบุรี:สานักเทคโนโลยี 
การศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 
ชม ภูมิภาค. (2528). เทคโนโลยีทางการสอนและการศึกษา.กรุงเทพฯ :มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 
ไชยยศ เรืองสุวรรณ.(2526).เทคโนโลยีทางการศึกษา:หลักการและแนวปฏิบัติ.กรุงเทพฯ : 
วัฒนาพานิช. 
ไชยยศ เรืองสุวรรณ.(2546).การบริการสื่อและเทคโนโลยีทางการศึกษา.กรุงเทพฯ :วัฒนาพานิช. 
ดุสิต มั่นคง. (2551). บทเรียนมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี 
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 1 เรื่องการใช้โปรแกรม Microsoft OfficePowerPoint 2007 
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1.กาฬสินธุ์: โรงเรียนยางตลาดวิทยาคาร. 
นุษรา พิมพิค่อ. (2550).บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียเรื่อง การเรียนรู้คาศัพท์โดยใช้ปริศนาคาทาย 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5.ปริญญานิพนธ์ 
การศึกษามหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ :มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 
บุญชม ศรีสะอาด. (2553). การวิจัยเบื้องต้น.พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ :สุวีริยาสาส์น. 
บุญเรียง ขจรศิลป์. (2543). วิธีวิจัยทางการศึกษา.กรุงเทพฯ :คณะศึกษาศาสตร์

More Related Content

What's hot

04.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ e learning
04.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ e learning04.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ e learning
04.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ e learningPrachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7Meaw Sukee
 
Chapter3 Information technology for education
Chapter3 Information technology for educationChapter3 Information technology for education
Chapter3 Information technology for educationChangnoi Etc
 
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนนคู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนนครูทัศรินทร์ บุญพร้อม
 
ระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมคลาวด์
ระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมคลาวด์ระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมคลาวด์
ระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมคลาวด์Prachyanun Nilsook
 
มาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธมาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธSurapon Boonlue
 
Tablet1
Tablet1Tablet1
Tablet1jamrat
 
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...Mnr Prn
 
02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv
02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv
02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltvPrachoom Rangkasikorn
 
ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2Thawatchai Rustanawan
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...Nattapon
 
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทอง
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทองเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทอง
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทองกนกศักดิ์ บัวทอง
 
แผนคอมฯ ม.2 1
แผนคอมฯ ม.2 1แผนคอมฯ ม.2 1
แผนคอมฯ ม.2 1Surapong Jakang
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
07.คู่มือการติดตั้งและใช้งาน e dltv
07.คู่มือการติดตั้งและใช้งาน e dltv07.คู่มือการติดตั้งและใช้งาน e dltv
07.คู่มือการติดตั้งและใช้งาน e dltvPrachoom Rangkasikorn
 
Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel. [NEC...
Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel. [NEC...Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel. [NEC...
Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel. [NEC...Panita Wannapiroon Kmutnb
 

What's hot (20)

04.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ e learning
04.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ e learning04.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ e learning
04.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ e learning
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
 
Chapter3 Information technology for education
Chapter3 Information technology for educationChapter3 Information technology for education
Chapter3 Information technology for education
 
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนนคู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
 
ระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมคลาวด์
ระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมคลาวด์ระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมคลาวด์
ระบบการจัดการเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์มัลติยูสเซอร์ในสังคมคลาวด์
 
5
55
5
 
มาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธมาตรฐานMoocมจธ
มาตรฐานMoocมจธ
 
Tablet1
Tablet1Tablet1
Tablet1
 
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
ตัวอย่างการเขียน มคอ.3 รายละเอียดรายวิชา ที่ถูกต้องสอดคล้องกับผลการเรียนรู้ที...
 
02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv
02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv
02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv
 
ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
 
Pancom m2
Pancom m2Pancom m2
Pancom m2
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
 
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทอง
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทองเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทอง
เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ ครูกนกศักดิ์ บัวทอง
 
แผนคอมฯ ม.2 1
แผนคอมฯ ม.2 1แผนคอมฯ ม.2 1
แผนคอมฯ ม.2 1
 
Paper
PaperPaper
Paper
 
Online learning lms
Online learning lms Online learning lms
Online learning lms
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
07.คู่มือการติดตั้งและใช้งาน e dltv
07.คู่มือการติดตั้งและใช้งาน e dltv07.คู่มือการติดตั้งและใช้งาน e dltv
07.คู่มือการติดตั้งและใช้งาน e dltv
 
Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel. [NEC...
Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel. [NEC...Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel. [NEC...
Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel. [NEC...
 

Similar to 3

รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5kruwaeo
 
Presentphysiccyberlab1
Presentphysiccyberlab1Presentphysiccyberlab1
Presentphysiccyberlab1m3c11n01
 
บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)Annop Phetchakhong
 
การพัฒนาโปรแกรมบทเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ วิชา เทคโนโลยีสารสนเท...
การพัฒนาโปรแกรมบทเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์  วิชา เทคโนโลยีสารสนเท...การพัฒนาโปรแกรมบทเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์  วิชา เทคโนโลยีสารสนเท...
การพัฒนาโปรแกรมบทเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ วิชา เทคโนโลยีสารสนเท...Noppakhun Suebloei
 
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...Nakhon Phanom University
 
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...Nakhon Phanom University
 
Course syllabus
Course syllabusCourse syllabus
Course syllabusNattapon
 
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresentงานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
งานนำเสนอแนวคิดใช้ItpresentYaowaluck Promdee
 
คู่มือการใช้ สำหรับนักเรียน1
คู่มือการใช้ สำหรับนักเรียน1คู่มือการใช้ สำหรับนักเรียน1
คู่มือการใช้ สำหรับนักเรียน1Chommy Rainy Day
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6Meaw Sukee
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์mina612
 
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอpranee Dummang
 
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอpranee Dummang
 
การวิจัยในชั้นเรียนเรื่อง การใช้ เว็บไซต์ เรียนรู้ Ict กับครูทรงศักดิ์ เพิ่มป...
การวิจัยในชั้นเรียนเรื่อง การใช้ เว็บไซต์ เรียนรู้ Ict กับครูทรงศักดิ์ เพิ่มป...การวิจัยในชั้นเรียนเรื่อง การใช้ เว็บไซต์ เรียนรู้ Ict กับครูทรงศักดิ์ เพิ่มป...
การวิจัยในชั้นเรียนเรื่อง การใช้ เว็บไซต์ เรียนรู้ Ict กับครูทรงศักดิ์ เพิ่มป...พัน พัน
 

Similar to 3 (20)

รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
471
471471
471
 
Presentphysiccyberlab1
Presentphysiccyberlab1Presentphysiccyberlab1
Presentphysiccyberlab1
 
บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)บทที่3 (เสร็จ)
บทที่3 (เสร็จ)
 
Pitima
PitimaPitima
Pitima
 
การพัฒนาโปรแกรมบทเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ วิชา เทคโนโลยีสารสนเท...
การพัฒนาโปรแกรมบทเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์  วิชา เทคโนโลยีสารสนเท...การพัฒนาโปรแกรมบทเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์  วิชา เทคโนโลยีสารสนเท...
การพัฒนาโปรแกรมบทเรียน เรื่อง ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ วิชา เทคโนโลยีสารสนเท...
 
9
99
9
 
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
The Blended Learning Model using Collaborative and Case-based Learning to Cre...
 
Email system
Email systemEmail system
Email system
 
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
 
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
 
Course syllabus
Course syllabusCourse syllabus
Course syllabus
 
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresentงานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
 
คู่มือการใช้ สำหรับนักเรียน1
คู่มือการใช้ สำหรับนักเรียน1คู่มือการใช้ สำหรับนักเรียน1
คู่มือการใช้ สำหรับนักเรียน1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
 
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ์นำเสนอ
 
การวิจัยในชั้นเรียนเรื่อง การใช้ เว็บไซต์ เรียนรู้ Ict กับครูทรงศักดิ์ เพิ่มป...
การวิจัยในชั้นเรียนเรื่อง การใช้ เว็บไซต์ เรียนรู้ Ict กับครูทรงศักดิ์ เพิ่มป...การวิจัยในชั้นเรียนเรื่อง การใช้ เว็บไซต์ เรียนรู้ Ict กับครูทรงศักดิ์ เพิ่มป...
การวิจัยในชั้นเรียนเรื่อง การใช้ เว็บไซต์ เรียนรู้ Ict กับครูทรงศักดิ์ เพิ่มป...
 
K2
K2K2
K2
 

More from Mus Donganon (7)

10
1010
10
 
8
88
8
 
7
77
7
 
6
66
6
 
4
44
4
 
2
22
2
 
1
11
1
 

3

  • 1. 3. การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่อง การนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี สุทธิรัตน์ แสงจันทร์ 1 จงกล แก่นเพิ่ม 2 บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ1) พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่อง การนาเสนอ ข้อมูลด้วยกราฟ สา หรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกับคะแนนสอบก่อนเรียน จากการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ มัลติมีเดีย 3)ศึกษาดัชนีประสิทธิผลจากการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย 4) ศึกษาความพึง พอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ศึกษาใน ครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 จานวน 30 คน ซึ่งได้มาโดย การสุ่มแบบง่าย โดยการจับฉลากมา 1 ห้องเรียน จานวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ประกอบด้วย 1)บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย “เรื่อง การนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟ”สาหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3)แบบสอบถามความพึงพอใจสถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบที (t-test) 4)คู่มือการใช้ บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย ผลการวิจัยพบว่า 1)บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย “เรื่อง การนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟ”สาหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีประสิทธิภาพเท่ากับ 87.89/84.33 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน ของนักเรียนสูงกว่าคะแนนทดสอบก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญที่ระดับ .05 3)ค่าดัชนีประสิทธิผลของ บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่องการสร้างงานนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟ มีค่าเท่ากับ .69 หมายความว่า ผู้เรียนมีความก้าวหน้าทางการเรียนเพิ่มขึ้นร้อยละ69 และ 4) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อบทเรียน มัลติมีเดียอยู่ในระดับมากที่สุด คำสำคัญ : บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย, การนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟ Abstract The purposes of this research were: 1) to develop the multimedia courseware on data graphs presentation for Matthayomsuksa 1 students according to the quality and the intended criteria of efficiency at 80/80, 2) to compare the pretest score with the achievement score from learning with multimedia courseware, 3) to find out the effectiveness index from learning with multimedia courseware and 4) to study the students’ satisfaction towards the multimedia courseware. The samples were as 30 Matthayomsuksa1students in the second semester of 2013 the academic year 2013 by random sampling. Research instruments were: 1นิสิตปริญญาโทสาขาวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2รองศาสตราจารย์ สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 118 วารสารเทคโนโลยีการศึกษาและมีเดียคอนเวอร์เจนซ์
  • 2. 1) multimedia courseware on data graphs presentation;2) the achievement test, and 3) the students’ questionnaire on satisfaction towards the multimedia courseware. Research statistics used were mean, standard deviation and t-test. The results of the research were as follows: 1) the quality of multimedia courseware on data graphs presentation was at good level and the efficiency was at 87.98/84.33, 2) the achievement test score was significantly higher than the pretest score at .05 level, 3) the effectiveness index of multimedia courseware on data graphs presentation were 0.69 or 69 percent, and 4) the students’ satisfaction on multimedia courseware was at the highest level. Keywords : Computer Multimedia Instruction, Data Graphs Presentation ภูมิหลัง ปัจจุบันเทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจาวันของทุกคนและทุกหน่วยงานในสังคมมนุษย์ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ได้พัฒนาความคิดของมนุษย์หลายๆด้านอย่างเป็นระบบ โดยเฉพาะในด้านการเรียนและการสอนจะ เห็นได้จากหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ได้กาหนดสมรรถนะที่สาคัญของผู้เรียนในด้าน ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีไว้ว่าเป็นความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมีทักษะ กระบวนการทางเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้การสื่อสาร การทางาน การแก้ปัญหาอย่าง สร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม จึงได้มีการพัฒนาบทเรียนขึ้นมาหลากหลายจนเข้ารูปแบบสื่อมัลติมีเดีย ดังที่กิ ดานันท์ มลิทอง (2546) ได้อธิบายไว้ว่าเป็นการนาสื่อหลาย ๆ ประเภทมาใช้ร่วมกันทั้งวัสดุอุปกรณ์และวิธีการเพื่อให้เกิด ประสิทธิภาพ สูงสุดในการเรียนการสอนโดยใช้สื่อแต่ละชนิดตามลาดับขั้นตอนของเนื้อหาการนาบทเรียนมัลติมีเดียมาจัดการเรียนการ สอนต้องเป็นบทเรียนที่มีคุณภาพเพราะบทเรียนมัลติมีเดียจะเป็นสื่อกลางในการนาเนื้อหาจากบทเรียนและจากแหล่งการ เรียนรู้อื่น ๆ สามารถนามารวมไว้ในบทเรียนมัลติมีเดียถ่ายทอดไปยังผู้เรียนทาให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้และการรับรู้ เข้าใจในเนื้อหาได้ง่ายด้วยคุณสมบัติของสื่อ ผู้เรียนสามารถ เรียนรู้และรับข้อมูลได้มากกว่า 1ช่องทางและหลากหลายรูปแบบ ทั้งสื่อที่เป็นข้อความ ภาพเสียง วีดิทัศน์ วีดิโอ เป็นต้น สื่อ ที่มีคุณภาพจะดึงดูดความสนใจและความเร้าใจผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ มีความสุขกับ การเรียนและผู้เรียนยังสามารถทบทวนความรู้ได้ด้วยตนเองทุกที่ทุกเวลาที่ต้องการและส่งผลให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ ดี โดยผู้เรียนจะต้องมีปฏิสัมพันธ์กับเครื่องคอมพิวเตอร์ได้การเรียนการสอนในกลุ่มสาระการ เรียนรู้การงานพื้นฐานอาชีพและเทคโนโลยี เป็นกลุ่มสาระที่ช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ มีทักษะพื้นฐานที่จาเป็นต่อการดารงชีวิตและรู้เท่าทันการ เปลี่ยนแปลง สามารถความรู้เกี่ยวกับการดารงชีวิต การอาชีพและเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในการทางานอย่างมีความคิด สร้างสรรค์สามารถแข่งขันได้ในสังคมไทยและสากล เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ รักการทางาน และมีเจตคติที่ดีต่อ การทางาน สามารถดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างพอเพียงและมีความสุข (สา นักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, 2551) ซึ่งโรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารีเป็นโรงเรียน ขยายโอกาส จึงมีนักเรียนที่มี พื้นฐานความรู้ที่แตกต่างกันไป จากการเรียนการสอนวิชาคอมพิวเตอร์ในเรื่องการสร้างงานนาเสนอด้วยกราฟ ผู้วิจัยได้ ศึกษาปัญหาในการเรียนการสอนแล้วพบว่า ผู้เรียนมีความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างงานนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟน้อย เมื่อเริ่ม
  • 3. มีความซับซ้อนมากขึ้นก็จะทาไม่ได้แล้วทางานไม่ทัน บางคนสามารถสร้างงานนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟได้ดี มีปัญหา เกี่ยวกับเวลาเรียนน้อยเพราะต้องเดินมาเรียนบางห้องใช้ เวลา 5 ถึง15นาทีและในหนึ่งห้องเรียนมีผู้เรียนเฉลี่ยจานวน 55 คนต่อหนึ่งห้องเรียนซึ่งมีจานวนมากทาให้นักเรียนบางคน ขาดสมาธิในการเรียน มีผู้เรียนที่เรียนรู้ช้า ทางานไม่ครบ ส่งงานไม่ตรงเวลาจากเหตุผลข้างต้น ผู้วิจัยเห็นถึงความสาคัญและ ความจา เป็นในการนา สื่อมัลติมีเดียมาใช้ในการเรียนการสอน จึงได้จัดทาบทเรียนมัลติมีเดีย วิชา ง21202 คอมพิวเตอร์2 สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ขึ้นเพื่อแก้ปัญหาผู้เรียนมีความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟน้อย เมื่อเริ่มมีความซับซ้อนมากขึ้นก็จะทาไม่ได้ แล้วทางานไม่ทันผู้เรียนที่เรียนช้าหรือทางานไม่ครบกาหนดเวลาจากการสารวจ ในชั้นเรียน ผู้เรียนร้อยละ 98 มีคอมพิวเตอร์ใช้ที่บ้าน แต่ไม่สามารถใช้อินเตอร์เน็ตได้เป็นส่วนมาก ผู้วิจัยจึงสร้างบทเรียน เป็นออฟไลน์ทาให้ผู้เรียนสามารถนาบทเรียนมัลติมีเดียชุดนี้ไปศึกษาทบทวนได้ด้วยตนเองได้ทุกเวลาที่ต้องการ วัตถุประสงค์การวิจัย 1. เพื่อพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่องการนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟสาหรับนักเรียนชั้มัธยมศึกษาปีที่ 1 ให้มี ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนกับคะแนนสอบก่อนเรียน จากบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่องการ นาเสนอข้อมูลด้วยกราฟ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 3. เพื่อหาค่าดัชนีประสิทธิผลจากการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่องการนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟ สาหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 4. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่องการนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟ สมมุติฐานการวิจัย 1. นักเรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่อง การนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน สูงกว่าคะแนนสอบก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญที่ระดับ .05 2. นักเรียนมีความพึงพอใจต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่องการนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟ สาหรับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียเรื่องการนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟ”สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่1 มีประสิทธิภาพ ตามเกณฑ์80/80 2. เป็นแนวทางในการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียในเนื้อหาสาระอื่นๆ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1.บทเรียนมัลติมีเดีย เรื่อง การนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 2.แบบประเมินคุณภาพ บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่อง การนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1โดยผู้เชี่ยวชาญ 3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 4. แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียการนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟ สาหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 วิธีดาเนินการวิจัย 1. ผู้วิจัยนาหนังสือจากศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ถึงผู้อานวยการโรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระ ราชูปถัมภ์ฯเพื่อขอความอนุเคราะห์กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการเก็บข้อมูลรวมถึงขอใช้ห้องคอมพิวเตอร์ในการทดลองจริง
  • 4. 2. ติดต่อประสานงานกับกลุ่มตัวอย่างด้วยตนเองเพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์ และประโยชน์ที่เกิดจากผลการวิจัย 3. การเตรียมสถานที่และเครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือ ห้องคอมพิวเตอร์ ซึ่งในการทดลองจริงได้ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ 1 เครื่อง ต่อนักเรียน 1 คน 4. ให้กลุ่มตัวอย่างทาแบบทดสอบก่อนเรียนจานวน 20 ข้อ มี 4 ตัวเลือก ใช้เวลา 30นาที โดยได้ดาเนินการก่อนเริ่มเรียน บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย 1 สัปดาห์จากนั้นผู้วิจัยจึงชี้แจงให้กลุ่มตัวอย่างทราบถึงกาหนดการเรียนบทเรียน คอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เพื่อให้ผู้เรียนมีความพร้อม 5. ให้กลุ่มตัวอย่างเรียนบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่องการนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟจากคอมพิวเตอร์ พร้อมอุปกรณ์หู ฟังโดยนักเรียนหนึ่งคนต่อคอมพิวเตอร์หนึ่งเครื่องเป็นเวลา 40 นาที 6. เมื่อครบกาหนดตามระยะเวลาให้กลุ่มตัวอย่างทา แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผ่านบทเรียนคอมพิวเตอร์ มัลติมีเดีย จานวน 20 ข้อ มี 4 ตัวเลือก ใช้เวลา40 นาที 7. นาข้อมูลไปหาค่าดัชนีประสิทธิผลของสื่อการสอนมัลติมีเดีย เรื่องการสร้างงานเสนอข้อมูลด้วยกราฟ 8. ให้กลุ่มตัวอย่างทาแบบสอบถามความพึงพอใจที่ผู้วิจัยจัดเตรียมไว้ 9. เก็บรวบรวมข้อมูลจากคะแนนการทดสอบก่อนเรียนกับคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผ่านบทเรียนคอมพิวเตอร์ มัลติมีเดีย และแบบสอบถามความพึงพอใจ 10. นาคะแนนทั้งหมดที่ได้มาทาการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สาเร็จรูป ผลการวิจัย 1. การหาคุณภาพและประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่อง การนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟ สาหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 1.1 ผลการทดสอบหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย กับนักเรียนจานวน30คน หลังจากเรียนผ่านบทเรียน คอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่องการสร้างงานนาเสนอด้วยกราฟ ได้คะแนนแบบฝึกหัดเฉลี่ย คิดเป็นร้อยละ 87.89 และคะแนนวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 84.33 ถือว่าเป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 สรุป ได้ว่าบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย นี้มีประสิทธิภาพสามารถนาไปใช้ในการเรียนการสอนได้ 1.2 การหาคุณภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย รายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี เรื่องการนาเสนอข้อมูลด้วย กราฟ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ผลการหาคุณภาพ โดยรวมมีค่าเฉลี่ย 4.56 อยู่ในระดับดีมาก 2. ผลการเปรียบเทียบคะแนนทดสอบก่อนเรียนกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คะแนนเฉลี่ยของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สูง กว่าคะแนนทดสอบก่อนเรียน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ผลการหาค่าดัชนีประสิทธิผลจากการเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียวิชา คอมพิวเตอร์ เรื่อง การนาเสนอข้อมูล ด้วยกราฟ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1ผู้เรียนมีความก้าวหน้าทางการเรียนเพิ่มขึ้นร้อยละ 69 4. ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการเรียนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่อง การนาเสนอข้อมูล ด้วยกราฟ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1มีความพึงพอใจต่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ มัลติมีเดีย เรื่อง การนาเสนอข้อมูลด้วยกราฟสาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่1โรงเรียนมัธยมวัดใหม่กรงทองในพระ ราชูปถัมภ์ฯ เฉลี่ยอยู่ที่ 4.77 อยู่ในระดับ ดีมาก และค่าคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด
  • 5. ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะทั่วไป 1.ระบบคอมพิวเตอร์ควรจะเป็นมาตรฐานเดียวกันทุกเครื่องให้ครบจานวนนักเรียนทั้ง 50 คนต่อหนึ่งห้องเรียน จะทาให้ นักเรียนสามารถเรียนรู้และรับรู้ได้เท่าเทียมกันเพราะในการเรียนการสอนโดยใช้สื่อมัลติมีเดียผู้เรียนต้องใช้อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์คนละหนึ่งชุดแต่ละคนจะเรียนรู้ด้วยตนเองได้และเท่าเทียมกัน 2. สื่อที่นามาประกอบในบทเรียนควรจะคมชัดมากกว่านี้หรือสร้างให้สามารถลิงค์ไปยัง แหล่งที่มาของข้อมูลได้ ข้อเสนอแนะสาหรับการวิจัยครั้งต่อไป 1. บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย ครั้งต่อไปจะทาลงบนเว็บเพื่อผู้เรียนมีการทางานอย่างเป็นระบบและตรงเวลา และ สามารถสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้อื่นๆ นอกเหนือที่มีในบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียได้ 2. ในการสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย ครั้งต่อไปต้องศึกษาโปรแกรมสาหรับสร้างบทเรียนให้เป็นอย่างดีเพราะใน ปัจจุบันมีโปรแกรมมากมายที่สามารถใช้สร้างบทเรียนมัลติมีเดียได้ซึ่งแต่ละโปรแกรมก็มีข้อดีและข้อเสีย ความยากง่าย แตกต่างกันไป เลือกใช้โปรแกรมที่ไม่มีความซับซ้อนมากแต่สามารถ แทรกสื่อต่างๆได้ตามหลักการสร้างสื่อมัลติมีเดียเพื่อจะได้สื่อมัลติมีเดียที่มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น 3. ผลจากการวิจัยครั้งนี้ จะเป็นแนวทางในการพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย ในวิชาคอมพิวเตอร์ ในเนื้อหาการ สร้างเกมจากโปรแกรมนา เสนอในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 และผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วย ตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • 6. เอกสารอ้างอิง กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). คู่มือการใช้หลักสูตรการศึกษาฉบับพุทธศักราช 2551.กรุงเทพฯ : องค์การค้าคุรุสภา. _______. (2542).ราชบัณฑิตยสถาน พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน.กรุงเทพฯ :นามบุ๊คส์ พับลิเคชั่นส์. _______. (2543). เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม.พิมพ์ครั้งที่ 2.กรุงเทพฯ :อรุณการพิมพ์. _______. (2548). เทคโนโลยีและการสื่อสารเพื่อการศึกษา.กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ์. กาญจนา อรุณสุขรุจี. (2546). ความพึงพอใจของสมาชิกสหกรณ์ต่อการดาเนินงานของสหกรณ์ การเกษตรไชยปราการ จังหวัดเชียงใหม่.วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต. เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. กิดานันท์มลิทอง. (2540).เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม.กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์ชวนพิมพ์. เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2544). e-learning:ยุทธศาสตร์การเรียน.Economy. 1(26): 43. กฤษมันต์ วัฒนาณรงค์. (2542). เทคโนโลยีเทคนิคศึกษา.กรุงเทพฯ :สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ. ครรชิต มาลัยวงศ์. (2536).“มัลติมีเดีย-เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มพูนการเรียนรู้”.วารสารราชบัณฑิตยสถาน. (ฉบับภาคผนวก) จิตรลดา ทองปลี.(2550). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ เรื่องคาศัพท์ “Project : Play& Learn” สาหรับนักเรียนช่วงชั้นที่ 2. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต.กรุงเทพฯ :มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. จิรพัฒน์ ชัยพร. (2539). ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้บทเรียนไฮเปอร์เท็กซ์ วิชาฟิสิกส์ เรื่อง ปรากฎการณ์เสียงของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดสตึก จังหวัดบุรีรัมย์. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ :มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2525). การทดสอบประสิทธิภาพสื่อการสอน. นนทบุรี:สานักเทคโนโลยี การศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ชม ภูมิภาค. (2528). เทคโนโลยีทางการสอนและการศึกษา.กรุงเทพฯ :มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ไชยยศ เรืองสุวรรณ.(2526).เทคโนโลยีทางการศึกษา:หลักการและแนวปฏิบัติ.กรุงเทพฯ : วัฒนาพานิช. ไชยยศ เรืองสุวรรณ.(2546).การบริการสื่อและเทคโนโลยีทางการศึกษา.กรุงเทพฯ :วัฒนาพานิช. ดุสิต มั่นคง. (2551). บทเรียนมัลติมีเดียปฏิสัมพันธ์กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 1 เรื่องการใช้โปรแกรม Microsoft OfficePowerPoint 2007 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1.กาฬสินธุ์: โรงเรียนยางตลาดวิทยาคาร. นุษรา พิมพิค่อ. (2550).บทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดียเรื่อง การเรียนรู้คาศัพท์โดยใช้ปริศนาคาทาย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศกับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5.ปริญญานิพนธ์ การศึกษามหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ :มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. บุญชม ศรีสะอาด. (2553). การวิจัยเบื้องต้น.พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ :สุวีริยาสาส์น. บุญเรียง ขจรศิลป์. (2543). วิธีวิจัยทางการศึกษา.กรุงเทพฯ :คณะศึกษาศาสตร์