SlideShare a Scribd company logo
9. การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนออนไลน์ วิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดีย ตามหลักสูตรสาขาวิชาวิทยาการ คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี 
The Development of computer assisted instruction online, Course of Multimedia Technology for student of Computer Science Department 
นายชัยทัศน์ เกียรติยากุล 
สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี 
บทคัดย่อ 
การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนออนไลน์ วิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดีย 2) เพื่อหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนออนไลน์วิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดียที่พัฒนาขึ้น 
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ที่ลงทะเบียนเรียนในวิชา เทคโนโลยีมัลติมีเดีย ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2554 ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี จานวน 30 คน ได้มาจาก การสุ่มแบบเจาะจง ผลการวิจัยพบว่า 
1.ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีค่าเท่ากับ 81.06/81.33 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้คือ 80/80 
2. นักศึกษาที่เรียนเสริมด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยออนไลน์ วิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดีย มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น โดยมีคะแนนทดสอบหลังเรียนสูงกว่าคะแนนทดสอบก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 
ABSTRACT 
The purpose of the research were to develop the computer assisted Instruction online, Multimedia Technology and to determine the effectiveness of computer assisted instruction online, Multimedia Technology. 
The sampling groups were 30 undergraduate students of computer science department, faculty of science and technology, Suratthani Rajabhat University through Purposive sampling. 
The research findings were as follow: 
1. The efficiency of computer assisted instruction was 81.06/81.33 that higher than the criterion provided 80/80. 
2. There was significantly higher learning achievement of the student in the posttest than in the pretest at .05 levels. 
บทนา 
ในอดีตที่ผ่านมา กระบวนการเรียนการสอนเป็นการถ่ายทอดความรู้จากครูผู้สอนไปสู่ผู้เรียน โดยใช้วิธีการบรรยาย และการ สาธิตเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งวิธีการสอนดังกล่าวทั้งครูผู้สอนและผู้เรียนจะต้องดาเนินกิจกรรมร่วมกันในสถานที่ และเวลาที่ กาหนดไว้ ถ้าในชั่วโมงเรียนผู้เรียนมีความพร้อมใน การเรียนรู้แตกต่างกันก็จะทาให้การรับรู้ในเนื้อหาที่ครูผู้สอนถ่ายทอด แตกต่างกันด้วย ดังนั้นในปัจจุบันจึงมีการนาสื่อการเรียนการสอนแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนซึ่งได้รับความนิยม อย่างแพร่หลายมาใช้ในการเรียนการสอน บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีส่วนช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากทั้งครู ผู้สอน และตามความต้องการของตนเอง โดยไม่จากัดเวลาหรือสถานที่เรียน การเรียนโดยใช้การประชุมวิชาการระดับชาติ ราชภัฎสุราษฎร์ธานีวิจัย ครั้งที่ 9 : 2556 “การวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นสู่ประชาคมอาเซียน” (Research for Local Development Towards the ASEAN Community)
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีจุดเด่น คือ สามารถตอบสนองความต้องการของผู้เรียนตามความสามารถและคุณลักษณะที่ แตกต่างกัน โดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ซึ่งสอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ง ชาติ พ.ศ. 2542 ของหมวด 4 แนว การจัดการศึกษา ว่าด้วยเรื่องของผู้เรียนเป็นส่วนที่มีความสาคัญที่สุดในการจัดการศึกษา ซึ่งรวมถึงการจัดการเรียนการสอน และกระบวนการเรียนรู้ จากการวิจัยของพูลศรี (2544) ได้ทาการวิจัยผลการเรียนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 ในวิชาสังคมศึกษา ส 402 เปรียบเทียบกับกลุ่มทดลองที่ใช้การเรียนผ่านเครือข่ายกับการเรียนปกติ พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตสูงกว่าการเรียนปกติ และยังพบว่าความคงทนในการ จาของนักเรียน ที่เรียนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตสูงกว่านักเรียนปกติ 
ด้วยเหตุที่วิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดีย เป็นวิชาที่จาเป็นอย่างยิ่ง สาหรับการเรียนการสอนในสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ และสาขาอื่น ๆ เนื่องจากเทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์ได้เข้ามามีบทบาทอย่างมากต่อการเรียนการสอน การที่จะศึกษาใน สาขาวิชาต่าง ๆ ให้ประสบผลสาเร็จ ผู้เรียนจาเป็นต้องเรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีมัลติมีเดีย อันเป็นวิชาหนึ่งของการศึกษาใน สาขานี้ที่จะนาไปสู่ความสาเร็จในการประกอบวิชาชีพ เนื่องด้วยบัณฑิตที่จบการศึกษาในสาขาดังกล่าวนี้จาเป็นต้องมี ความสามารถในการใช้งานเทคโนโลยี จึงย่อมต้องการความรู้ ทักษะ และประสบการณ์เกี่ยวกับเทคโนโลยีมัลติมีเดีย ซึ่งมี ผลต่อการประกอบอาชีพในสังคมสารสนเทศ 
หลักสูตรสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ กาหนดให้นักศึกษาระดับปริญญาตรี จะต้องลงทะเบียน เรียนวิชา 4012605 เทคโนโลยีมัลติมีเดีย (Multimedia Technology ) จานวน 3 หน่วยกิต ซึ่งเป็นวิชาที่อยู่ในหมวดวิชาเฉพาะ กลุ่มวิชา เนื้อหา บังคับเรียน โดยหลักสูตรนี้ เปิดรับผู้เรียนที่จบจากสายสามัญ ในหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) และผู้เรียนที่จบจาก สายอาชีพในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่า ทาให้ผู้เรียนที่เข้ามาเรียนมีความแตกต่างกันมากทั้ง ทางด้านความรู้พื้นฐาน ความถนัด ระดับสติปัญญา การขาดความสนใจการเรียน เนื่องจากเรียนไม่ทันเพื่อนร่วมชั้น รวมไป ถึงบุคลิกภาพที่แตกต่างกัน ส่งผลให้การรับรู้และเข้าใจในเนื้อหาที่ครูสอนได้ไม่เท่ากัน กลุ่มที่เรียนเก่งสามารถรับรู้ และทา ความเข้าใจได้เร็ว แต่กลุ่มที่เรียนอ่อน จะใช้ระยะเวลาในการรับรู้ และทาความเข้าใจกับบทเรียนมากกว่า ครูต้องอธิบายซ้า หรือปฏิบัติในหัวข้อนั้นเพิ่มเติม และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของผู้เรียนอยู่ในเกณฑ์ที่ค่อนข้างต่าง 
ด้วยเหตุนี้ ผู้วิจัยจึงเห็นความสาคัญที่จะพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบออนไลน์วิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดีย ซึ่งถือ เป็นการนาเทคโนโลยีทางด้านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมาใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้เรียน โดยมุ่งเน้นว่าบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่จะพัฒนาขึ้นนี้จะสามารถใช้เป็นบทเรียนสาหรับสอนเสริมและสอนทบทวนสาหรับผู้เรียนที่เรียน ไม่ทันเพื่อน หรือใช้ในกรณีอื่น ๆ ตามที่ ผู้เรียนต้องการ 
วัตถุประสงค์ 
1. เพื่อพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนออนไลน์วิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดีย 
2. เพื่อหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนออนไลน์วิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดียที่พัฒนาขึ้น 
วิธีการวิจัย 
ศึกษาเนื้อหาของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนออนไลน์ วิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดีย หลักสูตรสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี โดยแบ่งเนื้อหาออกเป็น 10 บทเรียน โดยใช้กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาปริญญาตรี สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ และลงทะเบียนเรียนในรายวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดีย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี จานวนนักศึกษา 30 คน โดยการสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ รายวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดีย ออกแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบประเมินคุณภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ด้านเนื้อหา แบบประเมินคุณภาพ บทเรียนคอมพิวเตอร์ด้านเทคโนโลยีการศึกษา การประชุมวิชาการระดับชาติ ราชภัฎสุราษฎร์ธานีวิจัย ครั้งที่ 9 : 2556 “การ วิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นสู่ประชาคมอาเซียน” (Research for Local Development Towards the ASEAN Community)
ผลการวิจัยและอภิปราย 
ผลการประเมินคุณภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์โดยผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาแสดงให้เห็นว่าบทเรียนโดยรวม มีคุณภาพอยู่ใน ระดับดีมาก ผลการประเมินคุณภาพสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์โดยนักศึกษา บทเรียนโดยรวมมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก สา หรับการนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยรายวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดีย ให้นักศึกษาระดับปริญญาตรีที่ผ่านการทดลองหา ประสิทธิภาพพบว่าร้อยละของคะแนนเฉลี่ยของคะแนนการทดสอบระหว่างเรียน(E1) มีค่าเท่ากับ 81.06 และร้อยละของค่า คะแนนเฉลี่ยของคะแนนการทดสอบหลังเรียน (E2) มีค่าเท่ากับ 81.33 แสดงว่าประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย สอนเมื่อเทียบกับเกณฑ์ 80/80 ปรากฏว่าบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพเป็นไปตามเกณฑ์ที่กาหนด ไว้ และนักศึกษาที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ได้คะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนเท่ากับ 37.50 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน 1.45 และคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนเท่ากับ 42.13 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.97 เมื่อเปิดค่า t จากตาราง ที่ ระดับนัยสาคัญทางสถิติ (α) .05 แบบสองทาง (α / 2) และ df = 30 – 1 = 29 ได้ค่า t = 2.045 เมื่อเปรียบเทียบกับค่า t คานวณปรากฏว่ามากกว่าค่า t จากตาราง โดยสรุปพบว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนและหลังเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 โดยคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียน แสดงให้เห็นว่าบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย สอนที่สร้างขึ้นทาให้นักศึกษามีความรู้เพิ่มมากขึ้น 
จากผลการวิจัยครั้งนี้ พบว่า การเรียนเสริมด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน รายวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดียที่สร้างขึ้น มี ประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนด ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการทาแบบฝึกหัดระหว่างเรียน (E1) มีค่าเท่ากับ 81.06 และแบบทดสอบหลังเรียน (E2) มีค่าเท่ากับ 81.33 หรือมีประสิทธิภาพ 81.06/81.33 สูงกว่าเกณฑ์การประเมินที่กา หนดไว้ 80/80 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานของการวิจัย และผู้เรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเสริมการเรียน มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าก่อนเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เป็นไป ตามสมมติฐานการวิจัยที่ตั้งไว้ 
สรุปผลการวิจัย 
1. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเสริม รายวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดีย มีประสิทธิภาพเท่ากับ 81.06/81.33 เมื่อเปรียบเทียบกับ เกณฑ์การประเมิน 80/80 มีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนด 
2. ผู้เรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าก่อนเรียนแบบปกติอย่างมีนัยสาคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 
การนาผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ 
นาผลการวิจัยไปใช้สาหรับการเรียนการสอนในรายวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดีย ในหลักสูตรโปรแกรมวิชาวิทยาการ คอมพิวเตอร์และหลักสูตรโปรแกรมวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เพื่อเป็นทางเลือกให้นักศึกษาได้ศึกษาด้วยตนเองก่อนการ เรียนรายวิชานี้ เพื่อ่ให้เกิดความรู้ความเข้าใจและมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าการเรียนแบบปกติ 
กิตติกรรมประกาศ 
โครงการวิจัยนี้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี ด้วยความช่วยเหลือจากบุคคลหลายๆ ฝ่ายที่ให้คาแนะนา คาปรึกษา ข้อเสนอแนะต่างๆ อันเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการดาเนินการในครั้งนี้จากผู้ช่วยศาสตราจารย์ศิรวัฒน์ เฮงชัยโย อาจารย์สมพงษ์ ยิ่งเมือง และ อาจารย์กนกวรรณ แก้วเกาะสะบ้า ผู้ทรงคุณวุฒิที่กรุณาอย่างยิ่งต่อผู้ทาวิจัย โดยได้ให้คาปรึกษา ข้อเสนอแนะทางวิชาการใน การวิจัย 
ท้ายนี้ผู้จัดทาโครงการวิจัยขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ที่ให้ทุนสนับสนุนในการทาโครงการวิจัยในครั้งนี้ ขอขอบพระคุณอาจารย์ทุกท่านที่ประสิทธิ์ประสาทวิชาความรู้ และขอบคุณเพื่อน ๆ ตลอดจนภรรยา ซึ่งได้สนับสนุนและ ให้กาลังใจแก่ผู้จัดทาโครงการ ทาให้สามารถทาโครงการวิจัยครั้งนี้จนเสร็จลุล่วงได้ด้วยดี การประชุมวิชาการระดับชาติ
เอกสารอ้างอิง 
จักรี รัศมีฉาย, 2543, การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนระบบมัลติมีเดีย เรื่องหลักการสร้างบทเรียน 
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิตสาขาวิชาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีและ สารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. 
เชาวเลิศ เลิศชโลฬาร และกอบกุล สรรพกิจจานงค์, 2519, เทคโนโลยีการศึกษา ระดับอุดมศึกษา, กรุงเทพมหานคร, ทบวงมหาวิทยาลัย. 
ทวีศักดิ์ กาญจนสุวรรณ, 2552, เทคโนโลยีมัลติมีเดีย (Multimedia Technology). กรุงเทพฯ : เคพีที คอมพ์ แอนด์ คอนซัลท์,. 
ทวีศักดิ์ กาญจนสุวรรณ, 2546, Multimedia ฉบับพื้นฐาน. กรุงเทพฯ : เคพีที คอมพ์ แอนด์ คอนซัลท์,. 
ประสิทธิ์ ทีฑพุฒิ และ มรกต ทีฑพุฒิ, 2549, การประยุกต์ใช้มัลติมีเดีย พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: แอคทีฟ พริ้นท์. 
พูลศรี เวศย์อุฬาร, 2544, “ผลการเรียนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4” วารสารเทคโนโลยี สื่อสารการศึกษา ฉบับที่ 1, หน้า 133-137. 
มนต์ชัย เทียนทอง, 2545, “มัลติมีเดียและไฮเปอร์มีเดีย”. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. 
วิชุดา รัตนเพียร, 2543, “การเรียนการสอนผ่านเว็บ”. ทางเลือกใหม่ของเทคโนโลยีการศึกษาไทย. วารสาร- 
ครุศาสตร์. ปีที่ 27 ฉบับที่ 3, หน้า 29-35. 
วิเทศ โพธิ์ทอง, 2545 การพัฒนาและหาประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาออกแบบ 1.วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์ อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. 
ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ, 2538, “เทคนิคการวิจัยทางการศึกษา”. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาน์ส. 
สมบูรณ์ โสภา, 2543, การสร้างและหาประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนซ่อมเสริมวิชาคณิตศาสตร์ช่างยนต์. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิตภาควิชาครุศาสตร์เครื่องกล บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอม เกล้าพระนครเหนือ. 
เสาวณีย์ สิขาบัณฑิต, 2528 “เทคโนโลยีทางการศึกษา” กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี คณะครุศาสตร์ อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. 
Driscoll, M. (1997) Defining Imternet-Based and interaction, leaener control, Performance 
Improvement, 36(4), April 1997 : 5-9 
Claek.,C.L(1966) A Student’ Guide to the Internet, Saddle River, New Jersey: Prentice Hall.

More Related Content

What's hot

แบบนิเทศDlitปัจจัย+บริหาร
แบบนิเทศDlitปัจจัย+บริหารแบบนิเทศDlitปัจจัย+บริหาร
แบบนิเทศDlitปัจจัย+บริหาร
จำรัส สอนกล้า
 
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...Nakhon Phanom University
 
คำอธิบายรายวิชา ม.1
คำอธิบายรายวิชา ม.1คำอธิบายรายวิชา ม.1
คำอธิบายรายวิชา ม.1sariya25
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
Nattapon
 
ชุดการเรียนรู้ชุดที่2
ชุดการเรียนรู้ชุดที่2ชุดการเรียนรู้ชุดที่2
ชุดการเรียนรู้ชุดที่2
sopa sangsuy
 
LearnSquare Administrator
LearnSquare AdministratorLearnSquare Administrator
LearnSquare AdministratorNECTEC, NSTDA
 
มาตรฐานการจัดการศึกษาทางไกล
มาตรฐานการจัดการศึกษาทางไกลมาตรฐานการจัดการศึกษาทางไกล
มาตรฐานการจัดการศึกษาทางไกล
จำรัส สอนกล้า
 
คู่มือการใช้งาน Dlit portable classroom
คู่มือการใช้งาน Dlit portable classroomคู่มือการใช้งาน Dlit portable classroom
คู่มือการใช้งาน Dlit portable classroom
jamrat
 
โครงร่างงานวิจัย 59
โครงร่างงานวิจัย 59โครงร่างงานวิจัย 59
โครงร่างงานวิจัย 59
Khemjira_P
 
แบบนิเทศDlitนักเรียน
แบบนิเทศDlitนักเรียนแบบนิเทศDlitนักเรียน
แบบนิเทศDlitนักเรียน
จำรัส สอนกล้า
 
Course Outline ม.5 ปี 2559
Course Outline ม.5 ปี 2559Course Outline ม.5 ปี 2559
Course Outline ม.5 ปี 2559
Khemjira_P
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทJiraporn Chaimongkol
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
supatra2011
 
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองNattapon
 
Tablet4 5
Tablet4 5Tablet4 5
Tablet4 5jamrat
 

What's hot (19)

แบบนิเทศDlitปัจจัย+บริหาร
แบบนิเทศDlitปัจจัย+บริหารแบบนิเทศDlitปัจจัย+บริหาร
แบบนิเทศDlitปัจจัย+บริหาร
 
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
 
แผนนิเทศdlit
แผนนิเทศdlitแผนนิเทศdlit
แผนนิเทศdlit
 
คำอธิบายรายวิชา ม.1
คำอธิบายรายวิชา ม.1คำอธิบายรายวิชา ม.1
คำอธิบายรายวิชา ม.1
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
 
ชุดการเรียนรู้ชุดที่2
ชุดการเรียนรู้ชุดที่2ชุดการเรียนรู้ชุดที่2
ชุดการเรียนรู้ชุดที่2
 
LearnSquare Administrator
LearnSquare AdministratorLearnSquare Administrator
LearnSquare Administrator
 
มาตรฐานการจัดการศึกษาทางไกล
มาตรฐานการจัดการศึกษาทางไกลมาตรฐานการจัดการศึกษาทางไกล
มาตรฐานการจัดการศึกษาทางไกล
 
คู่มือการใช้งาน Dlit portable classroom
คู่มือการใช้งาน Dlit portable classroomคู่มือการใช้งาน Dlit portable classroom
คู่มือการใช้งาน Dlit portable classroom
 
โครงร่างงานวิจัย 59
โครงร่างงานวิจัย 59โครงร่างงานวิจัย 59
โครงร่างงานวิจัย 59
 
แบบนิเทศDlitนักเรียน
แบบนิเทศDlitนักเรียนแบบนิเทศDlitนักเรียน
แบบนิเทศDlitนักเรียน
 
Pitima
PitimaPitima
Pitima
 
( Course syllabus) คอมฯม.4
( Course  syllabus) คอมฯม.4( Course  syllabus) คอมฯม.4
( Course syllabus) คอมฯม.4
 
Course Outline ม.5 ปี 2559
Course Outline ม.5 ปี 2559Course Outline ม.5 ปี 2559
Course Outline ม.5 ปี 2559
 
บทความ5
บทความ5บทความ5
บทความ5
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
ผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
 
Tablet4 5
Tablet4 5Tablet4 5
Tablet4 5
 

Similar to 9

การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
Nakhon Phanom University
 
โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร I'am Jimmy
 
โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร I'am Jimmy
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Supaluck
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
believegg
 
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
Wanida Keawprompakdee
 
แบบรายงานการ ประชุมวิชาการ uninet2013
แบบรายงานการ ประชุมวิชาการ uninet2013แบบรายงานการ ประชุมวิชาการ uninet2013
แบบรายงานการ ประชุมวิชาการ uninet2013Mnr Prn
 
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1Pimpisut Plodprong
 
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
ใบงาน 2 คอม
ใบงาน 2 คอมใบงาน 2 คอม
ใบงาน 2 คอมNaCk Wanasanan
 
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองรายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองKhunkrunuch
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Jenjira Pansrisakul
 
ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์Sirikanya Pota
 

Similar to 9 (20)

การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
 
โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร
 
โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์
 
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
 
3
33
3
 
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
1
11
1
 
แบบรายงานการ ประชุมวิชาการ uninet2013
แบบรายงานการ ประชุมวิชาการ uninet2013แบบรายงานการ ประชุมวิชาการ uninet2013
แบบรายงานการ ประชุมวิชาการ uninet2013
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
การศึกษาความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอน55 1
 
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
 
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
 
ใบงาน 2 คอม
ใบงาน 2 คอมใบงาน 2 คอม
ใบงาน 2 คอม
 
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองรายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์
 

More from Mus Donganon (8)

10
1010
10
 
8
88
8
 
7
77
7
 
6
66
6
 
5
55
5
 
4
44
4
 
2
22
2
 
1
11
1
 

9

  • 1. 9. การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนออนไลน์ วิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดีย ตามหลักสูตรสาขาวิชาวิทยาการ คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี The Development of computer assisted instruction online, Course of Multimedia Technology for student of Computer Science Department นายชัยทัศน์ เกียรติยากุล สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี บทคัดย่อ การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนออนไลน์ วิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดีย 2) เพื่อหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนออนไลน์วิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดียที่พัฒนาขึ้น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ที่ลงทะเบียนเรียนในวิชา เทคโนโลยีมัลติมีเดีย ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2554 ของมหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี จานวน 30 คน ได้มาจาก การสุ่มแบบเจาะจง ผลการวิจัยพบว่า 1.ประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีค่าเท่ากับ 81.06/81.33 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้คือ 80/80 2. นักศึกษาที่เรียนเสริมด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยออนไลน์ วิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดีย มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น โดยมีคะแนนทดสอบหลังเรียนสูงกว่าคะแนนทดสอบก่อนเรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ABSTRACT The purpose of the research were to develop the computer assisted Instruction online, Multimedia Technology and to determine the effectiveness of computer assisted instruction online, Multimedia Technology. The sampling groups were 30 undergraduate students of computer science department, faculty of science and technology, Suratthani Rajabhat University through Purposive sampling. The research findings were as follow: 1. The efficiency of computer assisted instruction was 81.06/81.33 that higher than the criterion provided 80/80. 2. There was significantly higher learning achievement of the student in the posttest than in the pretest at .05 levels. บทนา ในอดีตที่ผ่านมา กระบวนการเรียนการสอนเป็นการถ่ายทอดความรู้จากครูผู้สอนไปสู่ผู้เรียน โดยใช้วิธีการบรรยาย และการ สาธิตเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งวิธีการสอนดังกล่าวทั้งครูผู้สอนและผู้เรียนจะต้องดาเนินกิจกรรมร่วมกันในสถานที่ และเวลาที่ กาหนดไว้ ถ้าในชั่วโมงเรียนผู้เรียนมีความพร้อมใน การเรียนรู้แตกต่างกันก็จะทาให้การรับรู้ในเนื้อหาที่ครูผู้สอนถ่ายทอด แตกต่างกันด้วย ดังนั้นในปัจจุบันจึงมีการนาสื่อการเรียนการสอนแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนซึ่งได้รับความนิยม อย่างแพร่หลายมาใช้ในการเรียนการสอน บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีส่วนช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากทั้งครู ผู้สอน และตามความต้องการของตนเอง โดยไม่จากัดเวลาหรือสถานที่เรียน การเรียนโดยใช้การประชุมวิชาการระดับชาติ ราชภัฎสุราษฎร์ธานีวิจัย ครั้งที่ 9 : 2556 “การวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นสู่ประชาคมอาเซียน” (Research for Local Development Towards the ASEAN Community)
  • 2. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีจุดเด่น คือ สามารถตอบสนองความต้องการของผู้เรียนตามความสามารถและคุณลักษณะที่ แตกต่างกัน โดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ซึ่งสอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ง ชาติ พ.ศ. 2542 ของหมวด 4 แนว การจัดการศึกษา ว่าด้วยเรื่องของผู้เรียนเป็นส่วนที่มีความสาคัญที่สุดในการจัดการศึกษา ซึ่งรวมถึงการจัดการเรียนการสอน และกระบวนการเรียนรู้ จากการวิจัยของพูลศรี (2544) ได้ทาการวิจัยผลการเรียนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 ในวิชาสังคมศึกษา ส 402 เปรียบเทียบกับกลุ่มทดลองที่ใช้การเรียนผ่านเครือข่ายกับการเรียนปกติ พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนที่เรียนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตสูงกว่าการเรียนปกติ และยังพบว่าความคงทนในการ จาของนักเรียน ที่เรียนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตสูงกว่านักเรียนปกติ ด้วยเหตุที่วิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดีย เป็นวิชาที่จาเป็นอย่างยิ่ง สาหรับการเรียนการสอนในสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ และสาขาอื่น ๆ เนื่องจากเทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์ได้เข้ามามีบทบาทอย่างมากต่อการเรียนการสอน การที่จะศึกษาใน สาขาวิชาต่าง ๆ ให้ประสบผลสาเร็จ ผู้เรียนจาเป็นต้องเรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีมัลติมีเดีย อันเป็นวิชาหนึ่งของการศึกษาใน สาขานี้ที่จะนาไปสู่ความสาเร็จในการประกอบวิชาชีพ เนื่องด้วยบัณฑิตที่จบการศึกษาในสาขาดังกล่าวนี้จาเป็นต้องมี ความสามารถในการใช้งานเทคโนโลยี จึงย่อมต้องการความรู้ ทักษะ และประสบการณ์เกี่ยวกับเทคโนโลยีมัลติมีเดีย ซึ่งมี ผลต่อการประกอบอาชีพในสังคมสารสนเทศ หลักสูตรสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ กาหนดให้นักศึกษาระดับปริญญาตรี จะต้องลงทะเบียน เรียนวิชา 4012605 เทคโนโลยีมัลติมีเดีย (Multimedia Technology ) จานวน 3 หน่วยกิต ซึ่งเป็นวิชาที่อยู่ในหมวดวิชาเฉพาะ กลุ่มวิชา เนื้อหา บังคับเรียน โดยหลักสูตรนี้ เปิดรับผู้เรียนที่จบจากสายสามัญ ในหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) และผู้เรียนที่จบจาก สายอาชีพในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเท่า ทาให้ผู้เรียนที่เข้ามาเรียนมีความแตกต่างกันมากทั้ง ทางด้านความรู้พื้นฐาน ความถนัด ระดับสติปัญญา การขาดความสนใจการเรียน เนื่องจากเรียนไม่ทันเพื่อนร่วมชั้น รวมไป ถึงบุคลิกภาพที่แตกต่างกัน ส่งผลให้การรับรู้และเข้าใจในเนื้อหาที่ครูสอนได้ไม่เท่ากัน กลุ่มที่เรียนเก่งสามารถรับรู้ และทา ความเข้าใจได้เร็ว แต่กลุ่มที่เรียนอ่อน จะใช้ระยะเวลาในการรับรู้ และทาความเข้าใจกับบทเรียนมากกว่า ครูต้องอธิบายซ้า หรือปฏิบัติในหัวข้อนั้นเพิ่มเติม และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของผู้เรียนอยู่ในเกณฑ์ที่ค่อนข้างต่าง ด้วยเหตุนี้ ผู้วิจัยจึงเห็นความสาคัญที่จะพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบออนไลน์วิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดีย ซึ่งถือ เป็นการนาเทคโนโลยีทางด้านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมาใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้เรียน โดยมุ่งเน้นว่าบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่จะพัฒนาขึ้นนี้จะสามารถใช้เป็นบทเรียนสาหรับสอนเสริมและสอนทบทวนสาหรับผู้เรียนที่เรียน ไม่ทันเพื่อน หรือใช้ในกรณีอื่น ๆ ตามที่ ผู้เรียนต้องการ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนออนไลน์วิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดีย 2. เพื่อหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนออนไลน์วิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดียที่พัฒนาขึ้น วิธีการวิจัย ศึกษาเนื้อหาของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนออนไลน์ วิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดีย หลักสูตรสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี โดยแบ่งเนื้อหาออกเป็น 10 บทเรียน โดยใช้กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาปริญญาตรี สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ และลงทะเบียนเรียนในรายวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดีย ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฏร์ธานี จานวนนักศึกษา 30 คน โดยการสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ รายวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดีย ออกแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบประเมินคุณภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ด้านเนื้อหา แบบประเมินคุณภาพ บทเรียนคอมพิวเตอร์ด้านเทคโนโลยีการศึกษา การประชุมวิชาการระดับชาติ ราชภัฎสุราษฎร์ธานีวิจัย ครั้งที่ 9 : 2556 “การ วิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นสู่ประชาคมอาเซียน” (Research for Local Development Towards the ASEAN Community)
  • 3. ผลการวิจัยและอภิปราย ผลการประเมินคุณภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์โดยผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาแสดงให้เห็นว่าบทเรียนโดยรวม มีคุณภาพอยู่ใน ระดับดีมาก ผลการประเมินคุณภาพสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์โดยนักศึกษา บทเรียนโดยรวมมีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก สา หรับการนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยรายวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดีย ให้นักศึกษาระดับปริญญาตรีที่ผ่านการทดลองหา ประสิทธิภาพพบว่าร้อยละของคะแนนเฉลี่ยของคะแนนการทดสอบระหว่างเรียน(E1) มีค่าเท่ากับ 81.06 และร้อยละของค่า คะแนนเฉลี่ยของคะแนนการทดสอบหลังเรียน (E2) มีค่าเท่ากับ 81.33 แสดงว่าประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย สอนเมื่อเทียบกับเกณฑ์ 80/80 ปรากฏว่าบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่สร้างขึ้นมีประสิทธิภาพเป็นไปตามเกณฑ์ที่กาหนด ไว้ และนักศึกษาที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ได้คะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนเท่ากับ 37.50 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน 1.45 และคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนเท่ากับ 42.13 คะแนน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 1.97 เมื่อเปิดค่า t จากตาราง ที่ ระดับนัยสาคัญทางสถิติ (α) .05 แบบสองทาง (α / 2) และ df = 30 – 1 = 29 ได้ค่า t = 2.045 เมื่อเปรียบเทียบกับค่า t คานวณปรากฏว่ามากกว่าค่า t จากตาราง โดยสรุปพบว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนและหลังเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 โดยคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียน แสดงให้เห็นว่าบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วย สอนที่สร้างขึ้นทาให้นักศึกษามีความรู้เพิ่มมากขึ้น จากผลการวิจัยครั้งนี้ พบว่า การเรียนเสริมด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน รายวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดียที่สร้างขึ้น มี ประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนด ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการทาแบบฝึกหัดระหว่างเรียน (E1) มีค่าเท่ากับ 81.06 และแบบทดสอบหลังเรียน (E2) มีค่าเท่ากับ 81.33 หรือมีประสิทธิภาพ 81.06/81.33 สูงกว่าเกณฑ์การประเมินที่กา หนดไว้ 80/80 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานของการวิจัย และผู้เรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเสริมการเรียน มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าก่อนเรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เป็นไป ตามสมมติฐานการวิจัยที่ตั้งไว้ สรุปผลการวิจัย 1. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเสริม รายวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดีย มีประสิทธิภาพเท่ากับ 81.06/81.33 เมื่อเปรียบเทียบกับ เกณฑ์การประเมิน 80/80 มีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ที่กาหนด 2. ผู้เรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าก่อนเรียนแบบปกติอย่างมีนัยสาคัญทาง สถิติที่ระดับ .05 การนาผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ นาผลการวิจัยไปใช้สาหรับการเรียนการสอนในรายวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดีย ในหลักสูตรโปรแกรมวิชาวิทยาการ คอมพิวเตอร์และหลักสูตรโปรแกรมวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เพื่อเป็นทางเลือกให้นักศึกษาได้ศึกษาด้วยตนเองก่อนการ เรียนรายวิชานี้ เพื่อ่ให้เกิดความรู้ความเข้าใจและมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าการเรียนแบบปกติ กิตติกรรมประกาศ โครงการวิจัยนี้สาเร็จลุล่วงไปด้วยดี ด้วยความช่วยเหลือจากบุคคลหลายๆ ฝ่ายที่ให้คาแนะนา คาปรึกษา ข้อเสนอแนะต่างๆ อันเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการดาเนินการในครั้งนี้จากผู้ช่วยศาสตราจารย์ศิรวัฒน์ เฮงชัยโย อาจารย์สมพงษ์ ยิ่งเมือง และ อาจารย์กนกวรรณ แก้วเกาะสะบ้า ผู้ทรงคุณวุฒิที่กรุณาอย่างยิ่งต่อผู้ทาวิจัย โดยได้ให้คาปรึกษา ข้อเสนอแนะทางวิชาการใน การวิจัย ท้ายนี้ผู้จัดทาโครงการวิจัยขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ที่ให้ทุนสนับสนุนในการทาโครงการวิจัยในครั้งนี้ ขอขอบพระคุณอาจารย์ทุกท่านที่ประสิทธิ์ประสาทวิชาความรู้ และขอบคุณเพื่อน ๆ ตลอดจนภรรยา ซึ่งได้สนับสนุนและ ให้กาลังใจแก่ผู้จัดทาโครงการ ทาให้สามารถทาโครงการวิจัยครั้งนี้จนเสร็จลุล่วงได้ด้วยดี การประชุมวิชาการระดับชาติ
  • 4. เอกสารอ้างอิง จักรี รัศมีฉาย, 2543, การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนระบบมัลติมีเดีย เรื่องหลักการสร้างบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิตสาขาวิชาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีและ สารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. เชาวเลิศ เลิศชโลฬาร และกอบกุล สรรพกิจจานงค์, 2519, เทคโนโลยีการศึกษา ระดับอุดมศึกษา, กรุงเทพมหานคร, ทบวงมหาวิทยาลัย. ทวีศักดิ์ กาญจนสุวรรณ, 2552, เทคโนโลยีมัลติมีเดีย (Multimedia Technology). กรุงเทพฯ : เคพีที คอมพ์ แอนด์ คอนซัลท์,. ทวีศักดิ์ กาญจนสุวรรณ, 2546, Multimedia ฉบับพื้นฐาน. กรุงเทพฯ : เคพีที คอมพ์ แอนด์ คอนซัลท์,. ประสิทธิ์ ทีฑพุฒิ และ มรกต ทีฑพุฒิ, 2549, การประยุกต์ใช้มัลติมีเดีย พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: แอคทีฟ พริ้นท์. พูลศรี เวศย์อุฬาร, 2544, “ผลการเรียนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4” วารสารเทคโนโลยี สื่อสารการศึกษา ฉบับที่ 1, หน้า 133-137. มนต์ชัย เทียนทอง, 2545, “มัลติมีเดียและไฮเปอร์มีเดีย”. ภาควิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. วิชุดา รัตนเพียร, 2543, “การเรียนการสอนผ่านเว็บ”. ทางเลือกใหม่ของเทคโนโลยีการศึกษาไทย. วารสาร- ครุศาสตร์. ปีที่ 27 ฉบับที่ 3, หน้า 29-35. วิเทศ โพธิ์ทอง, 2545 การพัฒนาและหาประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน วิชาออกแบบ 1.วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์ อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. ล้วน สายยศ และอังคณา สายยศ, 2538, “เทคนิคการวิจัยทางการศึกษา”. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาน์ส. สมบูรณ์ โสภา, 2543, การสร้างและหาประสิทธิภาพบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนซ่อมเสริมวิชาคณิตศาสตร์ช่างยนต์. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิตภาควิชาครุศาสตร์เครื่องกล บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอม เกล้าพระนครเหนือ. เสาวณีย์ สิขาบัณฑิต, 2528 “เทคโนโลยีทางการศึกษา” กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี คณะครุศาสตร์ อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. Driscoll, M. (1997) Defining Imternet-Based and interaction, leaener control, Performance Improvement, 36(4), April 1997 : 5-9 Claek.,C.L(1966) A Student’ Guide to the Internet, Saddle River, New Jersey: Prentice Hall.