SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices)
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา
1. ความเป็นมา
โรงเรียนบ้านยางลาด เป็นโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
เพชรบูรณ์ เขต 1 เปิดสอนในระดับชั้น อนุบาล – ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
มีจำานวนนักเรียนรวม 172 คน
ข้าราชครู 15 คน พนักงานราชการ 2 คน เจ้าหน้าที่ธุรการ 1 คน
นักการภารโรง 1 คน มี
นายสุรเชษฐ์ ยงวณิชย์เป็นผู้อำานวยการโรงเรียน
จากการรายงานผลการดำาเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนใน
ปีการศึกษาที่ผ่านมา การดำาเนินงานดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีการให้
ความร่วมมือกับโรงเรียนในการมาประชุมผู้ปกครองชั้นเรียน การจัด
กิจกรรมผู้ปกครองเครือข่าย-ชุมชนเครือข่าย การสร้างความสัมพันธ์อัน
ดี ระหว่างครูที่ปรึกษากับผู้ปกครอง เพื่อเฝ้าระวังและแก้ไขพฤติกรรมที่
ไม่พึงประสงค์ของนักเรียน ในระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียน
บ้านยางลาด
ตารางที่ 1 แสดงจำานวนของนักเรียน กลุ่มเสี่ยง กลุ่มมี
ปัญหา ในปีการศึกษา 2556
ลำาดั
บที่
ระดับ
ชั้น
จำานวน
นักเรีย
น
จำานวนนักเรียนที่ผ่านการคัดกรอง
กลุ่ม
ปกติ
ร้อย
ละ
กลุ่ม
เสี่ยง
ร้อย
ละ
กลุ่มมี
ปัญหา
ร้อย
ละ
1 อ.1 14 14 100 - - - -
2 อ.2 20 20 100 - - - -
3 ป.1 18
16 88.8
9
2
12.5 - -
4 ป.2 9
8 88.8
9
1
11.1
1
- -
5 ป.3 18
15 83.3
3
3
16.6
6
- -
6 ป.4 12
9 75.0
0
3
25.0
0
- -
7 ป.5 11 11 100 - - - -
8 ป.6 18 17 94.4 1 5.26 - -
4
9 ม.1 16
15 93.7
5
1
6.25 - -
10 ม.2 19 19 100 - - - -
11 ม.3 17
12 70.5
9
5
29.4
1
- -
รวม 172
156 90.7
0
16
9.30 -
จากตารางพบว่า ในปีการศึกษา 2556 จำานวนนักเรียนที่เสี่ยง มี
จำานวนทั้งสิ้น 16 คน 9.30 คิดเป็น
ร้อยละและนักเรียนกลุ่มมีปัญหา มีจำานวนทั้งสิ้น - คน คิดเป็นร้อยละ
0 ของจำานวนนักเรียนทั้งหมด
2. การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
2.1 Flow Chart ระบบ
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล
คัดกรอง
มีปัญหา
ช่วยเหลือ / ส่งต่อ
กิจกรรมโฮมรูม
การประชุมผู้ปกครอง
ใ
ช่
ไม่
ใช่
รายงานผลระบบ
การดูแลช่วยเหลือนักเรียน
2.2 การพัฒนาวิธีการดำาเนินงาน
เมื่อโรงเรียนพบว่า มีนักเรียนที่อยู่ในข่ายเลี่ยงและมีปํญหา จึง
ได้ดำาเนินการดูแลช่วยเหลือแก้ไขทันทีโดยขอความร่วมมือจากทุก
ฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ซึ่งได้แก่ ครูที่ปรึกษา ครูผู้สอน ผู้ปกครอง คณะ
กรรมการสถานศึกษาและชุมชน โดยมีจุดประสงค์ให้โรงเรียนเป็น
สถานศึกษาที่ส่งเสริมให้นักเรียนศึกษาจนจบการศึกษาภาคบังคับ
ทุกคน นักเรียนทุกคนมีความตระหนักรู้ มีความเข้าใจ และสามารถ
ถ่ายทอดอธิบายเรื่องการศึกษาต่อผู้อื่นได้ รวมทั้งการให้นักเรียน
ทุกคนช่วยกันเฝ้าระวัง และเพื่อนช่วยเพื่อนอีกด้วย ทั้งนี้ในการ
ดำาเนินงานดูแลช่วยเหลือแก้ไขนักเรียนให้กลับเข้ามาเรียนจนจบ
การศึกษาภาคบังคับนั้น โรงเรียนได้พัฒนาวิธีการดำาเนินการโดย
ใช้วงจรคุณภาพ (PDCA) ของเดมมิ่ง ดังนี้คือ
P (Plan) การวางระบบ เป็นการกำาหนดขั้นตอนการทำางานที่อาศัย
การมีส่วนร่วมของทุกคนใน
โรงเรียน มีการประชุม ชี้แจงแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง มี
การจัดปรับปรุงวิธีการและบันทึก
มาตรฐาน เพื่อให้การดำาเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของ
โรงเรียนเป็นไปในทิศทางเดียวกัน
อย่างมีเอกภาพ
D (Do) เป็นการปฏิบัติร่วมกันของทุกคนในโรงเรียน ซึ่งได้มาจาก
การร่วมคิด ร่วมมือ ร่วมใจกัน
ด้วยการจัดกิจกรรมครอบคลุมมาตรฐานการดำาเนินการ
C (Check) ดำาเนินการประเมินตนเองโดยเน้นการประเมินทบทวน
ระบบอย่างกัลยาณมิตร และการ
เสนอแนะข้อคิดเห็นเพื่อการพัฒนา จากผู้บริหาร ทีมพัฒนา
คุณภาพ
A (Action) จัดประชุมครูและคณะกรรมการสถานศึกษาเพื่อนำาผล
การประเมินทบทวนมาปรับปรุง
พัฒนาระบบหรือวิธีการดำาเนินการเพื่อมุ่งให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตาม
เป้าหมายความสำาเร็จที่วางไว้
2.3 การจัดกิจกรรม
รูปแบบที่โรงเรียนบ้านยางลาดถือว่าเป็น Best Practices ในปี
2556 คือ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมเพื่อดูแลช่วยเหลือนักเรียนกลุ่มเสี่ยง กลุ่ม
มีปัญหา ด้วยกิจกรรมที่หลากหลาย
ดัง Flow Chart ต่อไปนี้ คือ
Flow chart “การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดและ
อบายมุข”
รู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล ด้วยการ
ใช้เครื่องมือ/
แบบบันทึกต่างๆ
คัดกรองนักเรียน
กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง
กลุ่มมีปัญหา
พัฒนา/ส่งเสริม ป้องกัน/แก้ไข /ช่วย
เหลือ
- กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม ** B.P.**
- กิจกรรมประกวด / แข็งขัน I clean
Model
- การอบรมนักเรียนผู้นำาด้านต่างๆ
- กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน (ลูกเสือ
เนตรนารี กิจกรรมจิตสาธารณะ
โยชน์
ไม่ดี
ภายใน
พฤติกรรม ส่งต่อ
ภายนอก
สรุปผล/รายงาน
สถานศึกษาสี
ขาว
ปลอดยาเสพติดและอบายมุขอย่าง
ยั่งยืน
ดี
I Integratio
n
การบูรณาการ การดำาเนินงานแบบองค์
รวม
C Communi
cation
การสื่อสาร รณรงค์ ประชาสัมพันธ์
อย่างทั่วถึง
L Learning การเรียนรู้ ผ่านการเรียนการสอน
บูรณาการ 8 กลุ่มสาระ
E Environm
ent
การจัดสภาพแวดล้อม น่าดู น่าอยู่ น่า
เรียน ไม่มีพื้นที่เสี่ยง
A Activity การจัดกิจกรรมการสร้างภูมิคุ้มกันและ
การป้องกันที่หลากหลาย
N Network การมีภาคีเครือข่ายในพื้นที่ให้ความ
ร่วมมือและมีส่วนร่วม
ขั้นตอน แนวปฏิบัติ
1. การวางแผน ( P ) 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ
2. กำาหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ตัว
ชี้วัด
ความสำาเร็จ เครื่องมือ วิธี
การ
3. กำาหนดแผนงาน / ปฏิทิน
2. การดำาเนินงาน ( D ) 1. ดำาเนินการตามแผน ที่
กำาหนดไว้ด้วยวิธีการที่
หลากหลายตามสภาพ
จริง
3. การตรวจสอบ (C ) 1. ตรวจสอบติดตาม
2. ประเมินวิเคราะห์ จัดทำารายงาน
4. การปรับปรุงและพัฒนางาน ( A ) 1. นำาผลการประเมินมา
ปรับปรุงและดำาเนินการ
ตามแผนใหม่อย่างต่อ
เนื่อง
3. วิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices)
3.1 อะไรคือวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (What)
สรุปวิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices) การป้องกันและ
แก้ไขปัญหายาเสพติดและอบายมุข
โรงเรียนได้ดำาเนินการ ดังนี้คือ
1.การบูรณาการ การดำาเนินงานแบบองค์
รวม
2.การสื่อสาร รณรงค์ ประชาสัมพันธ์อย่าง
ทั่วถึง
3.การเรียนรู้ ผ่านการเรียนการสอน
บูรณาการ 8 กลุ่มสาระ
4.การจัดสภาพแวดล้อม น่าดู น่าอยู่ น่า
เรียน ไม่มีพื้นที่เสี่ยง
5.การจัดกิจกรรมการสร้างภูมิคุ้มกันและ
การป้องกันที่หลากหลาย
6.การมีภาคีเครือข่ายในพื้นที่ให้ความร่วม
มือและมีส่วนร่วม
3.2 วิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศทำาอย่างไร (How)
1. การบูรณาการ การดำาเนินงานแบบองค์รวม
2. การสื่อสาร รณรงค์ ประชาสัมพันธ์
3. การเรียนรู้ผ่านการเรียนการสอนบูรณาการ 8 กลุ่ม
สาระ
4. การจัดสภาพแวดล้อม น่าดู น่าอยู่ น่าเรียน ไม่มีพื้นที่
เสี่ยง
5. การจัดกิจกรรมสร้างภูมิคุ้มกันและการป้องกันที่กลาก
หลาย
- การสร้างภูมิคุ้มกัน
กิจกรรมการเยี่ยมบ้าน
ประชุมสายสัมพันธ์ผู้ปกครอง
กิจกรรมแนะแนว
กิจกรรมโฮมรูม
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
- การป้องกัน
โครงการโรงเรียนสีขาว (แผนปฏิบัติการโรงเรียน)
โครงสร้างห้องเรียนสีขาว
การจัดห้องเรียนให้น่าดู น่าอยู่ น่าเรียน
แผนบูรณาการยาเสพติด
6. การมีภาคีเครือข่ายในพื้นที่ให้ความร่วมมือและมีส่วน
ร่วม
4.ผลการดำาเนินงาน
วิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ “การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดใน
สถานศึกษา” โดยผ่านกิจกรรม
นักเรียน กิจกรรมเด่นได้ในทางที่ถนัด ส่งผลให้จำานวนนักเรียนที่อยู่ใน
กลุ่มเสี่ยง ลดลงตามตัวชี้วัดของระบบ ดังตาราง
ตารางที่ 2 แสดงผลที่ได้จากการช่วยเหลือนักเรียนกลุ่มเสี่ยง กลุ่มมี
ปัญหา
ลำาดับ
ที่
รายการ
ผลการดำาเนินงาน
จำานวน ร้อยละ
1 ผลที่ได้จากการคัดกรอง 16 คน 9.30
นักเรียน
2
ผลที่ได้จากการช่วยเหลือ
- นักเรียนมาเรียนจนจบ
หลักสูตร
172 คน 100
3
ผู้ปกครองพึงพอใจในการช่วย
เหลือนักเรียน
172 คน 87.50
ข้อมูล ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2556
- จากตาราง โรงเรียนสามารถช่วยเหลือนักเรียนกลุ่มเสี่ยง
กลุ่มมีปัญหามาเรียนในสถานศึกษาจนจบภาคบังคับ จำานวน 3 คน
คิดเป็นร้อยละ 100
5. ปัจจัยที่เอื้อต่อความสำาเร็จ
โรงเรียนบ้านยางลาด ประสบผลสำาเร็จในการดำาเนินงานตามระบบ
ดูแลช่วยเหลือนักเรียนเนื่องจากมีปัจจัยที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงานดังนี้
5.1 ผู้บริหารให้การสนับสนุนด้านขวัญและกำาลังใจ แนะนำา
กำากับติดตาม และร่วมกันประเมินผลการดำาเนินงาน
5.2 ครูทุกคนทุ่มเทกำาลังใจ กำาลังกาย ในการปฏิบัติงาน
5.3 ผู้ปกครองให้ความร่วมมือในการกำากับ ติดตาม และแก้ไข
ปัญหาของบุตรหลานเป็น อย่างดี
5.4 ชุมชน และผู้นำาท้องถิ่น ให้การสนับสนุนและ มีส่วนร่วมและ
ให้ความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาต่างๆ ของนักเรียน
5.5 อัตราส่วนของครู : นักเรียน คือ 1 : 20 ส่งผลให้ครูประจำาชั้น
ทุกคนดูแลนักเรียนในระดับชั้นที่ตนเองรับผิดชอบอย่างทั่วถึง
ปัญหาหรือพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมที่นักเรียนแสดงออกจะได้รับ
การดูแลและแก้ไขอย่างเหมาะสมทันเวลา
6.ผลการดำาเนินงาน
1. แต่งตั้งคณะกรรมการ
2. กำาหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ตัวชี้วัด ความสำาเร็จ เครื่องมือ
วิธีการ
3. กำาหนดแผนงาน / ปฏิทิน
4. ดำาเนินการตามแผน ที่กำาหนดไว้ด้วยวิธีการที่หลากหลายตาม
สภาพจริง
5. ตรวจสอบติดตาม
6. ประเมินวิเคราะห์ จัดทำารายงาน
7. นำาผลการประเมินมาปรับปรุงและดำาเนินการ ตามแผนใหม่
อย่างต่อเนื่อง
วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best
Practices)
ระบบดูแลช่วยเหลือ
นักเรียน
การป้องกันและแก้ไขปัญหายา
เสพติดในสถานศึกษา
โรงเรียนบ้านยางลาด
สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถม
ศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1

More Related Content

What's hot

Best practices
Best practicesBest practices
Best practicesthkitiya
 
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยาWorrachet Boonyong
 
Utq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผลUtq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผลkrusoon1103
 
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3Yodhathai Reesrikom
 
Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์nang_phy29
 
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณบทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณKobwit Piriyawat
 
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียนUtq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียนkrusoon1103
 
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นBest practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นatunya2530
 
สังเกตชั้นเรียน
สังเกตชั้นเรียนสังเกตชั้นเรียน
สังเกตชั้นเรียนWiparat Khangate
 
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอน
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอนการนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอน
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอนPrachyanun Nilsook
 
การศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลการศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลdtschool
 
งานนำเสนอ สามบทครูเดียว การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา
งานนำเสนอ สามบทครูเดียว การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษางานนำเสนอ สามบทครูเดียว การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา
งานนำเสนอ สามบทครูเดียว การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษาWeerachat Martluplao
 

What's hot (20)

Uprightschool
UprightschoolUprightschool
Uprightschool
 
Plan 4
Plan 4Plan 4
Plan 4
 
Best practices
Best practicesBest practices
Best practices
 
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยา
 
W 2
W 2W 2
W 2
 
Utq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผลUtq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผล
 
Ea5103
Ea5103Ea5103
Ea5103
 
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
 
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการนโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
 
Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์Swot1 ผลวิเคราะห์
Swot1 ผลวิเคราะห์
 
Best practices
Best practicesBest practices
Best practices
 
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณบทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
 
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียนUtq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
Utq 220ระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน
 
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นBest practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
 
สังเกตชั้นเรียน
สังเกตชั้นเรียนสังเกตชั้นเรียน
สังเกตชั้นเรียน
 
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอน
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอนการนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอน
การนำผลการประเมินมาปรับปรุงเทคนิคการสอน
 
Qa 3
Qa 3Qa 3
Qa 3
 
2222222
22222222222222
2222222
 
การศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลการศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกล
 
งานนำเสนอ สามบทครูเดียว การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา
งานนำเสนอ สามบทครูเดียว การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษางานนำเสนอ สามบทครูเดียว การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา
งานนำเสนอ สามบทครูเดียว การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา
 

Viewers also liked

ผลงานนักเรียนกิจกรรมสร้างสรรค์
ผลงานนักเรียนกิจกรรมสร้างสรรค์ผลงานนักเรียนกิจกรรมสร้างสรรค์
ผลงานนักเรียนกิจกรรมสร้างสรรค์krupornpana55
 
ไฟล์วิเคราะห์หลักสูตรหน่วยบูรณาการ
ไฟล์วิเคราะห์หลักสูตรหน่วยบูรณาการไฟล์วิเคราะห์หลักสูตรหน่วยบูรณาการ
ไฟล์วิเคราะห์หลักสูตรหน่วยบูรณาการkrupornpana55
 
เผยแพร่รูปแบบ
เผยแพร่รูปแบบเผยแพร่รูปแบบ
เผยแพร่รูปแบบkrupornpana55
 
3คำสั่งร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.
3คำสั่งร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.3คำสั่งร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.
3คำสั่งร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.krupornpana55
 
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56krupornpana55
 
ผลงานที่ภาคภูมิใจของตนเอง
ผลงานที่ภาคภูมิใจของตนเองผลงานที่ภาคภูมิใจของตนเอง
ผลงานที่ภาคภูมิใจของตนเองkrupornpana55
 
ไฟล์วิเคราะห์หลักสูตรหน่วยบูรณาการแนวนอน
ไฟล์วิเคราะห์หลักสูตรหน่วยบูรณาการแนวนอนไฟล์วิเคราะห์หลักสูตรหน่วยบูรณาการแนวนอน
ไฟล์วิเคราะห์หลักสูตรหน่วยบูรณาการแนวนอนkrupornpana55
 
ไฟล์กิจกรรมสร้างสรรค์
ไฟล์กิจกรรมสร้างสรรค์ไฟล์กิจกรรมสร้างสรรค์
ไฟล์กิจกรรมสร้างสรรค์krupornpana55
 
1ปกเอกสารประกอบ
1ปกเอกสารประกอบ1ปกเอกสารประกอบ
1ปกเอกสารประกอบkrupornpana55
 
4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม 4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม krupornpana55
 
ปกซ๊ดีแบบยาว
ปกซ๊ดีแบบยาวปกซ๊ดีแบบยาว
ปกซ๊ดีแบบยาวkrupornpana55
 
สื่อ ประกอบบทเรียน
สื่อ ประกอบบทเรียนสื่อ ประกอบบทเรียน
สื่อ ประกอบบทเรียนkrupornpana55
 
หลักปรัชญา ศก พอเพียง
หลักปรัชญา ศก พอเพียงหลักปรัชญา ศก พอเพียง
หลักปรัชญา ศก พอเพียงkrupornpana55
 
2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรมkrupornpana55
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงkrupornpana55
 
2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอ2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอkrupornpana55
 

Viewers also liked (20)

Booking54
Booking54Booking54
Booking54
 
ผลงานนักเรียนกิจกรรมสร้างสรรค์
ผลงานนักเรียนกิจกรรมสร้างสรรค์ผลงานนักเรียนกิจกรรมสร้างสรรค์
ผลงานนักเรียนกิจกรรมสร้างสรรค์
 
ไฟล์วิเคราะห์หลักสูตรหน่วยบูรณาการ
ไฟล์วิเคราะห์หลักสูตรหน่วยบูรณาการไฟล์วิเคราะห์หลักสูตรหน่วยบูรณาการ
ไฟล์วิเคราะห์หลักสูตรหน่วยบูรณาการ
 
เผยแพร่รูปแบบ
เผยแพร่รูปแบบเผยแพร่รูปแบบ
เผยแพร่รูปแบบ
 
3คำสั่งร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.
3คำสั่งร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.3คำสั่งร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.
3คำสั่งร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ.
 
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
 
ผลงานที่ภาคภูมิใจของตนเอง
ผลงานที่ภาคภูมิใจของตนเองผลงานที่ภาคภูมิใจของตนเอง
ผลงานที่ภาคภูมิใจของตนเอง
 
ไฟล์วิเคราะห์หลักสูตรหน่วยบูรณาการแนวนอน
ไฟล์วิเคราะห์หลักสูตรหน่วยบูรณาการแนวนอนไฟล์วิเคราะห์หลักสูตรหน่วยบูรณาการแนวนอน
ไฟล์วิเคราะห์หลักสูตรหน่วยบูรณาการแนวนอน
 
ไฟล์กิจกรรมสร้างสรรค์
ไฟล์กิจกรรมสร้างสรรค์ไฟล์กิจกรรมสร้างสรรค์
ไฟล์กิจกรรมสร้างสรรค์
 
1ปกเอกสารประกอบ
1ปกเอกสารประกอบ1ปกเอกสารประกอบ
1ปกเอกสารประกอบ
 
29หลัก 3 rs
29หลัก 3 rs29หลัก 3 rs
29หลัก 3 rs
 
4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม 4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม
 
ปกซ๊ดีแบบยาว
ปกซ๊ดีแบบยาวปกซ๊ดีแบบยาว
ปกซ๊ดีแบบยาว
 
สื่อ ประกอบบทเรียน
สื่อ ประกอบบทเรียนสื่อ ประกอบบทเรียน
สื่อ ประกอบบทเรียน
 
1ปก
1ปก1ปก
1ปก
 
หลักปรัชญา ศก พอเพียง
หลักปรัชญา ศก พอเพียงหลักปรัชญา ศก พอเพียง
หลักปรัชญา ศก พอเพียง
 
หลัก 3 r
หลัก 3 rหลัก 3 r
หลัก 3 r
 
2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
 
2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอ2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอ
 

Similar to Bp

จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4Suwakhon Phus
 
กรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
กรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนกรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
กรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนครูแชมป์ ฟักอ่อน
 
จุดเน้นที่ 4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
จุดเน้นที่  4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืนจุดเน้นที่  4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
จุดเน้นที่ 4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืนโรงเรียนมหาธิคุณวิทยา
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาan1030
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1bb5311600637
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมAiphie Sonia Haji
 
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docxรายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docxweskaew yodmongkol
 
1328 4012-1-sm
1328 4012-1-sm1328 4012-1-sm
1328 4012-1-smSovath123
 
1328 4012-1-sm
1328 4012-1-sm1328 4012-1-sm
1328 4012-1-smSovath123
 
ผลงานวิชาการ ผอ.สมเกียรติ พาณิชญ์กิจเจริญ
ผลงานวิชาการ ผอ.สมเกียรติ  พาณิชญ์กิจเจริญผลงานวิชาการ ผอ.สมเกียรติ  พาณิชญ์กิจเจริญ
ผลงานวิชาการ ผอ.สมเกียรติ พาณิชญ์กิจเจริญPrasong Somarat
 
รายงานผลการสังเคราะห์
รายงานผลการสังเคราะห์รายงานผลการสังเคราะห์
รายงานผลการสังเคราะห์prsaowalak
 
นำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trash
นำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trashนำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trash
นำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trashกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความร่วมมือในการจัดการศึกษาภาคปฏิบัติในชุมชน
การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความร่วมมือในการจัดการศึกษาภาคปฏิบัติในชุมชนการพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความร่วมมือในการจัดการศึกษาภาคปฏิบัติในชุมชน
การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความร่วมมือในการจัดการศึกษาภาคปฏิบัติในชุมชนYumisnow Manoratch
 

Similar to Bp (20)

จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4
 
25713 1
25713 125713 1
25713 1
 
2
22
2
 
กรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
กรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนกรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
กรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
 
จุดเน้นที่ 4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
จุดเน้นที่  4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืนจุดเน้นที่  4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
จุดเน้นที่ 4 พัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างยั่งยืน
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
Id plan
Id planId plan
Id plan
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษา
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
จุดเน้นที่ 1
จุดเน้นที่ 1จุดเน้นที่ 1
จุดเน้นที่ 1
 
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docxรายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
 
1328 4012-1-sm
1328 4012-1-sm1328 4012-1-sm
1328 4012-1-sm
 
1328 4012-1-sm
1328 4012-1-sm1328 4012-1-sm
1328 4012-1-sm
 
ผลงานวิชาการ ผอ.สมเกียรติ พาณิชญ์กิจเจริญ
ผลงานวิชาการ ผอ.สมเกียรติ  พาณิชญ์กิจเจริญผลงานวิชาการ ผอ.สมเกียรติ  พาณิชญ์กิจเจริญ
ผลงานวิชาการ ผอ.สมเกียรติ พาณิชญ์กิจเจริญ
 
รายงานผลการสังเคราะห์
รายงานผลการสังเคราะห์รายงานผลการสังเคราะห์
รายงานผลการสังเคราะห์
 
นำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trash
นำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trashนำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trash
นำเสนองานโรงเรียนสุจริต โรงเรียนถนนหักพิทยาคม The trash
 
การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความร่วมมือในการจัดการศึกษาภาคปฏิบัติในชุมชน
การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความร่วมมือในการจัดการศึกษาภาคปฏิบัติในชุมชนการพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความร่วมมือในการจัดการศึกษาภาคปฏิบัติในชุมชน
การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมความร่วมมือในการจัดการศึกษาภาคปฏิบัติในชุมชน
 

Bp

  • 1. วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices) ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา 1. ความเป็นมา โรงเรียนบ้านยางลาด เป็นโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เพชรบูรณ์ เขต 1 เปิดสอนในระดับชั้น อนุบาล – ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีจำานวนนักเรียนรวม 172 คน ข้าราชครู 15 คน พนักงานราชการ 2 คน เจ้าหน้าที่ธุรการ 1 คน นักการภารโรง 1 คน มี นายสุรเชษฐ์ ยงวณิชย์เป็นผู้อำานวยการโรงเรียน จากการรายงานผลการดำาเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนใน ปีการศึกษาที่ผ่านมา การดำาเนินงานดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีการให้ ความร่วมมือกับโรงเรียนในการมาประชุมผู้ปกครองชั้นเรียน การจัด กิจกรรมผู้ปกครองเครือข่าย-ชุมชนเครือข่าย การสร้างความสัมพันธ์อัน ดี ระหว่างครูที่ปรึกษากับผู้ปกครอง เพื่อเฝ้าระวังและแก้ไขพฤติกรรมที่ ไม่พึงประสงค์ของนักเรียน ในระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของโรงเรียน บ้านยางลาด ตารางที่ 1 แสดงจำานวนของนักเรียน กลุ่มเสี่ยง กลุ่มมี ปัญหา ในปีการศึกษา 2556 ลำาดั บที่ ระดับ ชั้น จำานวน นักเรีย น จำานวนนักเรียนที่ผ่านการคัดกรอง กลุ่ม ปกติ ร้อย ละ กลุ่ม เสี่ยง ร้อย ละ กลุ่มมี ปัญหา ร้อย ละ 1 อ.1 14 14 100 - - - - 2 อ.2 20 20 100 - - - - 3 ป.1 18 16 88.8 9 2 12.5 - - 4 ป.2 9 8 88.8 9 1 11.1 1 - - 5 ป.3 18 15 83.3 3 3 16.6 6 - - 6 ป.4 12 9 75.0 0 3 25.0 0 - - 7 ป.5 11 11 100 - - - - 8 ป.6 18 17 94.4 1 5.26 - -
  • 2. 4 9 ม.1 16 15 93.7 5 1 6.25 - - 10 ม.2 19 19 100 - - - - 11 ม.3 17 12 70.5 9 5 29.4 1 - - รวม 172 156 90.7 0 16 9.30 - จากตารางพบว่า ในปีการศึกษา 2556 จำานวนนักเรียนที่เสี่ยง มี จำานวนทั้งสิ้น 16 คน 9.30 คิดเป็น ร้อยละและนักเรียนกลุ่มมีปัญหา มีจำานวนทั้งสิ้น - คน คิดเป็นร้อยละ 0 ของจำานวนนักเรียนทั้งหมด 2. การพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน 2.1 Flow Chart ระบบ ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน รู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล คัดกรอง มีปัญหา ช่วยเหลือ / ส่งต่อ กิจกรรมโฮมรูม การประชุมผู้ปกครอง ใ ช่ ไม่ ใช่
  • 4.
  • 5.
  • 6. 2.2 การพัฒนาวิธีการดำาเนินงาน เมื่อโรงเรียนพบว่า มีนักเรียนที่อยู่ในข่ายเลี่ยงและมีปํญหา จึง ได้ดำาเนินการดูแลช่วยเหลือแก้ไขทันทีโดยขอความร่วมมือจากทุก ฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ซึ่งได้แก่ ครูที่ปรึกษา ครูผู้สอน ผู้ปกครอง คณะ กรรมการสถานศึกษาและชุมชน โดยมีจุดประสงค์ให้โรงเรียนเป็น สถานศึกษาที่ส่งเสริมให้นักเรียนศึกษาจนจบการศึกษาภาคบังคับ ทุกคน นักเรียนทุกคนมีความตระหนักรู้ มีความเข้าใจ และสามารถ ถ่ายทอดอธิบายเรื่องการศึกษาต่อผู้อื่นได้ รวมทั้งการให้นักเรียน ทุกคนช่วยกันเฝ้าระวัง และเพื่อนช่วยเพื่อนอีกด้วย ทั้งนี้ในการ ดำาเนินงานดูแลช่วยเหลือแก้ไขนักเรียนให้กลับเข้ามาเรียนจนจบ การศึกษาภาคบังคับนั้น โรงเรียนได้พัฒนาวิธีการดำาเนินการโดย ใช้วงจรคุณภาพ (PDCA) ของเดมมิ่ง ดังนี้คือ P (Plan) การวางระบบ เป็นการกำาหนดขั้นตอนการทำางานที่อาศัย การมีส่วนร่วมของทุกคนใน โรงเรียน มีการประชุม ชี้แจงแลกเปลี่ยนเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง มี การจัดปรับปรุงวิธีการและบันทึก มาตรฐาน เพื่อให้การดำาเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของ โรงเรียนเป็นไปในทิศทางเดียวกัน
  • 7. อย่างมีเอกภาพ D (Do) เป็นการปฏิบัติร่วมกันของทุกคนในโรงเรียน ซึ่งได้มาจาก การร่วมคิด ร่วมมือ ร่วมใจกัน ด้วยการจัดกิจกรรมครอบคลุมมาตรฐานการดำาเนินการ C (Check) ดำาเนินการประเมินตนเองโดยเน้นการประเมินทบทวน ระบบอย่างกัลยาณมิตร และการ เสนอแนะข้อคิดเห็นเพื่อการพัฒนา จากผู้บริหาร ทีมพัฒนา คุณภาพ A (Action) จัดประชุมครูและคณะกรรมการสถานศึกษาเพื่อนำาผล การประเมินทบทวนมาปรับปรุง พัฒนาระบบหรือวิธีการดำาเนินการเพื่อมุ่งให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตาม เป้าหมายความสำาเร็จที่วางไว้ 2.3 การจัดกิจกรรม รูปแบบที่โรงเรียนบ้านยางลาดถือว่าเป็น Best Practices ในปี 2556 คือ ขั้นตอนการจัดกิจกรรมเพื่อดูแลช่วยเหลือนักเรียนกลุ่มเสี่ยง กลุ่ม มีปัญหา ด้วยกิจกรรมที่หลากหลาย ดัง Flow Chart ต่อไปนี้ คือ
  • 8. Flow chart “การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดและ อบายมุข” รู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล ด้วยการ ใช้เครื่องมือ/ แบบบันทึกต่างๆ คัดกรองนักเรียน กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มมีปัญหา พัฒนา/ส่งเสริม ป้องกัน/แก้ไข /ช่วย เหลือ - กิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม ** B.P.** - กิจกรรมประกวด / แข็งขัน I clean Model - การอบรมนักเรียนผู้นำาด้านต่างๆ - กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน (ลูกเสือ เนตรนารี กิจกรรมจิตสาธารณะ โยชน์ ไม่ดี
  • 10. I Integratio n การบูรณาการ การดำาเนินงานแบบองค์ รวม C Communi cation การสื่อสาร รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ อย่างทั่วถึง L Learning การเรียนรู้ ผ่านการเรียนการสอน บูรณาการ 8 กลุ่มสาระ E Environm ent การจัดสภาพแวดล้อม น่าดู น่าอยู่ น่า เรียน ไม่มีพื้นที่เสี่ยง A Activity การจัดกิจกรรมการสร้างภูมิคุ้มกันและ การป้องกันที่หลากหลาย N Network การมีภาคีเครือข่ายในพื้นที่ให้ความ ร่วมมือและมีส่วนร่วม
  • 12. 1. การวางแผน ( P ) 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ 2. กำาหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ตัว ชี้วัด ความสำาเร็จ เครื่องมือ วิธี การ 3. กำาหนดแผนงาน / ปฏิทิน 2. การดำาเนินงาน ( D ) 1. ดำาเนินการตามแผน ที่ กำาหนดไว้ด้วยวิธีการที่ หลากหลายตามสภาพ จริง 3. การตรวจสอบ (C ) 1. ตรวจสอบติดตาม 2. ประเมินวิเคราะห์ จัดทำารายงาน 4. การปรับปรุงและพัฒนางาน ( A ) 1. นำาผลการประเมินมา ปรับปรุงและดำาเนินการ ตามแผนใหม่อย่างต่อ เนื่อง 3. วิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices) 3.1 อะไรคือวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (What) สรุปวิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices) การป้องกันและ แก้ไขปัญหายาเสพติดและอบายมุข โรงเรียนได้ดำาเนินการ ดังนี้คือ 1.การบูรณาการ การดำาเนินงานแบบองค์ รวม 2.การสื่อสาร รณรงค์ ประชาสัมพันธ์อย่าง ทั่วถึง 3.การเรียนรู้ ผ่านการเรียนการสอน บูรณาการ 8 กลุ่มสาระ 4.การจัดสภาพแวดล้อม น่าดู น่าอยู่ น่า เรียน ไม่มีพื้นที่เสี่ยง 5.การจัดกิจกรรมการสร้างภูมิคุ้มกันและ การป้องกันที่หลากหลาย 6.การมีภาคีเครือข่ายในพื้นที่ให้ความร่วม มือและมีส่วนร่วม
  • 13. 3.2 วิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศทำาอย่างไร (How) 1. การบูรณาการ การดำาเนินงานแบบองค์รวม 2. การสื่อสาร รณรงค์ ประชาสัมพันธ์ 3. การเรียนรู้ผ่านการเรียนการสอนบูรณาการ 8 กลุ่ม สาระ 4. การจัดสภาพแวดล้อม น่าดู น่าอยู่ น่าเรียน ไม่มีพื้นที่ เสี่ยง 5. การจัดกิจกรรมสร้างภูมิคุ้มกันและการป้องกันที่กลาก หลาย - การสร้างภูมิคุ้มกัน กิจกรรมการเยี่ยมบ้าน ประชุมสายสัมพันธ์ผู้ปกครอง กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมโฮมรูม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน - การป้องกัน โครงการโรงเรียนสีขาว (แผนปฏิบัติการโรงเรียน) โครงสร้างห้องเรียนสีขาว การจัดห้องเรียนให้น่าดู น่าอยู่ น่าเรียน แผนบูรณาการยาเสพติด 6. การมีภาคีเครือข่ายในพื้นที่ให้ความร่วมมือและมีส่วน ร่วม 4.ผลการดำาเนินงาน วิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศ “การป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดใน สถานศึกษา” โดยผ่านกิจกรรม นักเรียน กิจกรรมเด่นได้ในทางที่ถนัด ส่งผลให้จำานวนนักเรียนที่อยู่ใน กลุ่มเสี่ยง ลดลงตามตัวชี้วัดของระบบ ดังตาราง ตารางที่ 2 แสดงผลที่ได้จากการช่วยเหลือนักเรียนกลุ่มเสี่ยง กลุ่มมี ปัญหา ลำาดับ ที่ รายการ ผลการดำาเนินงาน จำานวน ร้อยละ 1 ผลที่ได้จากการคัดกรอง 16 คน 9.30
  • 14. นักเรียน 2 ผลที่ได้จากการช่วยเหลือ - นักเรียนมาเรียนจนจบ หลักสูตร 172 คน 100 3 ผู้ปกครองพึงพอใจในการช่วย เหลือนักเรียน 172 คน 87.50 ข้อมูล ณ วันที่ 30 ธันวาคม 2556 - จากตาราง โรงเรียนสามารถช่วยเหลือนักเรียนกลุ่มเสี่ยง กลุ่มมีปัญหามาเรียนในสถานศึกษาจนจบภาคบังคับ จำานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 100 5. ปัจจัยที่เอื้อต่อความสำาเร็จ โรงเรียนบ้านยางลาด ประสบผลสำาเร็จในการดำาเนินงานตามระบบ ดูแลช่วยเหลือนักเรียนเนื่องจากมีปัจจัยที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงานดังนี้ 5.1 ผู้บริหารให้การสนับสนุนด้านขวัญและกำาลังใจ แนะนำา กำากับติดตาม และร่วมกันประเมินผลการดำาเนินงาน 5.2 ครูทุกคนทุ่มเทกำาลังใจ กำาลังกาย ในการปฏิบัติงาน 5.3 ผู้ปกครองให้ความร่วมมือในการกำากับ ติดตาม และแก้ไข ปัญหาของบุตรหลานเป็น อย่างดี 5.4 ชุมชน และผู้นำาท้องถิ่น ให้การสนับสนุนและ มีส่วนร่วมและ ให้ความร่วมมือในการแก้ไขปัญหาต่างๆ ของนักเรียน 5.5 อัตราส่วนของครู : นักเรียน คือ 1 : 20 ส่งผลให้ครูประจำาชั้น ทุกคนดูแลนักเรียนในระดับชั้นที่ตนเองรับผิดชอบอย่างทั่วถึง ปัญหาหรือพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมที่นักเรียนแสดงออกจะได้รับ การดูแลและแก้ไขอย่างเหมาะสมทันเวลา 6.ผลการดำาเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ 2. กำาหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ตัวชี้วัด ความสำาเร็จ เครื่องมือ วิธีการ 3. กำาหนดแผนงาน / ปฏิทิน 4. ดำาเนินการตามแผน ที่กำาหนดไว้ด้วยวิธีการที่หลากหลายตาม สภาพจริง 5. ตรวจสอบติดตาม 6. ประเมินวิเคราะห์ จัดทำารายงาน