SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
โดย... กลุ่มโจโจ้ซัง
เกมส์
ปัญหาจากสถานการณ์จริง มีปฏิสัมพันธ์กับ
บทเรียน ครู และ
เพื่อนร่วม
ช่วยพัฒนาคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ และ
ทักษะต่างๆไปพร้อมกัน
เช่น การใช้ภาษา การรับ
ฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
ทักษะการให้เหตุผล
เกิดความภาคภูมิใจใน
ผลงาน และคาตอบของ
กลุ่มตน
ได้สร้างองค์ความรู้ด้วย
ตนเองผ่าน
ประสบการณ์จากการ
แก้ปัญหา
ครู
นาเสนอ
ผู้เรียน
บทบาทของการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือใน
การเรียนรู้เป็นอย่างไร
(1) Discovery tools
2) Knowledge creation tools
(3) Communication tool
การใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือทางปัญญา
แบ่งเป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ ประกอบด้วย
เป็นเครื่องมือที่สนับสนุนการเสาะแสวงหา สารสนเทศ การค้นหาข้อมูล เพื่อนามาซึ่งการค้นพสาร
สนเทศหรือความรู้ที่ต้องการเครื่องมือที่ช่วยในการค้นพบสารสนเทศจึงเป็นสิ่งที่จาเป็น
ซึ่งมี 2 ลักษณะคือ
 Seeking tool: เป็นเครื่องมือที่สนับสนุนการค้นหาสารสนเทศ การระบุตาแหน่งและ
นาเสนอสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง
ตัวอย่างเช่น Search engines, index, maps เป็นต้น
 Collecting tool เป็นเครื่องมือที่ใช้สาหรับการสะสม เก็บรวบรวมสารสนเทศที่
เกี่ยวข้อง ตัวอย่าง: Downloading, saving, bookmaking
เป็นต้น
2.1 เครื่องมือค้นพบ (Discovery tools) :
เป็นเครื่องมือที่สนับสนุนการสร้างความรู้ของผู้เรียน ที่เกิดขึ้นในความจาระยะสั้น (Short-term memory) เป็น
ระยะที่จะต้องประมวลผลสารสนเทศต่างๆที่รับผ่านเข้ามาจากการบันทึกผัสสะ เพื่อจัดระเบียบ หมวดหมู่ สร้างความสัมพันธ์
เครื่องมือสร้างความรู้มี 3 ชนิดคือ
 -Organizing tool : เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการจัดกลุ่มสารสนเทศที่เกี่ยวข้องอย่างเป็นหมวดหมู่ การเชื่อมโยง
ความคิดยอดของสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง ตัวอย่าง: Mind mapping, flow chart,
constructing table เป็นต้น
 -Integrating tool: เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเชื่อมโยงระหว่างสารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับแนวความคิดของ
ผู้เรียน ตัวอย่าง:
Annotation or typing note for information encountered:
Mapping tools, Simulations
 -Generating tool: เป็นเครื่องมือสาหรับใช้ในการสร้างสิ่งต่างๆอย่างเป็นรูปธรรม เนื่องจากอาศัยเพียงแค่
สมองคิด จิตนาการคงไม่เพียงพอที่จะท าให้ผู้เรียนเรียนรู้และเข้าใจได้ง่าย เครื่องมือนี้มีการพัฒนาอย่างแพร่หลายเช่น
Papert (1991) ได้สร้าง Lego, Micro world เป็นต้น
2.2 เครื่องมือสร้างความรู้(Knowledge creation tools):
เป็นเครื่องมือที่ใช้สนับสนุนการสื่อสาร สนทนาแลกเปลี่ยนแนวความคิดระหว่างผู้เรียนด้วยกันเอง
และผู้สอน เพื่อสร้างชุมชนในการเรียนรู้และสังคมของผู้เรียน เครื่องมือการสื่อสารมี 2 ลักษณะคือ
 Synchronous communication tools ใช้สนับสนุนปฏิสัมพันธ์
ที่เกิดขึ้นในเวลาเดียวกัน ตัวอย่าง: Chat, online conference, MSN
เป็นต้น
 Asynchronous communication tools ใช้สนับสนุน
ปฏิสัมพันธ์ที่ ไม่ได้เกิดขึ้นในเวลาเดียวกัน ตัวอย่าง: Web board, e-mail
2.3 เครื่องมือการสื่อสาร (Communication tool):
ให้เสนอรูปแบบการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือ
ในการจัดการเรียนรู้ตามสาระการเรียนรู้ที่นักศึกษา
รับผิดชอบ
ใช้คอมพิวเตอร์เป็นครู คือ ใช้คอมพิวเตอร์เป็นสื่อในการ
ถ่ายทอดความรู้และเนื้อหาการเรียนการสอนไปยังผู้เรียนโดนตรง
โดยนาเสนอการเรียนการสอน กิจกรรม การทดสอบผู้เรียน เช่น ใช้
คอมพิวเตอร์เป็นตัวกลางในการถ่ายทอดปัญหาทางคณิตศาสตร์ หรือ
สถานการณ์ปัญหาไปสู่ผู้เรียนหรือผู้แก้ปัญหา ใช้คอมพิวเตอร์เป็น
ตัวกลางในการถ่ายทอดความรู้ทางคณิตศาสตร์
ใช้คอมพิวเตอร์เป็นผู้ช่วย โดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นตัวช่วยในการ
ทางานต่างๆ เช่น ใช้คอมพิวเตอร์ในการออกแบบสื่อการเรียนการสอน ใช้
คอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในการสืบค้นเพื่อหาคาตอบ ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็น
ตัวช่วยในการคานวนให้มีความแม่นยามากขึ้น
การใช้คอมพิวเตอร์เป็นนักเรียน การใช้คอมพิวเตอร์เป็นผู้เรียน
คือวิธีการแบบเปิด (Open-ended approach)
ที่อาศัย ความสามารถของผู้เรียนในการสร้างความเข้าใจของตนเอง
เกี่ยวกับเนื้อหาและวิธีการใช้คอมพิวเตอร์ วิธีการนี้ผู้สอนสามารถ
นาไปใช้ในชั้นเรียนของตนเองได้
จัดทาโดย
นางสาวพรรณวิภา พรพิรุณโรจน์
นางสาวรติพร หินคา
นางสาววิจิตรา เทศประสิทธิ์
นางสาวอัจฉริยา เชื้อเพชร
563050113-9
563050125-2
563050133-3
563050408-0
กลุ่ม โจโจ้ซัง
Chapter 5

More Related Content

Viewers also liked

Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Aa-bb Sangwut
 
What is innovation
What is innovationWhat is innovation
What is innovationsaowana
 
Spreadsheets
SpreadsheetsSpreadsheets
Spreadsheetssaowana
 
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอสรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอpohn
 
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้กอ หญ้า
 
Work4 cognitive tools for open ended
Work4 cognitive tools for open endedWork4 cognitive tools for open ended
Work4 cognitive tools for open endedsaowana
 
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Nidnoy Thanyarat
 
Hw2 201700
Hw2 201700Hw2 201700
Hw2 201700saowana
 
Assessment v1
Assessment v1Assessment v1
Assessment v1saowana
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาpohn
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้pohn
 
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้TupPee Zhouyongfang
 
Emerging inlearning
Emerging inlearningEmerging inlearning
Emerging inlearningsaowana
 
Innovation design
Innovation designInnovation design
Innovation designsaowana
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาpohn
 
Chapter 4 1
Chapter 4 1Chapter 4 1
Chapter 4 1pohn
 
Assessment v2
Assessment v2Assessment v2
Assessment v2saowana
 

Viewers also liked (20)

Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
Computer Programming Languages_Cognitive Tools
Computer Programming Languages_Cognitive ToolsComputer Programming Languages_Cognitive Tools
Computer Programming Languages_Cognitive Tools
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
What is innovation
What is innovationWhat is innovation
What is innovation
 
Spreadsheets
SpreadsheetsSpreadsheets
Spreadsheets
 
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอสรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
สรุปรูปแบบของสื่อการนำเสนอ
 
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Work4 cognitive tools for open ended
Work4 cognitive tools for open endedWork4 cognitive tools for open ended
Work4 cognitive tools for open ended
 
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Hw2 201700
Hw2 201700Hw2 201700
Hw2 201700
 
Assessment v1
Assessment v1Assessment v1
Assessment v1
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
คอมพิวเตอร์เพื่อ การเรียนรู้
 
Emerging inlearning
Emerging inlearningEmerging inlearning
Emerging inlearning
 
Innovation design
Innovation designInnovation design
Innovation design
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
Chapter 4 1
Chapter 4 1Chapter 4 1
Chapter 4 1
 
Assessment v2
Assessment v2Assessment v2
Assessment v2
 

Similar to Chapter 5

เทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซัง
เทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซังเทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซัง
เทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซังPanwipa' Pornpirunroj
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3Bee Bie
 
Chapter 4 :สื่อการเรียนรู้
Chapter 4 :สื่อการเรียนรู้Chapter 4 :สื่อการเรียนรู้
Chapter 4 :สื่อการเรียนรู้ratiporn-hk
 
Chapter 5 computer for education
Chapter 5 computer for educationChapter 5 computer for education
Chapter 5 computer for educationPitanya Candy
 
คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่ 4 นายธวัช ปะธิเก 553050078-4
คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่ 4 นายธวัช  ปะธิเก 553050078-4คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่ 4 นายธวัช  ปะธิเก 553050078-4
คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่ 4 นายธวัช ปะธิเก 553050078-4Pui Chanisa Itkeat
 
การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้uncasanova
 
chapter 6 information technology for learning
chapter 6 information technology for learningchapter 6 information technology for learning
chapter 6 information technology for learningPacharaporn087-3
 
ใบงานท 4-8 (1)
ใบงานท   4-8 (1)ใบงานท   4-8 (1)
ใบงานท 4-8 (1)Kanyanat Khamkom
 
การพัฒนานวัตกรรมในการวิจัย
การพัฒนานวัตกรรมในการวิจัยการพัฒนานวัตกรรมในการวิจัย
การพัฒนานวัตกรรมในการวิจัยNU
 

Similar to Chapter 5 (20)

เทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซัง
เทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซังเทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซัง
เทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซัง
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
Chapter 4 :สื่อการเรียนรู้
Chapter 4 :สื่อการเรียนรู้Chapter 4 :สื่อการเรียนรู้
Chapter 4 :สื่อการเรียนรู้
 
chapter 5 computer for education
chapter 5 computer for educationchapter 5 computer for education
chapter 5 computer for education
 
Chapter 5 computer for education
Chapter 5 computer for educationChapter 5 computer for education
Chapter 5 computer for education
 
Innovation
InnovationInnovation
Innovation
 
Innovation...
Innovation...Innovation...
Innovation...
 
Chap.4
Chap.4Chap.4
Chap.4
 
Chap.4
Chap.4Chap.4
Chap.4
 
คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่ 4 นายธวัช ปะธิเก 553050078-4
คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่ 4 นายธวัช  ปะธิเก 553050078-4คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่ 4 นายธวัช  ปะธิเก 553050078-4
คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่ 4 นายธวัช ปะธิเก 553050078-4
 
การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
chapter 6 information technology for learning
chapter 6 information technology for learningchapter 6 information technology for learning
chapter 6 information technology for learning
 
Expand
ExpandExpand
Expand
 
3
33
3
 
บทที่ ๑.๒
บทที่ ๑.๒บทที่ ๑.๒
บทที่ ๑.๒
 
ใบงานท 4-8 (1)
ใบงานท   4-8 (1)ใบงานท   4-8 (1)
ใบงานท 4-8 (1)
 
การพัฒนานวัตกรรมในการวิจัย
การพัฒนานวัตกรรมในการวิจัยการพัฒนานวัตกรรมในการวิจัย
การพัฒนานวัตกรรมในการวิจัย
 

Chapter 5