SlideShare a Scribd company logo
10. เครื่องมือสร้างและจัดการสัญญามัลติมีเดียแบบปลอดภัย 
Secured Multimedia Contract Tools 
ณัฐวุฒิ ศรีวิบูลย์ และ สมนึก พ่วงพรพิทักษ์* 
วิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 
sak1117@hotmail.com, somnuk.p@msu.ac.th 
บทคัดย่อ 
เนื่องจากความสาคัญของสัญญาอิเล็กทรอนิกส์ต่อระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ผู้วิจัยจึงได้นาเสนอการออกแบบโครงสร้าง XML เพื่อใช้ในการทาสัญญาอิเล็กทรอนิกส์ให้ปลอดภัยและมีความสามารถทางด้านมัลติมีเดีย ในงานวิจัยก่อนหน้านี้ [1] ในงานวิจัยนี้ ผู้วิจัยจึงได้พัฒนาซอฟต์แวร์สาหรับสนับสนุนสัญญาอิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดียอย่างปลอดภัยดังกล่าวขึ้นเป็น ตัวต้นแบบสมบูรณ์และทา การทดสอบประสิทธิภาพ ผลการทดสอบพบว่ามีประสิทธิผลทั้งทางด้านความปลอดภัยตาม ข้อกาหนดของพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย และด้านความสามารถทางมัลติมีเดียของ 
สัญญายุคใหม่ ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นนี้จะได้เป็นเครื่องมือที่มีประโยชน์ต่อวงการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของไทยต่อไป 
Abstract 
Due to the significance of an e-contract for e-commerce system,we have proposed a new design of an XML structure for 
secured multimedia contract [1] in the previous work. In thispaper, we implement and evaluate a tool to create and verify thesecured multimedia contract using JAVA and open-sourcesoftware. The performance shows the effectiveness in terms ofboth security according to the Electronic Transaction Acts ofThailand and multimedia-richness. This software would be a veryuseful tool to support Thai e-commerce. 
1. บทนา ที่มาและแรงจูงใจของปัญหา 
ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีของเครือข่ายอินเทอร์เน็ตทาให้ลดข้อจากัดของวันเวลาและสถานที่ในการประกอบ 
ธุรกรรมลง นั้นคือการดาเนินธุรกรรมในรูปแบบเดิมที่การทาสัญญาระหว่างคู่สัญญาจะต้องเดินทางไปยังสถานที่เดียวกัน 
เพื่อทาสัญญาโดยไม่ให้เกิดการปลอมแปลงทางด้านเอกสารข้อจากัดเหล่านี้ได้ลดลงไป คู่สัญญาที่ต้องการทาสัญญา 
สามารถทา สัญญาจากที่ใดก็ได้โดยผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ในระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมา รัฐบาลให้ความสาคัญใน การสนับสนุนผู้ประกอบการให้นาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์มาใช้ในการดาเนินธุรกิจของแต่ละคน จากการสารวจข้อมูลของ บริษัท International Data Corporation [2]ได้ประมาณมูลค่าการค้าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พบว่า ประเทศไทย มีมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 50,920 ล้านบาท ซึ่งแสดงถึงความก้าวหน้าใน 
ธุรกิจพาณิชย์จากการศึกษาก่อนหน้านี้โดย นนทกา บัวขมและคณะฯ[3] รวมถึง จรัญญู เครือแวงมนต์ และคณะฯ [4] ได้ พบว่ามีรูปแบบของ XML หลายตัวที่สามารถนามาออกแบบเป็นโครงสร้างของสัญญาอิเล็กทรอนิกส์ที่เหมาะสมได้ โดยใน 
งานวิจัยดังกล่าว ได้นา Legal XML [7], Digital SignatureXML [8] และ XML Encryption [9] มาผสมผสาน และออกแบบ เป็นโครงสร้างสัญญาอิเล็กทรอนิกส์ พร้อมกับพัฒนาระบบต้นแบบในการสร้างและตรวจสอบสัญญาอิเล็กทรอนิกส์ 
รวมถึงการออกแบบโครงสร้างของสัญญาให้สามารถสนับสนุนการทาสัญญาในรูปแบบมัลติมีเดียแต่ว่าโครงสร้างสัญญา อิเล็กทรอนิกส์ที่ได้ออกแบบมานั้นพบว่า การนาสื่อมัลติมีเดีย หรือสื่อรูปแบบใหม่ๆ เข้าไปผนวกในสัญญารวมถึง ตัวช่วย สร้างสัญญาในการจัดการกับRich Text Format ยังไม่มีความสมบูรณ์ นอกจากนี้ สัญญาอิเล็กทรอนิกส์ และโปรแกรม ต้นแบบ ที่สร้างขึ้นโดยงานวิจัยก่อนหน้านี้ [3] รวมถึง [4] นั้น ยังไม่สมบูรณ์ เพราะ ใน 
กระบวนการลงลายมือชื่อดิจิทัลนั้น ยังขาดระบบมาสนับสนุนการรับรองวัน - เวลาในการทาสัญญา ดังนั้น จึงพัฒนาระบบ 
ต้นแบบเพื่อรับรองวัน - เวลาในการทาสัญญา ให้กับบุคคล
หรือ องค์กรต่างๆ โดยระบบต้นแบบที่พัฒนาขึ้นนี้ จะเป็นต้นแบบที่หน่วยงานของรัฐ (เช่น หน่วยงานทางราชการของ 
ไทยที่รับผิดชอบ) สามารถนาไปใช้งานได้จริง รวมถึงการออกแบบระบบการเพิกถอนใบรับรองให้กับบุคคล หรือ องค์กร ต่างๆ ในกรณีที่กุญแจส่วนตัวของผู้ทาสัญญาเกิดปัญหาต่าง ๆเช่น กุญแจส่วนตัวหาย หรือถูกขโมย เป็นต้น 
ระบบตรวจสอบความถูกต้องของลายมือชื่อและยืนยันตัวตนผู้ลงนาม มี(Online) มี(Online)และปรับปรุง 
ให้ดีขึ้นระบบแจ้งเตือนหากคู่สัญญาขอเปลี่ยนแปลงข้อมูลเกี่ยวกับสัญญามี มี และปรับปรุงให้ดีขึ้น 
การทาสัญญาบนระบบออนไลน์มี มี และปรับปรุงให้ดีขึ้นระบบจัดเก็บกุญแจสาธารณะและจัดทาใบรับรองอิเล็กทรอนิกส์ มี มี และปรับปรุงให้ดีขึ้นมีระบบ Certificate Authority มี มี และปรับปรุงให้ดีขึ้นระบบช่วยสร้างสัญญาแบบมัลติมีเดียไม่ สมบูรณ์ แก้ไขให้สมบูรณ์ระบบการลงลายมือชื่อของนิติบุคคลไม่สมบูรณ์ แก้ไขให้สมบูรณ์ระบบ CertificateRevocation Processไม่สมบูรณ์ แก้ไขให้สมบูรณ์ระบบ RegisterAuthenticationsไม่มี พัฒนาให้สมบูรณ์ระบบออก และพิสูจน์ตรา ประทับวัน – เวลาไม่มี พัฒนาให้สมบูรณ์ 
2. งานและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 
2.1 พรบ.ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544การทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ เติบโตอย่างรวดเร็ว โดยก่อน 
หน้านี้ยังไม่มีกฎหมายรองรับ จนกระทั้งปี พ.ศ. 2544 รัฐบาลได้ทาการผ่านร่างพระราชบัญญัติกฎหมายว่าด้วยการทา 
ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์เข้ามารองรับ โดยรับรองว่าการทาสัญญาที่มีรูปแบบเป็นอิเล็กทรอนิกส์ก็สามารถให้ใช้บังคับได้ 
เช่นเดียวกับสัญญาที่เป็นลายลักษณ์อักษรอยู่บนกระดาษ ผู้ลงนามจะไม่สามารถปฏิเสธความรับผิดชอบได้ จากสัญญา 
อิเล็กทรอนิกส์ และระบบช่วยจัดการสัญญาอิเล็กทรอนิกส์ ที่ได้นาเสนอก่อนหน้านี้[3][4] น่าจะสามารถที่จะทาได้ตาม 
พระราชบัญญัติ แต่ว่างานวิจัยที่พัฒนาก่อนหน้านี้ยังขาดระบบที่ช่วยรับรองลายมือชื่อดิจิทัล และกุญแจสาธารณะให้ 
ถูกต้องตามพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์พ.ศ. 2544 ซึ่งเป็นส่วนสาคัญให้กฎหมายสามารถบังคับได้จริง 
2.2 GNU Privacy Guard [5] 
GNU Privacy Guard หรือที่เรียกว่า GnuPG เป็นโปรแกรมในการเข้ารหัสข้อมูลเพื่อป้องกันข้อมูลให้มีความปลอดภัยมาก ขึ้นถูกออกแบบมาเพื่อใช้งานแทนที่โปรแกรม PGP หรือ PrettyGood Privacy เนื่องจาก PGP นั้นมีข้อจากัดเรื่องสัญญา 
อนุญาตและสิทธิบัตรซอฟต์แวร์ โดย GnuPG ใช้มาตรฐานRFC 4880 [6] ของ IETF ซึ่งเป็นมาตรฐานของ OpenPGP 
GnuPG เป็นโปรแกรมเข้ารหัสแบบผสม (hybridcryptosystem) โดยเป็นการทางานร่วมกันของการเข้ารหัสแบบกุญแจ สมมาตร (symmetric key) และการเข้ารหัสแบบกุญแจอสมมาตร (asymmetric key) ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความรวดเร็วในการ เข้ารหัสและยากต่อการถอดรหัส เหตุที่ต้องมีการทางานร่วมกันระหว่างการเข้ารหัสแบบกุญแจสมมาตรและการเข้ารหัส 
กุญแจลับ (secret key) เพราะไม่สามารถส่งกุญแจลับให้กับผู้รับที่อยู่ห่างไกลกันได้อย่างปลอดภัย แต่ข้อดีคือการเข้ารหัส 
ข้อมูลมีความเร็วกว่าการเข้ารหัสแบบกุญแจอสมมาตร จึงใช้การเข้ารหัสแบบกุญแจสมมาตรเข้ารหัสข้อความที่ต้องการส่ง 
และเพื่อแก้ปัญหาการส่งกุญแจลับที่ไม่ปลอดภัยจึงต้องทาการ 
เข้ารหัสกุญแจลับด้วยกุญแจสาธารณะ (public-key) เพราะเหตุที่ขนาดของกุญแจลับมีขนาดไม่ใหญ่นัก (มีขนาด 128/192/256 บิต) จึงนิยมใช้การเข้ารหัสแบบกุญแจอสมมาตรเข้ารหัสกุญแจลับแทนที่จะเข้ารหัสข้อความ การทางานแบบนี้ 
เป็นส่วนหนึ่งของมาตรฐานของ OpenPGP และเป็นส่วนหนึ่ง 
2.4 XML Digital Signatures [8] 
ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่มีรูปแบบ XML ทาให้เกิดความหน้าเชื่อถือของเอกสารทางธุรกิจ คารับรองของหุ้นส่วนทาง การค้าและการบริการเป็นที่ยอมรับ ซึ่งเป็นสิ่งจาเป็นในการ ทาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-commerce) DSig XML เป็น 
มาตรฐานโครงสร้างที่เกี่ยวข้องกับการลงลายมือชื่อดิจิทัลดังนั้นผู้จัดทาจึงศึกษาโครงสร้างของ XML Digital Signature 
เพิ่ม ซึ่ง XML Digital Signature เป็นโครงสร้างที่ผู้จัดทาได้
3. รายละเอียดการพัฒนา 
3.1 ภาพรวมของระบบ 
การออกแบบระบบจะแบ่งออกเป็น 5 ส่วน ได้แก่ 1.MC Tools:Secured Multimedia Contract Tools 2.CA: Certification 
Authority 3.TA: Time Authentic System 4.RA: RegisterAuthentications 5. Web Download 
รูปที่ 1 ภาพรวมของระบบ 
ระบบ MC Tools (1) เป็นแอพพลิเคชันที่เป็นตัวช่วยสร้างสัญญาโดยรองรับไฟล์สัญญาในรูปแบบมัลติมีเดีย ถูกติดตั้งไว้ 
กับผู้ใช้งานที่ต้องการสร้างสัญญา ตรวจสอบสถานะของใบรับรองของคู่สัญญา รวมถึงการลงและพิสูจน์ลายมือชื่อที่ 
รับรองสัญญา โดยจะติดต่อกับ CA (3) ผ่านทาง WebService (2) ดังรูปที่ 1 โดย MC Tools สามารถสร้างกุญแจตาม มาตรฐาน OpenPGP ซึ่งหากผู้ใช้ต้องการที่จะทาสัญญาจะต้องสร้างสัญญาและ กุญแจใน MC Tools จากนั้นนากุญแจ สาธารณะที่ต้องการแจกจ่าย ส่งให้ CA รับรองโดยCA ทาหน้าที่เป็นหน่วยงานส่วนกลางในการออกหรือเพิกถอน 
ใบรับรอง ส่วน RA (5) ซึ่งจะติดตั้งแอพพลิเคชันไว้ตามหน่วยงานของรัฐ เช่นศาลากลางจังหวัด ที่ว่าการอาเภอ 
เป็นต้น เพื่อให้บริการผู้ใช้ที่ต้องการขอหรือเพิกถอนใบรับรองที่กระจายอยู่ตามภูมิภาคต่าง ๆ ซึ่งไม่สะดวกเดินทางมายัง CAโดย RA จะติดต่อกับ CA ผ่านทาง Web Service (4) เมื่อ CAออกใบรับรองเสร็จจะจัดเก็บไว้ในฐานข้อมูลเพื่อให้ผู้ใช้ 
ดาวน์โหลดใบรับรองผ่านทางเว็บบราวเซอร์โดยติดต่อผ่านทางHTTP(2) เพื่อนาใบรับรองที่ได้ไปพิสูจน์สัญญาของคู่สัญญา 
เมื่อผู้ใช้ต้องการใบรับรองวัน–เวลาในการทา สัญญาก็สามารถขอใบรับรองวัน – เวลาเพื่อแนบในสัญญาได้ โดยใช้ 
MC Tools ซึ่งจะติดต่อกับ TA (3) ผ่านทาง Web Service (2)โดยในการสร้างใบรับรองกุญแจสาธารณะของผู้ใช้ และ 
ใบรับรองวัน – เวลา ระบบจะใช้กุญแจส่วนตัวเดียวกันระหว่างCA กับ TA ในการให้บริการออกใบรับรอง 
3.2 การออกแบบและพัฒนาระบบ 
ระบบ MC Tools ถูกออกแบบส่วนการทางาน 5 ส่วน คือส่วนช่วยสร้างสัญญา ส่วน Certificate Authentications ส่วน 
Register Authentications ส่วน Time Authentic Systemและส่วนของ Web Download
เอกสารอ้างอิง 
[1] N. Sriwiboon and S. Puangpronpitag, “Design andImplement Secured Multimedia Contract”, 
submitted to a conference.[2] “E-commerce E-Business Expo2007,”http://www.ecommerceebusinessexpo.com/aboutt. 
html: December 2007[3] นนทกา บัวขม พีระศักดิ์ ทามารุ่งเรือง และ สมนึกพ่วงพรพิทักษ์,”Design of e-contract Structure andImplementation of e-contract Signing System”, InProceedings of the Joint conference on ComputerScience and Software Engineering (JCSSE), Vol. 2,pp. 218-224, Kanjanaburi, Thailand, May 2008.[4] จรัญญู เครือแวงมนต์ และ ดารัส สุขเกษม “ระบบช่วยสร้างสัญญาอิเล็กทรอนิกส์สนับสนุนการ ลงและพิสูจน์ลายมือชื่อแบบปลอดภัย Version 2”คณะ วิทยาการสารสนเทศมหาวิทยาลัยมหาสารคาม[5] "The GNU Privacy Guard," http://www.gnupg.org, 
Last accessed: July 2008.[6] J. Callas, "OpenPGP Message Format," IETF, RFC4880: November2007. 
[7] OASIS, "LegalXML Structure",http://www.legalxml.org: October 2008[8] OASIS, "Enabling a Global Electronic Market",http://www.ebxml.org/: October 2008[9] W3C Recommendation, "XML-Signature Syntax and

More Related Content

Similar to 10

โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5Aungkana Na Na
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5Aungkana Na Na
 
Computer for CIO
Computer for CIOComputer for CIO
Computer for CIO
Boonlert Aroonpiboon
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..(1)
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..(1)ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..(1)
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..(1)runjaun
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดาความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดาWirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1Wirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1Wirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดาความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดาWirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1Wirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตWirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..Wirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1Wirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1Wirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1Wirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตWirot Chantharoek
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตWirot Chantharoek
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการSiriwan Udomtragulwong
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตบี
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตบีความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตบี
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตบีPheeranan Thetkham
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตโบ
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตโบความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตโบ
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตโบPheeranan Thetkham
 

Similar to 10 (20)

โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
 
Computer for CIO
Computer for CIOComputer for CIO
Computer for CIO
 
5
55
5
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..(1)
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..(1)ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..(1)
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..(1)
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดาความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดาความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตดา
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต..
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต1
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
 
ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตบี
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตบีความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตบี
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตบี
 
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตโบ
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตโบความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตโบ
ความรู้เกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตโบ
 

More from Mus Donganon (7)

9
99
9
 
7
77
7
 
6
66
6
 
5
55
5
 
4
44
4
 
2
22
2
 
1
11
1
 

10

  • 1. 10. เครื่องมือสร้างและจัดการสัญญามัลติมีเดียแบบปลอดภัย Secured Multimedia Contract Tools ณัฐวุฒิ ศรีวิบูลย์ และ สมนึก พ่วงพรพิทักษ์* วิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม sak1117@hotmail.com, somnuk.p@msu.ac.th บทคัดย่อ เนื่องจากความสาคัญของสัญญาอิเล็กทรอนิกส์ต่อระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ผู้วิจัยจึงได้นาเสนอการออกแบบโครงสร้าง XML เพื่อใช้ในการทาสัญญาอิเล็กทรอนิกส์ให้ปลอดภัยและมีความสามารถทางด้านมัลติมีเดีย ในงานวิจัยก่อนหน้านี้ [1] ในงานวิจัยนี้ ผู้วิจัยจึงได้พัฒนาซอฟต์แวร์สาหรับสนับสนุนสัญญาอิเล็กทรอนิกส์มัลติมีเดียอย่างปลอดภัยดังกล่าวขึ้นเป็น ตัวต้นแบบสมบูรณ์และทา การทดสอบประสิทธิภาพ ผลการทดสอบพบว่ามีประสิทธิผลทั้งทางด้านความปลอดภัยตาม ข้อกาหนดของพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ของประเทศไทย และด้านความสามารถทางมัลติมีเดียของ สัญญายุคใหม่ ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นนี้จะได้เป็นเครื่องมือที่มีประโยชน์ต่อวงการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ของไทยต่อไป Abstract Due to the significance of an e-contract for e-commerce system,we have proposed a new design of an XML structure for secured multimedia contract [1] in the previous work. In thispaper, we implement and evaluate a tool to create and verify thesecured multimedia contract using JAVA and open-sourcesoftware. The performance shows the effectiveness in terms ofboth security according to the Electronic Transaction Acts ofThailand and multimedia-richness. This software would be a veryuseful tool to support Thai e-commerce. 1. บทนา ที่มาและแรงจูงใจของปัญหา ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีของเครือข่ายอินเทอร์เน็ตทาให้ลดข้อจากัดของวันเวลาและสถานที่ในการประกอบ ธุรกรรมลง นั้นคือการดาเนินธุรกรรมในรูปแบบเดิมที่การทาสัญญาระหว่างคู่สัญญาจะต้องเดินทางไปยังสถานที่เดียวกัน เพื่อทาสัญญาโดยไม่ให้เกิดการปลอมแปลงทางด้านเอกสารข้อจากัดเหล่านี้ได้ลดลงไป คู่สัญญาที่ต้องการทาสัญญา สามารถทา สัญญาจากที่ใดก็ได้โดยผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ในระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมา รัฐบาลให้ความสาคัญใน การสนับสนุนผู้ประกอบการให้นาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์มาใช้ในการดาเนินธุรกิจของแต่ละคน จากการสารวจข้อมูลของ บริษัท International Data Corporation [2]ได้ประมาณมูลค่าการค้าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พบว่า ประเทศไทย มีมูลค่าพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 50,920 ล้านบาท ซึ่งแสดงถึงความก้าวหน้าใน ธุรกิจพาณิชย์จากการศึกษาก่อนหน้านี้โดย นนทกา บัวขมและคณะฯ[3] รวมถึง จรัญญู เครือแวงมนต์ และคณะฯ [4] ได้ พบว่ามีรูปแบบของ XML หลายตัวที่สามารถนามาออกแบบเป็นโครงสร้างของสัญญาอิเล็กทรอนิกส์ที่เหมาะสมได้ โดยใน งานวิจัยดังกล่าว ได้นา Legal XML [7], Digital SignatureXML [8] และ XML Encryption [9] มาผสมผสาน และออกแบบ เป็นโครงสร้างสัญญาอิเล็กทรอนิกส์ พร้อมกับพัฒนาระบบต้นแบบในการสร้างและตรวจสอบสัญญาอิเล็กทรอนิกส์ รวมถึงการออกแบบโครงสร้างของสัญญาให้สามารถสนับสนุนการทาสัญญาในรูปแบบมัลติมีเดียแต่ว่าโครงสร้างสัญญา อิเล็กทรอนิกส์ที่ได้ออกแบบมานั้นพบว่า การนาสื่อมัลติมีเดีย หรือสื่อรูปแบบใหม่ๆ เข้าไปผนวกในสัญญารวมถึง ตัวช่วย สร้างสัญญาในการจัดการกับRich Text Format ยังไม่มีความสมบูรณ์ นอกจากนี้ สัญญาอิเล็กทรอนิกส์ และโปรแกรม ต้นแบบ ที่สร้างขึ้นโดยงานวิจัยก่อนหน้านี้ [3] รวมถึง [4] นั้น ยังไม่สมบูรณ์ เพราะ ใน กระบวนการลงลายมือชื่อดิจิทัลนั้น ยังขาดระบบมาสนับสนุนการรับรองวัน - เวลาในการทาสัญญา ดังนั้น จึงพัฒนาระบบ ต้นแบบเพื่อรับรองวัน - เวลาในการทาสัญญา ให้กับบุคคล
  • 2. หรือ องค์กรต่างๆ โดยระบบต้นแบบที่พัฒนาขึ้นนี้ จะเป็นต้นแบบที่หน่วยงานของรัฐ (เช่น หน่วยงานทางราชการของ ไทยที่รับผิดชอบ) สามารถนาไปใช้งานได้จริง รวมถึงการออกแบบระบบการเพิกถอนใบรับรองให้กับบุคคล หรือ องค์กร ต่างๆ ในกรณีที่กุญแจส่วนตัวของผู้ทาสัญญาเกิดปัญหาต่าง ๆเช่น กุญแจส่วนตัวหาย หรือถูกขโมย เป็นต้น ระบบตรวจสอบความถูกต้องของลายมือชื่อและยืนยันตัวตนผู้ลงนาม มี(Online) มี(Online)และปรับปรุง ให้ดีขึ้นระบบแจ้งเตือนหากคู่สัญญาขอเปลี่ยนแปลงข้อมูลเกี่ยวกับสัญญามี มี และปรับปรุงให้ดีขึ้น การทาสัญญาบนระบบออนไลน์มี มี และปรับปรุงให้ดีขึ้นระบบจัดเก็บกุญแจสาธารณะและจัดทาใบรับรองอิเล็กทรอนิกส์ มี มี และปรับปรุงให้ดีขึ้นมีระบบ Certificate Authority มี มี และปรับปรุงให้ดีขึ้นระบบช่วยสร้างสัญญาแบบมัลติมีเดียไม่ สมบูรณ์ แก้ไขให้สมบูรณ์ระบบการลงลายมือชื่อของนิติบุคคลไม่สมบูรณ์ แก้ไขให้สมบูรณ์ระบบ CertificateRevocation Processไม่สมบูรณ์ แก้ไขให้สมบูรณ์ระบบ RegisterAuthenticationsไม่มี พัฒนาให้สมบูรณ์ระบบออก และพิสูจน์ตรา ประทับวัน – เวลาไม่มี พัฒนาให้สมบูรณ์ 2. งานและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 2.1 พรบ.ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544การทาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ เติบโตอย่างรวดเร็ว โดยก่อน หน้านี้ยังไม่มีกฎหมายรองรับ จนกระทั้งปี พ.ศ. 2544 รัฐบาลได้ทาการผ่านร่างพระราชบัญญัติกฎหมายว่าด้วยการทา ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์เข้ามารองรับ โดยรับรองว่าการทาสัญญาที่มีรูปแบบเป็นอิเล็กทรอนิกส์ก็สามารถให้ใช้บังคับได้ เช่นเดียวกับสัญญาที่เป็นลายลักษณ์อักษรอยู่บนกระดาษ ผู้ลงนามจะไม่สามารถปฏิเสธความรับผิดชอบได้ จากสัญญา อิเล็กทรอนิกส์ และระบบช่วยจัดการสัญญาอิเล็กทรอนิกส์ ที่ได้นาเสนอก่อนหน้านี้[3][4] น่าจะสามารถที่จะทาได้ตาม พระราชบัญญัติ แต่ว่างานวิจัยที่พัฒนาก่อนหน้านี้ยังขาดระบบที่ช่วยรับรองลายมือชื่อดิจิทัล และกุญแจสาธารณะให้ ถูกต้องตามพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์พ.ศ. 2544 ซึ่งเป็นส่วนสาคัญให้กฎหมายสามารถบังคับได้จริง 2.2 GNU Privacy Guard [5] GNU Privacy Guard หรือที่เรียกว่า GnuPG เป็นโปรแกรมในการเข้ารหัสข้อมูลเพื่อป้องกันข้อมูลให้มีความปลอดภัยมาก ขึ้นถูกออกแบบมาเพื่อใช้งานแทนที่โปรแกรม PGP หรือ PrettyGood Privacy เนื่องจาก PGP นั้นมีข้อจากัดเรื่องสัญญา อนุญาตและสิทธิบัตรซอฟต์แวร์ โดย GnuPG ใช้มาตรฐานRFC 4880 [6] ของ IETF ซึ่งเป็นมาตรฐานของ OpenPGP GnuPG เป็นโปรแกรมเข้ารหัสแบบผสม (hybridcryptosystem) โดยเป็นการทางานร่วมกันของการเข้ารหัสแบบกุญแจ สมมาตร (symmetric key) และการเข้ารหัสแบบกุญแจอสมมาตร (asymmetric key) ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความรวดเร็วในการ เข้ารหัสและยากต่อการถอดรหัส เหตุที่ต้องมีการทางานร่วมกันระหว่างการเข้ารหัสแบบกุญแจสมมาตรและการเข้ารหัส กุญแจลับ (secret key) เพราะไม่สามารถส่งกุญแจลับให้กับผู้รับที่อยู่ห่างไกลกันได้อย่างปลอดภัย แต่ข้อดีคือการเข้ารหัส ข้อมูลมีความเร็วกว่าการเข้ารหัสแบบกุญแจอสมมาตร จึงใช้การเข้ารหัสแบบกุญแจสมมาตรเข้ารหัสข้อความที่ต้องการส่ง และเพื่อแก้ปัญหาการส่งกุญแจลับที่ไม่ปลอดภัยจึงต้องทาการ เข้ารหัสกุญแจลับด้วยกุญแจสาธารณะ (public-key) เพราะเหตุที่ขนาดของกุญแจลับมีขนาดไม่ใหญ่นัก (มีขนาด 128/192/256 บิต) จึงนิยมใช้การเข้ารหัสแบบกุญแจอสมมาตรเข้ารหัสกุญแจลับแทนที่จะเข้ารหัสข้อความ การทางานแบบนี้ เป็นส่วนหนึ่งของมาตรฐานของ OpenPGP และเป็นส่วนหนึ่ง 2.4 XML Digital Signatures [8] ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่มีรูปแบบ XML ทาให้เกิดความหน้าเชื่อถือของเอกสารทางธุรกิจ คารับรองของหุ้นส่วนทาง การค้าและการบริการเป็นที่ยอมรับ ซึ่งเป็นสิ่งจาเป็นในการ ทาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-commerce) DSig XML เป็น มาตรฐานโครงสร้างที่เกี่ยวข้องกับการลงลายมือชื่อดิจิทัลดังนั้นผู้จัดทาจึงศึกษาโครงสร้างของ XML Digital Signature เพิ่ม ซึ่ง XML Digital Signature เป็นโครงสร้างที่ผู้จัดทาได้
  • 3. 3. รายละเอียดการพัฒนา 3.1 ภาพรวมของระบบ การออกแบบระบบจะแบ่งออกเป็น 5 ส่วน ได้แก่ 1.MC Tools:Secured Multimedia Contract Tools 2.CA: Certification Authority 3.TA: Time Authentic System 4.RA: RegisterAuthentications 5. Web Download รูปที่ 1 ภาพรวมของระบบ ระบบ MC Tools (1) เป็นแอพพลิเคชันที่เป็นตัวช่วยสร้างสัญญาโดยรองรับไฟล์สัญญาในรูปแบบมัลติมีเดีย ถูกติดตั้งไว้ กับผู้ใช้งานที่ต้องการสร้างสัญญา ตรวจสอบสถานะของใบรับรองของคู่สัญญา รวมถึงการลงและพิสูจน์ลายมือชื่อที่ รับรองสัญญา โดยจะติดต่อกับ CA (3) ผ่านทาง WebService (2) ดังรูปที่ 1 โดย MC Tools สามารถสร้างกุญแจตาม มาตรฐาน OpenPGP ซึ่งหากผู้ใช้ต้องการที่จะทาสัญญาจะต้องสร้างสัญญาและ กุญแจใน MC Tools จากนั้นนากุญแจ สาธารณะที่ต้องการแจกจ่าย ส่งให้ CA รับรองโดยCA ทาหน้าที่เป็นหน่วยงานส่วนกลางในการออกหรือเพิกถอน ใบรับรอง ส่วน RA (5) ซึ่งจะติดตั้งแอพพลิเคชันไว้ตามหน่วยงานของรัฐ เช่นศาลากลางจังหวัด ที่ว่าการอาเภอ เป็นต้น เพื่อให้บริการผู้ใช้ที่ต้องการขอหรือเพิกถอนใบรับรองที่กระจายอยู่ตามภูมิภาคต่าง ๆ ซึ่งไม่สะดวกเดินทางมายัง CAโดย RA จะติดต่อกับ CA ผ่านทาง Web Service (4) เมื่อ CAออกใบรับรองเสร็จจะจัดเก็บไว้ในฐานข้อมูลเพื่อให้ผู้ใช้ ดาวน์โหลดใบรับรองผ่านทางเว็บบราวเซอร์โดยติดต่อผ่านทางHTTP(2) เพื่อนาใบรับรองที่ได้ไปพิสูจน์สัญญาของคู่สัญญา เมื่อผู้ใช้ต้องการใบรับรองวัน–เวลาในการทา สัญญาก็สามารถขอใบรับรองวัน – เวลาเพื่อแนบในสัญญาได้ โดยใช้ MC Tools ซึ่งจะติดต่อกับ TA (3) ผ่านทาง Web Service (2)โดยในการสร้างใบรับรองกุญแจสาธารณะของผู้ใช้ และ ใบรับรองวัน – เวลา ระบบจะใช้กุญแจส่วนตัวเดียวกันระหว่างCA กับ TA ในการให้บริการออกใบรับรอง 3.2 การออกแบบและพัฒนาระบบ ระบบ MC Tools ถูกออกแบบส่วนการทางาน 5 ส่วน คือส่วนช่วยสร้างสัญญา ส่วน Certificate Authentications ส่วน Register Authentications ส่วน Time Authentic Systemและส่วนของ Web Download
  • 4. เอกสารอ้างอิง [1] N. Sriwiboon and S. Puangpronpitag, “Design andImplement Secured Multimedia Contract”, submitted to a conference.[2] “E-commerce E-Business Expo2007,”http://www.ecommerceebusinessexpo.com/aboutt. html: December 2007[3] นนทกา บัวขม พีระศักดิ์ ทามารุ่งเรือง และ สมนึกพ่วงพรพิทักษ์,”Design of e-contract Structure andImplementation of e-contract Signing System”, InProceedings of the Joint conference on ComputerScience and Software Engineering (JCSSE), Vol. 2,pp. 218-224, Kanjanaburi, Thailand, May 2008.[4] จรัญญู เครือแวงมนต์ และ ดารัส สุขเกษม “ระบบช่วยสร้างสัญญาอิเล็กทรอนิกส์สนับสนุนการ ลงและพิสูจน์ลายมือชื่อแบบปลอดภัย Version 2”คณะ วิทยาการสารสนเทศมหาวิทยาลัยมหาสารคาม[5] "The GNU Privacy Guard," http://www.gnupg.org, Last accessed: July 2008.[6] J. Callas, "OpenPGP Message Format," IETF, RFC4880: November2007. [7] OASIS, "LegalXML Structure",http://www.legalxml.org: October 2008[8] OASIS, "Enabling a Global Electronic Market",http://www.ebxml.org/: October 2008[9] W3C Recommendation, "XML-Signature Syntax and