SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
Download to read offline
บทที่ 3
ภูมิหลังการเมืองการปกครองไทย
ปญหาทางการศึกษาประวัติศาสตรไทย
การศึกษาประวัติศาสตรไทยประสบปญหาหลายประการ0
(1) ตางจากการศึกษาประวัติศาสตรประเทศ
อื่น ๆ ทั้งนี้เปนเพราะคนไทยมักไมคอยเก็บหรือจดบันทึกขอมูลทางประวัติศาสตร รวมทั้งการเก็บรักษาขอมูลก็
เปนไปไดยากยิ่ง แหลงขอมูลมีที่มาขัดกับขอเท็จจริงและหลักฐานที่คนพบ ปญหาอาณาจักรไทยเปนอีกปญหา
หนึ่งที่นักวิชาการไดพยายามศึกษาวิจัย จนพบวา อาณาจักรแรกของไทยที่วาเริ่มตั้งแตสมัยสุโขทัย อยุธยา กรุง
ธนบุรี และรัตนโกสินทร ตามลําดับอาจจะไมใช เนื่องจากงานวิจัยตอมาพบวา เมืองสุพรรณบุรี ลพบุรี
เชียงใหม และนครศรีธรรมราช อาจมีความเจริญรุงเรืองกวาในยุคเดียวกัน ปญหาตอมาคือ อาณาจักรอื่น ๆ
นอกจากกรุงสุโขทัย ปกครองโดยคนไทยหรือไม ถาตอบวา ใช อยางนั้นแลวทําไมจึงถือวากรุงสุโขทัยเปน
อาณาจักรเดียวของชาวไทย และใครคือคนไทย เนื่องจากที่ตั้งของประเทศไทยปจจุบันเปนที่รวมของคนหลาย
เชื้อชาติและเผาพันธุผสมทั้งไทย จีน ลาว มอญ เขมร เวียดนาม พมา มาเลเซีย ฯลฯ ผสมปนเปกันเสีย
จนกระทั่งวาเราจะหาใครสักคนเพื่อดูเผาพันธุของเขาแลวอางไดวาเปนคนไทยบริสุทธิ์ไดยากเหลือเกิน
การศึกษาและวิเคราะหประวัติศาสตรไทยมีอยูหลายแนวทางตางกันออกไป เหมือนสาขาวิชา อื่น ๆ
ความแตกตางในการศึกษาและความทั้งหลาย อธิบายไดจากภูมิหลังของนักวิชาการและสถานการณทาง
การเมืองในยุคหนึ่ง ๆ บอยครั้งที่การวิเคราะหและการเลือกใชขอมูลทํากันเพื่อจุดประสงคทางการเมือง เฉพาะ
กรณี ดังนั้นบางครั้งการศึกษาประวัติศาสตรไทยจึงถูกชี้นําโดยอุดมการณทางการเมืองและคานิยมทางสังคม
เพิ่งจะเร็ว ๆ นี้เองที่สํานึกศึกษาประวัติศาสตรไทยแนวใหมไดพัฒนาขึ้น กลาวคือ มุงจะวิเคราะหประวัติศาสตร
ไทยอยางที่เกิดขึ้นจริง ๆ (อาศัยขอมูลจริงเปนพื้นฐาน) และขยายขอบขายการศึกษาออกไปครอบคลุมแงมุม
อื่น ๆ ของสังคม เชน เศรษฐกิจ โครงสรางของสังคม ระบบการเมือง วัฒนธรรม และคานิยม ฯลฯ ซึ่งเปน
การศึกษาประวัติศาสตรเชิงสังคม หรือประวัติศาสตรทางสังคม เปนการศึกษาที่ตรงกันขามกับแนวทาง
การศึกษาเดิมที่รวมศูนยอยูที่ชนชั้นนําทางการเมือง อันไดแกชนชั้นปกครองที่ประกอบดวยกษัตริย ราชวงศ
และตระกูลขุนนาง
แนวทางการศึกษาภูมิหลังการเมืองไทย เปนการศึกษาทรรศนะดั้งเดิมที่มองวา ประวัติศาสตร
คลี่คลายมาเปนลําดับ จากสุโขทัยมากรุงศรีอยุธยา กรุงธนบุรี และกรุงเทพฯ จนมาถึงปจจุบัน ประเทศไทยได
(1)ลิขิต ธีรเวคิน, ศาสตราจารย์, วิวัฒนาการการเมืองการปกครองไทย. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุเทพฯ : โรพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, หน้า 6-232
42
ชื่อวาเปนประเทศเกาแกที่มีประวัติความเปนมายาวนานชาติหนึ่ง แมวาหลักฐานเกี่ยวกับการปฐมกําเนิดของ
ชาติไทยไมสามารถยืนยันไดแนชัด การศึกษาสมควรเริ่มตนตั้งแตไทยตั้งอาณาจักรมั่นคงในแหลมทอง เมื่อ
พ.ศ. 1781 อาณาจักรแรกของชาติไทย คือ อาณาจักรสุโขทัย ซึ่งสถาปนาโดยพอขุนศรีอินทราทิตย ตน
ราชวงศพระรวง ประกาศตนเปนอิสระจากขอมซึ่งยึดครองดินแดนแถบนั้นอยูในสมัยนั้น
อาณาจักรสุโขทัย (1781 – 1981)1
(2)
อาณาจักรสุโขทัย เมื่อแรกตั้งเปนอาณาจักรเล็ก ๆ สมัยรุงเรืองที่สุด คือ พอขุนรามคําแหง ซึ่งแผขยาย
อาณาเขตกวางขวางออกไป ทิศเหนือจดเมืองลําพูน ทิศตะวันออกเฉียงเหนือจดเทือกเขาดงพญาเย็นและภูเขา
พนมดงรัก ทิศตะวันตกถึงเมือวงหงสาวดี ทางใตลงไปถึงแหลมมลายู มีกษัตริยปกครองเปนเอกราชติดตอกัน
มาหลายพระองค อาณาจักรสุโขทัยเสื่อมและตกเปนเมืองขึ้นของกรุงศรีอยุธยา สมัยพญาไสลือไท ซึ่งทํา
สงครามปราชัยแกพระบรมราชที่ 1 แหงกรุงศรีอยุธยาในป 1921 แตกษัตริยราชวงศพระรวงยังปกครองใน
ฐานะประเทศราชยตอมาอีก 2 พระองค จึงสิ้นสุดราชวงศ พ.ศ. 1981
1. ลักษณะการปกครอง2
(3)
สุโขทัยมีรูปแบบการปกครองแบบราชาธิปไตยแบบสมบูรณาญาสิทธิราช (Absolute Monarchy)
อํานาจอธิปไตยหรือ อํานาจสูงสุดในการปกครองอยูที่กษัตริยหรือพอขุนเพียงพระองคเดียว แตกษัตริยสุโขทัย
ปกครองประชาชนในลักษณะบิดาปกครองบุตร คือ ถือตนเปนพอของราษฎร
บิดายอมมีหนาที่ใหความคุมครองปกปองกันภัยและสงเสริมความสมบูรณพูนสุขใหแกบัตร บุตรยอม
ตองมีหนาที่ใหความเคารพนับถือตอบิดา ฉันทใดก็ฉันทนั้น พอขุนยอมอยูในฐานะเปนที่เคารพของประชาชน
คุมครองปองกันภัยใหแกประชาชน สงเสริมความอยูดีกินดีใหแกประชาชน ประชาชนตองมีหนาที่ใหความ
เคารพเชื่อฟงพอขุน
แมวาระบบการปกครองของสุโขทัยจะเปนแบบเผด็จการ เพราะอํานาจสูงสุดเด็ดขาด ไมวาจะดานนิติ
บัญญัติ บริหาร และตุลาการ รวมอยูที่พอขันเพียงพระองคเดียว และพอขุนไมจําเปนตองรับผิดชอบตอ
ประชาชน แตดวยการจําลองลักษณะครอบครัวมาใชในการปกครอง ทําใหลักษณะการใชอํานาจของพอขุน
เกือบทุกพระองคเปนไปในลักษณะใหความเมตตา และเสรีภาพแกราษฎรพอสมควร
(2)สมบัติ จันทรวงศ์และชัยอนันต์สมุทวณิช, ความคิดทาการเมืองและสังคมไทย (กรุเทพฯ : สถาบันไทยคดีศึกษา, 2523). หน้า 5
(3)ถนอม อานามวัฒน์ และคณะ, ประวัติศาสตร์ไทยยุคก่อนประวัติศาสตร์ถึงสิ้นอยุธยา (กรุงเทพฯ : แสงรุ่งการพิมพ์, 2523). หน้า 88-95
43
การปกครองหัวเมืองหรือการปกรองสวนภูมิภาค3
(4) ศูนยกลางของอํานาจในการวินิจฉัยสั่งการอยูที่
เมืองหลวง และแบงหัวเมืองออกเปน 3 ประเภท คือ
1. หัวเมืองชั้นใน ไดแก เมืองหนาดานหรือเมืองลูกหลวงลอมรอบราชธานีทั้ง 4 ดาน มีศรีสัชนาลัย
(เหนือ) สองแคว (ตะวันออก) สระหลวง (ใต) และกําแพงเพชร (ตะวันตก)
2. หัวเมืองชั้นนอก ไดแก เมืองทาวพระยามหานครที่มีผูปกครองดูแลโดยตรง แตขึ้นอยูกับสุโขทัยใน
รูปลักษณะการสวามิภักดิ์ในฐานะเปนเมืองขึ้นหรือเมืองออก หัวเมืองชั้นนอกมี แพรก, อูทอง, ราชบุรี, ตะนาว
ศรี, แพร, หลมสัก, เพชรบูรณ และ ศรีเทพ
3. เมืองประเทศราชย ไดแก เมืองที่ชาวตางภาษา มีกษัตริยปกครองขึ้นกับสุโขทัย ในฐานะประเทศ
ราช มีนครศรีธรรมราช, มะละกา, ยะโฮว, ทะวาย, เมาะตะมะ, หงสาวดี, นาน, เซา, เวียงจันทร และเวียงคํา
เนื่องจากในสมัยพอขุนรามคําแหงไดมีการประดิษฐอักษรไทยขึ้นใช จึงนับวาไดมีกฎหมายลายลักษณ
อักษรใช กฎหมายที่ปรากฏในศิลาจารึกเปนกฎหมายที่ไมไดแยกประเภทไว เพราะมีประชากรไมมากนัก และ
สังคมไมยุงยากซับซอน ราษฎรมีสิทธิถวายฎีกาหรือรองทุกขโดยตรงตอพอขุน โดยในสมัยพอขุนรามคําแหงได
มีกระดิ่งแขวนไวที่ประตูวัง ถาใครตองการถวายฎีกาใหไปสั่นกระดิ่ง พระองคจะชําระความใหโทษสําหรับ
ผูกระทําผิด ไดแก การเฆี่ยนตี, กักขัง, ปรับ ไมปรากฏหลักฐานวามีการประหารชีวิต
2. สภาพเศรษฐกิจและสังคม
สังคมสุโขทัย เปนสังคมเกษตรกรรม เศรษฐกิจของสุโขทัย คือ การทํานา ทําสวน มีทั้งนาขาวและสวน
ผลไม อาหารของพลเมือง คือ ขาว ผลไม และปลา ขอความในศิลาจารึกที่วา “ในน้ํามีปลา ในนามีขาว” แสดง
ใหเห็นสภาพเศรษฐกิจวา มีความสมบูรณพูนสุข ทั้งนี้เนื่องจากจํานวนประชากรมีนอยกวาทรัพยากรธรรมชาติ
และอาหาร อยางไรก็ตาม ในสมัยสุโขทัยมีทาส ทาสสวนใหญเปนพวกไพรพลของเมืองอื่น ซึ่งสุโขทัยชนะ
สงคราม และกวาดตอนผูคนมาเปนทาส ทาสอีกประเภทหนึ่งคือ ทาสที่เปนพลเมืองแตจําเปนตองเปนทาส
เพราะความจําเปนทางเศรษฐกิจ4
(5)
สุโขทัยนอกจากมีความสัมพันธอันดีกับรัฐไทยอิสระทางภาคเหนือ ไดมีการติดตอคาขายกับ
ตางประเทศ เชน จีน มลายู ลังกา และมอญ มีการสนับสนุนการคาโดยไมเก็บภาษี “จกอบ” หรือศุลกากรเพื่อ
ตองการใหพอคามีความสนใจเรื่องทําการคา เนื่องจากสังคมสุโขทัยเปนสังคมที่ตองพึ่งธรรมชาติ พลเมืองจึงมี
ความเชื่อในเรื่องสิ่งศักดิ์สิทธิ์ อิทธิฤทธิ์ ที่พิสูจนไมได (Animism) เชน เชื่อวามี เทพยดา, ภูตผีปศาจประจําสิ่ง
(4)วิศิษฐ์ ทวีเศรษฐ์ และสุขุม นวลสกุล, การเมืองและการปกครองไทย คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง (กรุงเทพฯ : 2543). หน้า 44-45
(5)ชัยอนันต์สมุทวณิช. ศักดินากับพัฒนาการสังคมไทย (กรุงเทพฯ : นําอักษรการพิมพ์, 2519). หน้า 25-26
44
ตาง ๆ เชน ภูเขา แมน้ํา ฯลฯ และสามารถบันดาลสิ่งตาง ๆ ใหเกิดขึ้นกับตนได มีการนําเอาศาสนาพุทธแบบ
ลังกาเขามาเปนศาสนาประจําชาติ
เพราะฉะนั้นในสมัยสุโขทัยระบบความเชื่อเปนรูปผสมระหวางลัทธิพราหมณ ซึ่งมีอิทธิพลดั้งเดิม ของ
พวกขอมที่มีอยู รวมทั้งความเชื่อถือในภูตผีปศาจ วิญญาณ และความเชื่อตามคติแหงพุทธศาสนา ซึ่งแสดงให
เห็นถึงความสามารถในการประสานประโยชนของคนไทย ไมใหมีความรูสึกขัดแยงเกิดขึ้นจากศาสนาหรือความ
เชื่อ
สมัยอยุธยา (1983-2310)
กษัตริยผูสถาปนากรุงศรีอยุธยาเปนราชธานี คือ พระเจาอูทอง (พระรามาธิบดีที่ 1) เมื่อ พ.ศ. 1983
และสามารถผนวกสุโขทัยเขาไวในอาณาจักรไดในสมัยพระบรมราชาที่ 1 พ.ศ. 1921 เปนอาณาจักรที่มีความ
รุงเรืองมาก มีฐานะเปนเสมือนมหาอํานาจสําคัญในดินแดนแหลมทอง เคยแผบารมีเขายึดครองประเทศราช
ใกลเคียงอยูเสมอ กรุงศรีอยุธยามีกษัตริยผลัดเปลี่ยนกันขึ้นปกครองถึง 34 พระองค จนกระทั่งเสียกรุงใหกับ
พมา พ.ศ. 2310 ในแผนดินพระเจาเอกทัศน จึงไดหมดยุคสมัยลง
1. ลักษณะการปกครอง
ระบบการปกครองในสมัยอยุธยา5
(6) เปนเชนเดียวกับสุโขทัย คือ เปนระบบราชาธิปไตยแบบ
สมบูรณาญาสิทธิราช อํานาจอธิปไตยอยูที่กษัตริยเพียงพระองคเดียว อยาไรก็ตาม แนวความคิดของกษัตริยได
เปลี่ยนแปลงไปตามคติพราหมณนํามาโดยพวกเขมร โดยถือวากษัตริยเปนผูที่ไดรับอํานาจมาจากสวรรคหรือ
พระเจามนุษยโลก
กษัตริยตามแบบเทวสิทธิ (Divine Right) ถือวา เปนเสมือนเจาชีวิต ทรงมีพระราชอํานาจเด็ดขาด
สามารถที่จะกําหนดชะตาชีวิตของผูที่อยูใตปกครองได กษัตริยไมรับผิดชอบตอประชาชน เพราะปกครองดวย
อาณัติจากสวรรคหรือตามเทวโองการ ประชาชนไมมีสิทธิถอดถอนกษัตริย กษัตริยเปนเสมือนตัวแทนของพระ
เจา ลักษณะการปกครองเปนแบบปกครองบาว (Autocratic Government) หรือเจาปกครองขา
พระรามาธิบดีที่ 1 วางระบบการปกครองสวนกลางเปนแบบ “จตุสดมภ” ตามแบบของขอม6
(7) มี
กษัตริยเปนผูอํานวยการปกครองสูงสุด และมีเสนาบดี 4 คน คือ ขุนเมือง, ขุนวัง, ขุนคลัง และขุนนา เปน
ผูชวยดําเนินการเกี่ยวกับกิจการทั้ง 4 คือ
(6)ศักดิ์ ผาสุกนิรันทร์, การปกครองไทย (กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2514). หน้า 41
(7)สมพงษ์เกษมสิน, การปกครองของไทย (กรุเทพฯ : ไทยวัฒนาพาณิช, 2515).หน้า 38
45
1. เมือง รับผิดชอบเกี่ยวกับการรักษาความสงบและปราบปรามโจรผูราย
2. วัง มีหนาที่เกี่ยวกับราชสํานักและการยุติธรรม ตัดสินคดีความตาง ๆ
3. คลัง ไดแก งานดานคลังมหาสมบัติ การคา และภาษีตาง ๆ
4. นา รับผิดชอบเกี่ยวกับการเกษตร
การปกครองสวนภูมิภาค7
(8) หรือหัวเมืองชั้นนอกในระยะแรก พระรามาธิบดีที่ 1 ทรงเลียนแบบสุโขทัย
คือ มีหัวเมืองชั้นใน หัวเมืองชั้นนอก แบะเมืองประเทศราช ตอมาในสมัยพระบรมไตรโลกนารถ ไดทําการ
ปฏิรูปการปกครองหัวเมืองใหมีลักษณะรวมอํานาจไวที่ศูนยกลาง คือ เมืองหลวงมากขึ้น โดยขยายอาณาเขต
หัวเมืองชั้นในใหกวางขวางกวาเดิม หัวเมืองชั้นนอกก็เปนเมืองชั้นเอก โท ตรี โดยลําดับตามขนาดและ
ความสําคัญของแตละเมือง สงขุนนางหรือพระราชวงศไปทําการปกครอง แตเมืองประเทศราชยังปลอยใหมี
อิสระในการปกครองเชนเดิม
ในสมัยพระบรมไตรโลกนาถ (1991-2031) ไดปรับปรุงระบบบริหารใหมโดยแยกการบริหารราชการ
ออกเปนฝายพลเรือนและฝายทหาร สมุหนายกเปนผูรับผิดชอบดานพลเรือน บริหารกิจการเกี่ยวกับเมือง วัง
คลัง และนา สวนสมุหกลาโหมรับผิดชอบดานทหารและการปองกันประเทศ แตภายกลังในสมัยพระเทพราชา
ราว พ.ศ. 2234 ทั้งสมุหนายกและสมุหกลาโหมตองทํางานทั้งดานทหารและพลเรือน พรอมกัน โดยแบง
ใหสมุหกลาโหมปกครองทั้งฝายพลเรือนและทหารในหัวเมืองภาคใตทั้งหมด สวน สมุหนายกควบคุมหัว
เมืองทางเหนือทั้งหมด
2. กฎหมาย
ในสมัยพระรามาธิบดีที่ 1 ไดทรงตรากฎหมายขึ้นประกาศใชหลายฉบับ เชน กฎหมายลักษณะพยาน,
ลักษณะอาญาหลวง, ลักษณะรับฟอง, ลักษณะลักพา ฯลฯ โดยเลียนแบบเอามาจากเขมรและมอญ ซึ่งมี
รากฐานเดิมมาจากคัมภีรมโนสารของอินเดีย “เพราะเหตุที่ไปเก็บเอาของซึ่งเขาทําไวเสร็จมาใช กฎหมาย
เหลานี้จึงนับวาเรียบรอยมาก และเราไดใชกันมาตลอด 500 ป”(9)
พ.ศ. 1993 พระบรมไตรโลกนาถ ไดตรากฎมณเฑียรบาลขึ้นเปนครั้งแรก กําหนดลําดับฐานันดรศักดิ์
ของพระราชวงศ มเหสี ตลอดจนถึงโอรสและธิดา อันกําเนิดมาจากพระชายาตาง ๆ นอกจากนี้ “กฎมณเฑียร
บาลบงแถลงขอบังคับการครอบครองพระราชวัง การจัดพระราชพิธีและพิธีทางศาสนาตาง ๆ ทั้งพุทธและ
พราหมณ9
(10) กฎหมายวาดวยศักดินากําเนิดขึ้นในรัชสมัยของพระบรมไตรโลกนาถเชนกัน”
(8)เล่มเดียวกัน, หน้า 41-43
(9)วิจิตรวาทการ, การเมืองการปกครอง กรุงสยาม (กรุเทฯ : ไทยใหม่, 2475). หน้า 31-32
(10) จุลจักรพงษ์, เจ้าชีวิต, หน้า 39
46
3. สภาพเศรษฐกิจและสังคม
การเกษตรกรรมยังเปนเศรษฐกิจหลักของชาวไทยสมัยอยุธยาเชนเดียวกับสมัยสุโขทัย แตในดานการ
คาขายไดขยายตัวกวางขวางขึ้น มีการเก็บภาษีจังกอบ หรือภาษีศุลกากร ภาษีขนอน หรือภาษีสินคา ในสมัยนี้
นอกจากการคาขายกับชาติตาง ๆ ในเอเชียแลวยังไดคาขายกับตะวันตกดวย ชาติแรกที่เขามาคือ โปรตุเกส
โดยทูตชื่อ ดูอารต เฟอนันเดซ (Duarte Fernandez) ในสมัยพระราชมาธิบดีที่ 2 พ.ศ. 2061 ไดมีการเซ็น
สัญญาอนุญาตใหชาวโปรตุเกสทํามาคาขายในดินแดนไทยได10
(11) ตอจากนั้นก็มีชาติอื่น เชน สเปน, อังกฤษ,
ฮอลันดา และฝรั่งเศส ทยอยกันเขามามีความสัมพันธทางการคากับไทย
โดยปกติกษัตริยไทยมักใหการตอนรับชนตางชาติเปนอยางดี ยอมรับความสามารถรับเขาเปน
ขาราชการ เปนขุนนางในตําแหนงสูงก็มี บางครั้งก็มีกองกําลังตางชาติประจําการเปนอาสาประจําอาณาจักรใน
สมัยพระนารายณไดสงคณะทูตออกเดินทางไปยุโรปเพื่อเจริญสัมพันธไมตรีกับฝรั่งเศสเมื่อ พ.ศ. 2223 ในสมัย
นี้ไทยกับฝรั่งเศสไดมีการแลกเปลี่ยนทูตกันหลายครั้ง หลังจากสมัยพระนารายณลงมา อิทธิพลของชาติ
ตะวันตกในพระราชสํานักจึงไดลดลง เพราะกษัตริยของอยุธยาตอนปลายไมนิยมชาวตะวันตก
ในสมัยอยุธยา การแบงแยกชนชั้นมีลักษณะเห็นเดนชัด ชนชั้นของอยุธยามี 3 ชนชั้น คือ กษัตริย
ราชวงศ และขุนนางระดับสูง ผูดีมีฐานะและขุนนาง ซึ่งมีศักดินา 400 ไรขึ้นไป และไพร11
(12) ผูถือศักดินาตํากวา
400 ไร รวมทั้งทาส แมจะมีการแบงแยกชนชั้น แตการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลง (Mobility) ระหวางชนชั้น
เปนไปโดยงายโดยผานทางระบบราชการ ชนชั้นต่ําหากเขาเปนขาราชการ และทําการไดถูกประสงคของชน
ชั้นสูงก็มีสิทธิที่จะเลื่อนขั้น ชนชั้นสูงหากประพฤติผิดก็อาจถูกริบทรัพยสมบัติกลายเปนชนชั้นต่ําได สิ่งที่ควร
ระลึกถึงก็คือวา การเลื่อนฐานะของคนในสังคมไทย สมัยกรุงศรีอยุธยานั้นเปนไปไดทางเดียว ไมมีทางอื่น
คือ จะตองเขารับราชการและเลื่อนฐานะของตนขึ้นไปภายในระบบราชการเทานั้น12
(13)
วัด เปนสถาบันที่สําคัญมากในสมัยอยุธยา เปนศูนยกลางที่ชุมนุมของชาวบาน เปนโรงเรียนสําหรับ
นักศึกษา ภิกษุสงฆเปนบุคคลที่ประชาชนใหความเคารพนับถือ เปนที่พึ่งทางใจและที่ปรึกษา พระในสมัย
อยุธยามีอภิสิทธิ เชน ไมตองเปนทหาร สมัยพระนารายณถึงตองตรากฎไววา พระตองเรียนหนังสือในระหวาง
บวช มิฉะนั้นจะถูกจับสึกและออกมาเปนทหาร
แมวาจะมีความแตกตางระหวางชนชั้นมาก แตสังคมสมัยอยุธยาก็ไมมีการขัดแยงระหวางชนชั้น ทั้งนี้
อาจเปนเพราะการควบคุมโดยอํานาจอยางเด็ดขาด สามัญชนอยูดวยความกลัวและยอมรับสภาพตนเอง เชื่อ
(11) จุลจักรพงษ์, เจ้าชีวิต, หน้า 42
(12) วารุณี โอสถารมย์และอัญชลี สุสายัณห์, “กบฏไพร่สมัยพระราชา.” วารสารศาสตร์, ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 (มิ.ย. – ก.ย.) พ.ศ. 2519, หน้า 54-56
(13) ชัยอนันต์สมุทวณิช, ศักดินากับพัฒนาการของสังคมไทย, หน้า 88
47
ฟงผูมีอํานาจโดยไมชัดขืน อิทธิพลของความเชื่อถือในเรื่องบาปและบุญ ตลอดจนอํานาจศักดิ์สิทธิ์ อิทธิฤทธิ์ มี
สวนชวยกลอมเกลาใหคนมีนิสัยยอมรับ แมบางครั้งถูกกดขี่จากผูมีอํานาจ
การเสียกรุงศรีอยุธยาในป พ.ศ. 2310 เปนเรื่องที่ตื่นตระหนกสําหรับชาวไทย กรุงศรีอยุธยาถูกปลน
และเผาวอดวายลง ผูคนนับลานถูกสังหาร เชื้อพระวงศในราชวงศบานพลูหลวง อันเปนราชวงศที่ 5 และ
ราชวงศสุดทายที่ปกครองกรุงศรีอยุธยาถูกกวาดตอนเปนเชลยศึกไปยังพมา กองทหารพมามุงทําลายลางกรุง
ศรีอยุธยาใหพินาศสิ้นไปอยางถาวร และไดกวาดตอนชาวไทยเปนเชลยศึก และใชใหเปนทาส
สมัยกรุงธนบุรี (2310-2325)13
(14)
สมัยกรุงธนบุรี นับไดวาเปนระยะการเปลี่ยนผานในหลาย ๆ ดาน สมเด็จพระเจาจากสินยายที่ตั้ง
รัฐบาลไปยังกรุงธนบุรีแทนที่จะอยูอยุธยาตอไป เพราะกรุงศรีอยุธยาอยูในสภาพปรักหักพัง เหลือวิสัยที่จะ
ฟนฟูบูรณะ กรุงธนบุรีอยูถัดลงไปทางใต และจาดที่นั้นอาจถอยหนีไปทางจันทบุรีทางเรือไดสะดวก เมือง
จันทบุรีก็เปนที่มั่นของพระเจาตากสินมาแตเดิม เนื่องจากพระองคทรงคบคาสมาคมกับพอคาจีน ที่ตั้ง
บานเรือนอยูที่กรุงธนบุรีและบางกอก ประกอบกับพระองคมีความชํานาญในทางการรบทางเรือดวยจึงนาจะ
เปนไปไดวาพระองคอาจทรงดําริถึงการยายกําลังทัพไปจันทบุรียามพมาเขาโจมตีใหญ
รัชสมัยของพระเจาตากสินมิไดเปนไปโดยสะดวกราบรื่น ราษฎรยังเสียขวัญไมหายที่พมาบุกโจมดี
ทําลายกรุงศรีอยุธยา พระราชกรณียกิจเฉพาะหนา หลังจากขับไลพมาขาศึกออกไปได คือ การเสริมสรางพระ
ราชอํานาจของพระองคใหมั่นคง ยังมีกลุมอื่น ๆ ที่กระหายอยากจะเปนกษัตริยอยูอีก นอกจากปญหาการเมือง
แลว ก็ยังมีปญหาเศรษฐกิจ สงครามทําใหขายากหมากแพง พระองคทรงตั้งโรงทานแจกจายขาวปลาอาหาร
เพื่อประทังความอดอยากของราษฎรไวกอน การขาดแคลนรายไดเขาแผนดินก็เปนปญหาสําคัญประการหนึ่ง
ที่สําคัญกวานั่นก็คือ พมาซึ่งไมคาดคิดวาชาวไทยจะรวมตัวกันตั้งอาณาจักรไดอีก ไดยกทัพมาโจมตี รัชสมัย
พระเจาตากสินจึงเกิดสงครามทั้งภายในภายนอกไมขาดสาย พระเจาตากสินก็ไดทรงปฏิบัติภารกิจสมกับที่เปน
พระมหาราชเจา โดยรักษาชาติไทยไวเปนพื้นฐานแกการตั้งกรุงรัตนโกสินทร ตอมาพระเจาตากสินทรงถูก
สําเร็จโทษหลังจากทรงครองราชยอยูเพียงชวงเวลาสั้น ๆ สั้นเสียจนกระทั่งไมทันไดสรางพระราชวังเสียดวยซ้ํา
ไป พงศาวดารเลาวา หลังจากพระองคทรงกรําศึก และพระราชกิจอันหนักหนวงอยูนานปก็ทรงหันไปสงบ
พระทัยโดยการปฏิบัติธรรม อางกันวาพระองคทรงสติวิปลาส ฟนเฟอนไป และทรงถูกทุบดวยทอนจันทรจน
เสด็จสวรรคต ซึ่งเปนวิธีการประหารเชื้อพระวงศมาแตเดิม
(14) ลิขิต ธีรเวคิน, ศาสตราจารย์ดร., วิวัฒนาการการเมืองการปกครองไทย (กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2539), หน้า 68-71
48
นาสังเกตวา ในรัชสมัยสมเด็จพระเจาตากสินมีการสักไพรทั้งมวล เพื่อติดตามจํานวนไพรขึ้นทะเบียน
เดิมทีในสมัยอยุธยาจะมีการสักกันเฉพาะไพรสังกัดกรมกองทหารเทานั้น แตสมัยกรุงธนบุรีก็ขยายออกไปเปน
สักไพรทั้งหมด ไพรจะถูกสักเลขและมูลนายที่ตนสังกัดไวที่ขอมือ มาตรการนี้เปนสิ่งจําเปน เพราะการเสียกรุง
ศรีอยุธยาทําใหการจัดองคการทางการเมืองและสังคมเสื่อมทรุดไปดวย ระบบไพรที่ใชรอยสักเปนเครื่อง
ตรวจสอบ จึงถูกใชเพื่อจัดระเบียบชาติไทยขึ้นใหม พึงตราขอความสําคัญไวในที่นี้วาถึงแมระบบไพรจะมีผลเสีย
มากมาย แตก็ทําหนาที่สําคัญอยางหนึ่ง คือ เปนกลไกสรางหนวยรวมหรือสรางชาติที่มีการจัดตั้งขึ้นมาภายหลัง
รัฐเดิมพินาศไป ระบบไพรมีบทบาทสําคัญในการที่ทําใหคนไทยรวมตัวกันติด ซึ่งนับเปนองคประกอบสวนหนึ่ง
ของพลังฟนตัวของชาติไทย
1. ความสัมพันธภายนอก
เนื่องจากรัชสมัยสมเด็จพระเจาตากสินสิ้น จึงไมพบวามีความสัมพันธกับภายนอกที่สําคัญใด ๆ
นอกจากการรบกับพมาหลายครั้ง และการรบภายในเพื่อรวมชาติ ความจริงแลวสมัยนี้มีการรบพุงกันไมขาด
สายจนสามารถเรียกไดวาเปนสมัยรัฐสงคราม ขอเท็จจริงที่นาสังเกตคือ มีการสงคณะทูตบรรณาการไปราช
สํานักจีนหนึ่งชุด และมีการขยายการคาสําเภา นอกจากนี้ยังมีจีนอพยพมาตั้งหลักแหลงในอาณาจักรเพิ่มมาก
ขึ้นเรื่อย ๆ
สมัยกรุงรัตนโกสินทร (2325-2475)
ลักษณะการปกครองไมไดมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงไปจากรูปเดิมที่อยูในสมัยอยุธยา เพิ่งจะมา
เปลี่ยนแปลงในทางปฏิรูปในสมันรัชกาลที่ 5 พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว อยางไรก็ตาม อาจกลาวไดวาการ
ปรับปรุงระเบียบแบบแผนการปกครองในสมัยรัชกาลที่ 5 เปนเพราะการวางแนวรากฐานเตรียมพรอมไว
สําหรับการปฏิรูปโดยรัชกาลที่ 4 พระจอมเกลาเจาอยูหัว1 4
(15) เพราะพระองคไดทรงสนับสนุนใหมีการศึกษา
อารยธรรมตะวันตก เปนเหตุใหไดรับทราบถึงความเจริญกาวหนาในหลักการปกครองของตะวันตก และนํามา
ปรับปรุงในการปกครองไทย
1. การปฏิรูประบบการปกครอง15
(16)
รัชกาลที่ 5 ไดทรงยกเลิกตําแหนงอัครเสนาบดี 2 ตําแหนง คือ สมุหกลาโหม และสมุหนายก รวมทั้ง
จตุสดมภ โดยแบงการบริหารออกเปนกระทรวงตามแบบอารยประเทศ และใหมีเสนาบดีเปนผูวาการแตละ
(15) ศักดิ์ ผาสุกนิรันดร์, การปกครองไทย, หน้า 49-51
(16) วิศิษฐ์ ทวีเศรษฐ์ และ สุขุม นวลสกุล, การเมืองและการปกครองไทย, หน้า 51-55
49
กระทรวง เสนาบดีกระทรวงทุกระทรวงมีฐานะเทากันและประชุมรวมกันเปนเสนาบดีสภา (Council of
State) ทําหนาที่เปนที่ปรึกษาและชวยบริหารราชการแผนดินตามที่กษัตริยมอบหมาย เพราะอํานาจสูงสุด
เด็ดขาดเปนของกษัตริยตามระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช ตอมา พ.ศ. 2407 ไดทรงยกเลิกและตั้งเปนรัฐ
มนตรีสภาขึ้นแทน นอกจากนี้ทรงตั้งองคมนตรีสภาขึ้นอีก สภาองคมนตรีถือเสมือนหนึ่งเปนสภารองลงมาจาก
รัฐมนตรีสภา
ในดานการปกครองสวนภูมิภาคหรือการปกครองหัวเมืองไดแก พ.ร.บ.ปกครองทองที่ ร.ศ.116 และ
พ.ร.บ. ลักษณะปกครองทองที่ พ.ศ. 2457 เปนผลใหมีการจัดตั้งมณฑล, จังหวัด, อําเภอ และหมูบาน สําหรับ
การปกครองทองถิ่นไดจัดใหมีสุขาภิบาล ซึ่งมีหนาที่คลายเทศบาลในปจจุบัน โดยจัดตั้งครั้งแรกที่กรุงเทพฯ
และทาฉลอม ปรากฏวาดําเนินการไดผลดีเปนอยางมาก จึงไดตราพระราชบัญญัติสุขาภิบาล พ.ศ. 2458 โดย
แบงสุขาภิบาลออกเปน 2 ประเภท คือ สุขาภิบาลเมืองและสุขาภิบาลตําบล
รูปลักษณะการปกครองที่วางไวและดําเนินการในสมัยรัชกาลที่ 5 ไดรับการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงบาง
ในรัชกาลที่ 6 และรัชกาลที่ 7 แตสวนใหญยังคงรูปเดิมนกระทั่งมีการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อ24
มิถุนายน 2475
2. สภาพเศรษฐกิจและสังคม
สมัยรัตนโกสินทรยุคนั้น ๆ ลักษณะการดําเนินชีวิตของคนไทยทั่วไป นาจะไมมีอะไรเปลี่ยนแปลงไป
จากเดิมมากนัก มีผิดแปลกไปบางในทาที่ดีคือ การเกณฑแรงงานราษฎรหรือไพรนั้นมักจะเลือกเกณฑเอาใน
ระยะเวลาที่ไมขัดขวางกันการทํามาหากินของประชาชน คนไทยในสมัยนั้นมีประมาณ 4 ลานเศษ มีระดับการ
ครองชีพที่ดีกวาชาติอื่นในทวีปเอเชีย และในสมัยรัชกาลที่ 5 ไดมีการประกาศเลิกทาส เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม
พ.ศ. 2417 การเลิกทาสของไทยมีลักษณะคอยเปนคอยไป โดยใชเวลาถึง 20 ป ระบบทาสจึงหมดไปจาก
สังคมไทย
สภาพความเปนอยูของประชาชนในสมัยรัตนโกสินทรดีกวาในสมัยกอนมาก ในดานการคมนาคม มี
การตัดถนนหนทางใหความเจริญเขาสูชนบท สมัยรัชกาลที่ 5 ทรงเริ่มกิจการรถไฟ การสื่อสารไปรษณียโทร
เลข โทรศัพท การสาธารณสุข สนับสนุนการรักษาแบบตะวันตก จัดตั้งโรงพยาบาลขึ้นหลายแหง และ
สนับสนุนใหทุนหลวงสงนักเรียนไปเรียนตางประเทศ การบังคับการศึกษาบังคับในรัชกาลที่ 6 โดยกําหนดวา
ใครอายุครบเกณฑ 7 ป ตองเขารับการศึกษาขั้นปฐมศึกษา
ไทยไดทําสนธิสัญญากับอังกฤษเปนครั้งแรกเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน 2369 ในสมัยรัชกาลที่ 3 โดยทั้ง
สองฝายตางรับรองสิทธิของเมืองขึ้นของแตละฝาย เพราะสมัยนั้นอังกฤษเขายึดครองดินแดนในรัฐมลายู ซึ่งมี
อาณาเขตติดตอกับราชอาณาจักรไทย ผูแทนอังกฤษที่ลงนามสนธิสัญญา คือ ลอรด แอมเฮอรสน (Lord
Amherst) สนธิสัญญานี้มีขอตกลงทางพาณิชยดวย และไทยไดทําสนธิสัญญากับสหรัฐอเมริกา เมื่อ 20
50
มิถุนายน 2375 โดยประธานาธิบดี แอนดรู แจ็กสัน (Andrew Jackson)16
(17) ตอจากนั้นมหาอํานาจทาง
ตะวันตก เชน ฝรั่งเศส สเปน ก็ไดเขามาติดตอคาขาย และมีสัมพันธไมตรีกับไทย โดยเฉพาะอยางยิ่งในสมัย
รัชกาลที่ 4 ไดทรวงใหความสนใจในอารยธรรมตะวันตกมากเปนพิเศษ พยายามสงเสริมใหมีการถายทอด
สงเสริมศิลปะการศึกษาและวิทยาการ เพื่อนํามาใชประโยชนภายในประเทศอยางไรก็ตามความสัมพันธ
ระหวางไทยกับมหาอํานาจตะวันตกสมัยนั้น ไทยเราตองตกเปนฝายเสียเปรียบในสนธิสัญญาตาง ๆ อยูเปนอัน
มาก เพราะมหาอํานาจตะวันตกมักจะบีบใหไทยอยูในภาวะจํายอมในการทําสัญญาตาง ๆ
การตั้งราชวงศใหมและการจัดตั้งชาติไทยขึ้นใหมในอาณาจักรกรุงรัตนโกสินทร เปนพระราชกรณียกิจ
ที่ใหญหลวงและจะตองมีการฟนฝาอุปสรรคมากมาย การสรางความชอบธรรมในการเมืองการปกครอง การ
จัดตั้งโครงสรางทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม โดยวิธีการเลียนแบบกรุงศรีอยุธยานั้นเปนเรื่องที่ตองอาศัยพระ
ปรีชาสามารถและพระราชกุศโลบายอยางลึกซึ้ง ขณะเดียวกันก็ตองตอสูกับศึกภายนอกในเวลาที่บานเมืองยัง
ไมมั่นคงอยูตัว
การปกครองบริหารราชธานีใหมนั้น จะตองดําเนินไปดวยความระมัดระวัง ปญหาเรื่องการสืบทอด
อํานาจก็ยังไมสามารถแกไขไดอยางสัมฤทธิ์ผล การคุกคามจากภายนอก คือ พมา ก็ยังไมสิ้นสุด ขณะเดียวกัน
การติดตอกับจีนและชาติตะวันตกก็เริ่มขยายตัวขึ้น สภาพแวดลอมอันใหมนี้จําเปนตองไดผูนํารุนใหมที่มี
ความคิดทันสมัย สามารถจะปรับตัวและปรับปรุงประเทศไดเพื่อความอยูรอด ซึ่งเปนเรื่องโชคดีที่ประเทศ
สยามไดยุวกษัตริยที่ทรงพระปรีชาสามารถ และทรงเล็งเห็นการณไกล ยุคสมัยของพระองคปละพระราชโอรส
คือ ยุคของการเปลี่ยนแปลงเพื่อความทันสมัย ซึ่งทําใหประเทศสยามกาวไปสูประวัติศาสตรบทใหมที่สําคัญ
การเมืองไทยหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง17
(18)
เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ไดมีการปฏิวัติซึ่งนําโดยขาราชการทหารและขาราชการพลเรือน
ลมระบบการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย และไดมีการสรางระบบการปกครองแบบกษัตริยอยูภายใต
รัฐธรรมนูญขึ้น พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวไดทรงพระราชทานรัฐธรรมนูญใหเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม
พ.ศ. 2475 ตอจากนั้นในป พ.ศ. 2476 ก็มีการเลือกตั้งทั่วไปเปนครั้งแรกในประวัติศาสตรไทย มีเหตุการณ
สําคัญ ๆ เกิดขึ้น 3 เหตุการณหลังจากปฏิวัติ เหตุการณแรกคือ การวางแผนเศรษฐกิจแหงชาติโดย ดร.ปรีดี
พนมยงค ซึ่งเปนหัวหนาคณะราษฎรของการปฏิวัติ 2475 แผนเศรษฐกิจนี้ถูกเรียกวา แผนคอมมิวนิสต โดย
(17) จุลจักรพงษ์, เจ้าชีวิต, 301-5 และ 323-6
(18) Frank C. Darling” Thailand and the United States (Washington, D.C. : Public Affairs Press, 1965)
51
ฝายอนุรักษนิยม และนายปรีดีตองเดินทางออกนอกประเทศชั่วคราว เพื่อใหเหตุการณสงบลง เหตุการณที่สอง
คือ การปฏิวัติซอนโดยพระเจาบวรเดช แตการปฏิวัติครั้งนั้นลมเหลว เกิดการปะทะกันบริเวณที่ในปจจุบันเปน
เขตที่อยูใกล ๆ สนามบินดอนเมือง อีกทั้งยังทําลายฝายเจา ซึ่งคิดที่จะนําระบอบการปกครองแบบเกานี้มาใช
เหตุการณที่สาม คือ เมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2478 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ซึ่งเสด็จประพาสยุโรปไดทรง
ประกาศสละราชสมบัติที่ประเทศอังกฤษ ดังนั้น ราชบัลลังกจึงสืบทอดโดยพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว
อานันทมหิดล เนื่องจากพระองคยังทรงพระเยาวและทรงศึกษาอยู จึงมีการแตงตั้งคณะผูสําเร็จราชการแทน
พระองค ประกอบดวย 3 คน เพื่อทําหนาที่แทนพระองค นายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศไทยคือ พระยาม
โนปกรณนิติธาดา อดีตประธานศาลฎีกา ทานไดเปนนายกอยูประมาณ 1 ป และแลวทามกลางความกลัวที่จะ
นําระบบการปกครองเกามาใช พระยาพหลพยุหเสนาไดทําการปฏิวัติเปนนายกรัฐมนตรีแทน
และแลวเมื่อเดือนธันวาคม พงศ. 2481 พระยาพหลฯ ไดลาออกจากตําแหนง เนื่องจากสุขภาพไมดี
จึงทําใหจอมพล ป. พิบูลสงคราม ไดดํารงตําแหนงตอจากนั้น ทหารเริ่มมีอํานาจมากขึ้นเรื่อย ๆ จอมพล ป.
พิบูลสงคราม เปนนายกรัฐมนตรีเปนเวลา 5 ปครึ่ง ไดสรางบทบาททางประวัติศาสตรของเมืองไทยในดาน
นโยบายรัฐนิยม ซึ่งเปนนโยบายรักชาติ นโยบายกีดกันคนจีน สวนนโยบายที่อันตรายที่สุดคือ การตัดสินใจ
รวมกับญี่ปุนสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง การตัดสินใจประกาศสงครามกับสหรัฐอเมริกาและอังกฤษ เกิดจาก
เหตุผลหลายประการ ที่สําคัญที่สุดคือ ความกดดันจากสถานการณ และอาจจะมาจากการคาดการณผิด คิดวา
ญี่ปุนจะชนะสงคราม18
(19) ดังนั้นการเขารวมกับญี่ปุนก็เหมือนกับการเขารวมกับผูชนะ ซึ่งประเทศไทยอาจได
ผลประโยชนรวมกับผูชนะ แตวาการตัดสินใจของจอมพล ป. กลายเปนขอผิดพลาดอยางใหญหลวง และทําให
ตองเสียตําแหนงนายกรัฐมนตรี หลังจากสงครามสิ้นสุดลง ภายหลังที่สหรัฐอเมริกาทิ้งระเบิดปรมาณูที่ฮิโรชิมา
และนางาซากิ และญี่ปุนยอมจํานน
เมื่อญี่ปุนแพสงคราม ประเทศไทยซึ่งเปนพันธมิตรกับญี่ปุนแพสงครามดวย มีปจจัยสองขอที่ทําใหผูนํา
ไทยสามารถจัดการกับสถานการณเพื่อหลุดพนจากวิกฤติการณครั้งนี้ได ปจจัยสองอันนี้ คือ หนึ่ง หมอม
ราชวงศเสนีย ปราโมช ซึ่งเปนเอกอัครราชทูตไทยประจํากรุงวอชิงตัน ปฏิเสธที่จะสงสาสนประกาศสงครามกับ
สหรัฐอเมริกา สอง ไดมีการจัดตั้งขบวนการเสรีไทย ซึ่งประกอบดวยคนไทยที่อยูเมืองนอก ซึ่งมีเปาหมาย คือ
กูเอกราชของชาติ
ดังนั้น เมื่อสงครามเสร็จสิ้น นายปรีดีจึงออกประกาศซึ่งเห็นชอบโดยเอกฉันทโดยสภาผูแทนแหงชาติ
โดยมีเนื้อความทํานองวา
(19) Donald E. Nuechterkeib, Thailand and the Struggle for Southeast Asia (Ithaca, N.Y. : Cornell University, 1965), pp. 77-78
52
“คนไทยไมเห็นดวยกับการประกาศสงครามและการกระทําอันเปนศัตรูกับสหประชาชาติ (และ
ผูสําเร็จราชการแทนพระองค ซึ่งกระทําการแทนพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว) ไดประกาศในนามของ
ประชาชนชาวไทยวา การประกาศสงครามตอสหรัฐอเมริกาและอังกฤษเปนโมฆะ และไมไดผูกมัดประชาชน
ชาวไทย”(20)
การเคลื่อนไหวดังกลาว เปนการเคลื่อนไหวที่รอบคอบ เพื่อการชวยชาติหลุดพน ในสวนของการเมือง
ภายในประเทศไทยไดหลุดพนจากภาวะของสงครามในลักษณะเกิดเปนประเทศที่รัฐบาลใหมโดยพลเรือนนํา
โดยกลุมเสรีนิยม เชน ปรีดีและเสนีย ความรุงเรืองของทหารชาตินิยมและการรวมชาติของ จอมพล ป.
ไดตกต่ําลงไป
1. รัฐประหารป พ.ศ. 2490
การรัฐประหารป 2490 เกิดขึ้นสามปหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 นําโดยพันเอกหลวงกาจสงคราม และ
พลโทผิน ชุณหวัน บุคคลสําคัญสองคนที่วางแผนคือ พันเอกเผา ศรียานนท ลูกเขยของพลโทผิน ชุณหวัน และ
พันเอกสฤษดิ์ ธนะรัชต ตอมาทั้งสองไดเปนศัตรูทางการเมืองกัน รัฐประหารครั้งนี้สงผลให จอมพล ป. กลับมา
มีอํานาจอีกในเวลาตอมา แตการปฏิวัติของการเมืองไทย จะตองทําใหการยึดอํานาจสมเหตุสมผล ดังนั้นทันที่ที่
ทหารยึดอํานาจในการทํารัฐประหารเมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2490 นายควง อภัยวงศ ผูซึ่งเปนหนึ่งใน
จํานวนหัวหนาคณะราษฎร จึงไดเปนนายกรัฐมนตรี แตนาวควงก็ถูกบังคับใหออกจากตําแหนง โดยยังอยูใน
ตําแหนงไมครบ 6 เดือน หลังจากนั้น จอมพล ป. พิบูลสงคราม ก็ไดเปนนายกรัฐมนตรี เปนเวลาเกือบ 10 ป
จนกระทั่งถูกยึดอํานาจโดยจองพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ในเดือนกันยายน พ.ศ. 250020
(21)
ทหารเริ่มรวบรวมอํานาจได พวกเสรีนิยมก็เริ่มสูญเสียสถานภาพทางการเมือง นายปรีดี ผูซึ่งถูกสงสัย
วาพัวพันกับกรณีปลงพระชนมในหลวง ก็ถูกบีบใหหนีออกนอกประเทศ เมื่อเดือนตุลาคม ก็มีการกลาวหาพล
โท เนตร เขมะโยธิน วาพยายามลมคณะรัฐประหาร 2490 พลโทเนตร ถูกจับ เหตุการณดังกลาวเปดโอกาสให
คณะรัฐประการไดทําลายนายทหารที่ไมจงรักภักดี และเพื่อกําชับอํานาจของรัฐบาล จอมพล ป. เมื่อเดือน
กุมภาพันธ พ.ศ. 2492 ไดมีการพยายามลมลางอํานาจของจอมพล ป. โดยนายปรีดีและพวก นายปรีดีแอบเขา
ประเทศและพยายามทํารัฐประหาร โดยอาศัยการสนับสนุนของกองทัพเรือและพรรคพวกเสรีไทยพวกหนึ่ง
การตอสูเกิดขึ้นเปนเวลา 3 วัน นายทหารและพลเรือนหลายคนถูกฆาและบาดเจ็บ ทรัพยสินเสียหายมากมาย
เปนรัฐประหารที่นองเลือด21
(22)
(20) ประกาศฉบับนี้ออกโดย นายปรีดา พนมยงค์เมื่อวันที่ 16 เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2488 โปรดดู Dhiravegin, Siam and Colonialism, op., cit., p. 75
(21) Chaloentiarana, op. cit
(22) ทักษ์เฉลิมเตรีรณ, การเมืองระบบพ่อขุนอุปถัมภ์แบบเผด็จการ(กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2526). หน้า 67.
53
ในชวงทศวรรษระหวางป พ.ศ. 2483-2493 มีสิ่งสําคัญเดนชัดอยู 3 จุด สิ่งแรกคือ การคุกคามขอ
คอมมิวนิสตในภูมิภาคนี้ ประเทศจีนถูกยึดอํานาจโดย เหมา เจอ ตุง ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2492 กรณีนี้เปน
เหตุการณที่ทําใหสหรัฐอเมริกาเชื่อวา นโยบายสูเพื่อกันไมใหลัทธิคอมมิวนิสตลุกลามนั้นเปนเรื่องจําเปน
ทามกลางสงครามเย็น ซึ่งทวีความขัดแยงเขมขนขึ้น ในปตอมาก็เกิดสงครามเกาหลี จอมพล ป. ซึ่งอยากพิสูจน
วาอยูฝายตะวันตก ไดขอสงอาสาสมัครไทยไปรบกับคอมมิวนิสต ในตอนั้นสหรัฐอเมริกาเริ่มชวยรัฐบาลไทย
ทางเศรษฐกิจและทางทหาร รัฐบาลของจอมพล ป. ซึ่งเห็นทิศทางลมทางการเมืองจึงหันนโยบายทางการ
ตางประเทศเขากับฝายตะวันตกในป พ.ศ. 2497 ประเทศไทยกลายเปนสมาชิกองคการสนธิสัญญาเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต (SEATO) และกรุงเทพฯ ก็เปนที่ตั้งของสํานักงานใหญ ขอตกลงมะนิลาทําใหผูนําไทยมั่นใจ
วา สหรัฐจะชวยเหลือประเทศไทยถาถูกรุกราน การตั้ง ซีโต ซึ่งประกอบดวยสมาชิก คือ สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส
อังกฤษ ปากีสถาน ออสเตรเลีย นิวซีแลนด ฟลิปปนส และประเทศไทย ทําใหเกิดความชอบธรรมในการ
แทรกแซงของกองทัพนอกภูมิภาค ถามีการบุกรุกโดยคอมมิวนิสต ทําใหรัฐบาลไทยไดรับความอบอุนใจ
พอสมควร
2. รัฐประหารป พ.ศ. 250022
(23)
จอมพล ป. เริ่มทําสิ่งที่คิดวาสําคัญตอการพัฒนาการของประชาธิปไตย เมื่อเดือนกันยายน 2498 โดย
ขอใหรัฐสภาสนับสนุนใหผานกฎหมายพรรคการเมือง นอกจากนั้นยังลดอายุของผูมีสิทธิเลือกตั้งใหเหลือ 20 ป
และยกเลิกเงื่อนไขหรือคุณสมบัติเกี่ยวกับศึกษาทั้งหมด เพื่อใหคนมาลงคะแนนเสียงมาก ๆ พรอม ทั้งประกาศ
วาจะลงสมัครรับเลือกตั้งในเดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2500 และเริ่มพูดคัดคานการทํารัฐประหารและการใช
อํานาจตํารวจหรือทหารเพื่อผลทางการเมือง
การเลือกตั้งเดือนกุมภาพันธ พ.ศ.2500 มีพรรคการเมืองใหญสองพรรคที่ลงแขงขัน คือ พรรค
เสรีมนังคศิลาของจอมพล ป. และพรรคประชาธิปตยของนายควง อภัยวงศ ผลที่ไดก็คือจอมพล ป. ชนะการ
เลือกตั้ง แตแลวก็มีการโวยวายเกี่ยวกับเลือกตั้งวาการเลือกตั้งสกปรก รัฐบาลสกัดกั้นการวิจารณโดยประกาศ
ภาวะฉุกเฉิน เพื่อจะปราบฝายตรงขามใหหนักขึ้น รัฐบาลหันไปแสดงพลังโดยการตั้งสฤษดิ์ ใหเปนผูบัญชาการ
สูงสุกของกองทัพและตํารวจ มีความรับผิดชอบในการรักษาความสงบเรียบรอย การรวมตัวของบุคคลทุก
รูปแบบถูกสั่งหาม บรรณาธิการหลายคนถูกจับในฐานะเขียนบทความและคํากลาวที่ตอตานรัฐบาล นอกากนั้น
ยังมีการแสดงอํานาจทหารเพื่อขมขูฝายตรงขาม
(23) ลิขิต ธัรเวคิน, ศาสตราจารย์ดร., วิวัฒนาการการเมืองการปกครองไทย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 5 (กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,
2540), หน้า 146-150
54
ทามกลางการแสดงพลังอํานาจของฝายรัฐบาล กลุมนิสิตนักศึกษาจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยประมาณ
2,000 คน ก็ไดตัดสินใจเด็ดขาดที่จะตอตานรัฐบาล มีการเรียกรองใหนายกรัฐมนตรีลาออก และใหมีการ
เลือกตั้งใหมภายใตคําแนะนําของจอมพลสฤษดิ์ แตจอมพล ป. ไมยินยอม โดยกลาวตอบวาการเลือกตั้งจะเปน
โมฆะเมื่อศาลสั่ง จอมพลสฤษดิ์ไดขอใหนักศึกษาสลายตัว และสฤษดิ์ไดกลาวคําคมในประวัติศาสตรไวที่
สะพานมัฆวานวา “พบกันใหมเมื่อชาติตองการ”
หลังจากการเลือกตั้งและหลังการรณรงคคัดคานการเลือกตั้งที่สกปรก คะแนนนิยมและฐานะของ
จอมพล ป. เสื่อมลงอยางรวดเร็ว วกที่คัดคานรัฐบาลและความเปนเผด็จการและการใชอํานาจผิด ๆ ของ
พลตํารวจเอกเผา ศรียานนท ก็ยิ่งเพิ่มขึ้น ในขณะที่พรรคการเมืองฝายตรงขามตาง ๆ พยายามหาทางลม
รัฐบาลจอมพล ป. เพื่อถวงดุลอํานาจของจอมพลสฤษดิ์
ทามกลางวิกฤติดังกลาวพรอมกับการตอตานอเมริกัน ในวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2500
จอมพลสฤษดิ์จึงทําการรัฐประหาร ตามรายงานขาววา จอมพลสฤษดิ์จับแผนการปฏิวัติของเผาได จอมพล ป.
หนีไปเขมร และตอมาขอลี้ภัยไปอยูญี่ปุน และอยูจนถึงแกอสัญกรรมที่นั่น พลตํารวจเอกเผาถูกสงออกนอก
ประเทศและไปอยูสวิสเซอรแลนด ซึ่งตอมาไดถึงแกอนิจกรรมที่นั่น หลังจากนั้น จอมพลสฤษดิ์ยังมิไดเขา
ครอบครองอํานาจทันทีไดแตงตั้ง นายพจน สารสิน เปนนายกรัฐมนตรีเปนเวลา 90 วัน แลวจึงมีการเลือกตั้ง
ทั่วไป ภายหลังการเลือกตั้งพลโทถนอม กิตติขจร ไดเปนนายกรัฐมนตรี แตแลวทามกลางวิกฤติการณทาง
การเมือง การตอสูกันระหวางกลุมภายในพรรคและในกองทัพ จอมพลสฤษดิ์ จึงยึดอํานาจอีกครั้งหนึ่งเมื่อวันที่
20 ตุลาคม 2501 รัฐธรรมนูญของป 2495 ถึงถูกยกเลิก เปนการยุติรัฐบาลแบบประชาธิปไตย หลังจากนั้น
ประเทศไทยถูกปกครองโดยเผด็จการแบบพอขุนภายใตสฤษดิ์ และผูสืบทอดอํานาจคือ จอมพลถนอม กิตติ
ขจร และจอมพลประภาส จารุเสถียร ระบบเผด็จการแบบพอขุนอยูไดเปนเวลา 15 ป โดยมีประชาธิปไตยครึ่ง
ใบเขามาแทรกเล็กนอย กอนจะถูกลม โดยการลุกฮือ ซึ่งนําโดยนักศึกษาเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 และ
เหตุการณนั้นเรียกวา “การปฏิวัติเดือนตุลาคม”(24)
3. การเมืองไทยระหวาง 14 ตุลาคม 2516 และ 6 ตุลาคม 251924
(25)
14 ตุลาคม 2516 เปนปรากฏการณทางการเมืองยุคใหมที่มีนัยสําคัญอยางยิ่ง เพราะเปนการลุกฮือ
ของประชาชนจํานวนแสน ๆ คน เพื่อตอตานรัฐบาลเผด็จการทหาร สาเหตุขอเหตุการณ 14 ตุลาคม 2516 มี
หลายองคประกอบ ซึ่งมีสาเหตุที่เกิดจากปญหาโครงสรางและตัวแปรเฉพาะซึ่งเปนสวนหนึ่งของโครงสราง
แยกออกเปนลักษณะไดดังนี้
(24) ศาสตราจารย์เสน่ห์ จามริก แห่งคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, เรียกเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 ว่า “การปฏิวัติ 14 ตุลาคม” ดูบทความ
ในวารสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 (พฤษภาคม 2517)
(25) ลิขิต ธีรเวคิน, ศาสตราจารย์ดร. วิวัฒนาการทางการเมืองการปกครองไทย, อ้างแล้ว หน้า 190-208
55
1. ในแงของโครงสรางทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง เปนผลของการเสียดุลระหวางการพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมกับการพัฒนาทางการเมือง ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงนําไปสูขอขัดแยง
2. บุคลิกภาพของผูมีอํานาจ ทั้งจอมพลถนอม จอมพลประภาส ตางก็ไมมีบารมีเหมือน
จอมพลสฤษดิ์
3. ระบบอุปถัมภ การใหความสนับสนุนชวยเหลือ และการตอบแทนในแงผลประโยชนทําใหเกิด
ปญหาการฉอราษฎรบังหลวง
4. ปญหาความชอบธรรม รัฐบาลทําใหเกิดการฉอราษฎรบังหลวง ลิดรอนสิทธิประชาชน การขาด
แคลนขาวสารและน้ําตาล รัฐบาลไมสามารถบําบัดทุกขบํารุงสุข มีการใชอํานาจไปในทางไมชอบธรรมในหลาย
กรณี
5. กลุมการเมืองที่ไมสนับสนุนเผด็จการ คือ กลุมจารีตประเพณี และบรรดาพรรคการเมืองที่ไมเห็น
ดวยกับการกระทําของรัฐบาลในประเด็นการใชอํานาจทางการเมือง
เหตุการณ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 เริ่มตนดวยการแจกใบปลิวเรียกรองรัฐธรรมนูญของกลุมนักศึกษา
กลุมหนึ่ง ในวันที่ 6 ตุลาคม 2514 และถูกตํารวจจับซึ่งเปนจุดนําไปสูเหตุการณ 14 ตุลาคม 2516 กอนหนา
นั้นไดมีการเซ็นชื่อ 80 คน เพื่อเรียกรองรัฐธรรมนูญและยังมีจดหมายจาก ดร.ปวย อึ้งภากรณ อดีตผูวาการ
ธนาคารแหงประเทศไทยถึงจอมพลถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรี โดยเขียนเปนจดหมายจากนายเขม เย็นยิ่ง
ถึงนายทนุ เกียรติกอง ใหมีกติกาของหมูบาน “ไทยเจริญ” การจับกุมตัวนักศึกษา 12 คน และนักการเมืองผู
หนึ่ง เปน 13 คน ผลที่ตามมาก็คือ การชุมนุมโดยศูนยนิสิตนักศึกษาแหงประเทศไทย เริ่มที่มหาวิทาลัย
ธรรมศาสตร การประทวงประกอบดวย การอภิปรายโจมตีรัฐบาลและตัวบุคคล ซึ่งไดแก จอมพลถนอม จอม
พลประภาส และพันเอกณรงค จํานวนผูประทวงมากขึ้นตามลําดับ จนมากกวาหาแสนคน เหตุการณทั้งหมด
เริ่มตั้งแต 6 ตุลาคม และสิ้นสุดลงวันที่ 16 ตุลาคม 2514 แตเหตุการณนอเลือดเกิดในวันอาทิตยที่ 14 ตุลาคม
2516
การนองเลือดที่เกิดขึ้นนั้นจะสาเหตุอยางไรก็คงวิเคราะหได แตขาดหลักฐานที่จะสนับสนุน จึงขอ
บรรยายถึงเหตุการณอยางคราว ๆ วาการประทวงขนานใหญนี้เริ่มที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ที่ลานโพธิ์
ตั้งแตวันที่ 9 ตุลาคม และในวันที่ 13 ตุลาคม ผูประทวงทั้งหมดซึ่งประกอบดวยนิสิตนักศึกษา นักเรียน
ประชาชน ก็เคลื่อนออกจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรไปยังอนุสาวรียประชาธิปไตย ระหวางตอนบายของวันที่
13 จนถึงเชาวันที่ 14 ตุลาคม เปนชวงเวลาของการเจรจาตอรองระหวางกรรมการศูนยนิสิตฯ และรัฐบาล
ผสมผสานกับความสับสน ความไมเขาใจบางประการของกลุมผูนํา ความตึงเครียดซึ่งซับซอนเกินกวาจะกลาว
อยางสั้น ๆ ณ ที่นี้ได แตที่สําคัญก็คือ การนองเลือดที่เกิดขึ้นเชาวันที่ 14 ตุลาคม 2516 ซึ่งเกิดการปะทะกัน
ระหวางตํารวจและผูประทวงไดนําไปสูเหตุการณที่เศราที่สุดในประวัติศาสตรไทย นักศึกษาอาชีวะจํานวนหนึ่ง
บทที่ 3
บทที่ 3
บทที่ 3
บทที่ 3
บทที่ 3
บทที่ 3
บทที่ 3
บทที่ 3
บทที่ 3
บทที่ 3
บทที่ 3
บทที่ 3
บทที่ 3
บทที่ 3

More Related Content

What's hot

ข้อสอบม.2
ข้อสอบม.2ข้อสอบม.2
ข้อสอบม.2kuraek1530
 
ประวัติศาสตร์ ม.1
ประวัติศาสตร์ ม.1ประวัติศาสตร์ ม.1
ประวัติศาสตร์ ม.1school
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์แบบสากล
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์แบบสากลการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์แบบสากล
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์แบบสากลKamonchanok VrTen Poppy
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์Sununtha Sukarayothin
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์Noo Suthina
 
เลขที่25,26 เรื่อง อารยธรรมจีน ม.6.7 นนทิชา พรพิชชา
เลขที่25,26 เรื่อง อารยธรรมจีน ม.6.7 นนทิชา พรพิชชาเลขที่25,26 เรื่อง อารยธรรมจีน ม.6.7 นนทิชา พรพิชชา
เลขที่25,26 เรื่อง อารยธรรมจีน ม.6.7 นนทิชา พรพิชชาJika Umachi
 
พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1wanpenrd
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนInfinity FonFn
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1 การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1 Noo Suthina
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10mintmint2540
 
ประวัติศาสตร์สากล
ประวัติศาสตร์สากลประวัติศาสตร์สากล
ประวัติศาสตร์สากลSompak3111
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทยJulPcc CR
 
ประวัติศาสตร์ โบราณ
ประวัติศาสตร์ โบราณประวัติศาสตร์ โบราณ
ประวัติศาสตร์ โบราณpair pair
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์krunumc
 

What's hot (20)

ข้อสอบม.2
ข้อสอบม.2ข้อสอบม.2
ข้อสอบม.2
 
Ppt16 (1)
Ppt16 (1)Ppt16 (1)
Ppt16 (1)
 
ประวัติศาสตร์ ม.1
ประวัติศาสตร์ ม.1ประวัติศาสตร์ ม.1
ประวัติศาสตร์ ม.1
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์แบบสากล
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์แบบสากลการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์แบบสากล
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์แบบสากล
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
อารยธรรมจีน1
อารยธรรมจีน1อารยธรรมจีน1
อารยธรรมจีน1
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
เลขที่25,26 เรื่อง อารยธรรมจีน ม.6.7 นนทิชา พรพิชชา
เลขที่25,26 เรื่อง อารยธรรมจีน ม.6.7 นนทิชา พรพิชชาเลขที่25,26 เรื่อง อารยธรรมจีน ม.6.7 นนทิชา พรพิชชา
เลขที่25,26 เรื่อง อารยธรรมจีน ม.6.7 นนทิชา พรพิชชา
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
Pomacea
PomaceaPomacea
Pomacea
 
พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1 การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
 
โครงร่างง..
โครงร่างง..โครงร่างง..
โครงร่างง..
 
ประวัติศาสตร์สากล
ประวัติศาสตร์สากลประวัติศาสตร์สากล
ประวัติศาสตร์สากล
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
 
ประวัติศาสตร์ โบราณ
ประวัติศาสตร์ โบราณประวัติศาสตร์ โบราณ
ประวัติศาสตร์ โบราณ
 
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 

Viewers also liked

เครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผา
เครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผาเครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผา
เครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผาSmile Suputtra
 
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศบทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศPa'rig Prig
 

Viewers also liked (20)

บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Lesson5
Lesson5Lesson5
Lesson5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
Nrru 003
Nrru 003Nrru 003
Nrru 003
 
Nrru 001
Nrru 001Nrru 001
Nrru 001
 
Nrru 002
Nrru 002Nrru 002
Nrru 002
 
Nrru 004
Nrru 004Nrru 004
Nrru 004
 
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
 
บทที่3 pptx
บทที่3 pptxบทที่3 pptx
บทที่3 pptx
 
เครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผา
เครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผาเครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผา
เครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผา
 
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศบทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
 
2
22
2
 
Lesson 3 buddhism
Lesson 3 buddhismLesson 3 buddhism
Lesson 3 buddhism
 
Lesson 2 hindunism
Lesson 2 hindunismLesson 2 hindunism
Lesson 2 hindunism
 
Lesson 1 religion
Lesson 1 religionLesson 1 religion
Lesson 1 religion
 

Similar to บทที่ 3

พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยหัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยchakaew4524
 
พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1wanpenrd
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Pannaray Kaewmarueang
 
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new 1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1
Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1
Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1krunoree.wordpress.com
 
อาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยอาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยkrunrita
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนพัน พัน
 
Unit 1 early thailand from prehistory to sukhothai
Unit 1  early thailand from prehistory to sukhothaiUnit 1  early thailand from prehistory to sukhothai
Unit 1 early thailand from prehistory to sukhothaiThaiway Thanathep
 
รุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขรุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขKwandjit Boonmak
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1Ziro Anu
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

Similar to บทที่ 3 (20)

พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
 
Tutor social science
Tutor social scienceTutor social science
Tutor social science
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
การเปลี่ยนแปลงสังคมไทย
การเปลี่ยนแปลงสังคมไทยการเปลี่ยนแปลงสังคมไทย
การเปลี่ยนแปลงสังคมไทย
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยหัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
 
พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new 1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
 
355
355355
355
 
Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1
Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1
Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1
 
อาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัยอาณษจักรสุโขทัย
อาณษจักรสุโขทัย
 
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรมพัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
Unit 1 early thailand from prehistory to sukhothai
Unit 1  early thailand from prehistory to sukhothaiUnit 1  early thailand from prehistory to sukhothai
Unit 1 early thailand from prehistory to sukhothai
 
Tutor social science
Tutor social scienceTutor social science
Tutor social science
 
รุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขรุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุข
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
 

บทที่ 3

  • 1. บทที่ 3 ภูมิหลังการเมืองการปกครองไทย ปญหาทางการศึกษาประวัติศาสตรไทย การศึกษาประวัติศาสตรไทยประสบปญหาหลายประการ0 (1) ตางจากการศึกษาประวัติศาสตรประเทศ อื่น ๆ ทั้งนี้เปนเพราะคนไทยมักไมคอยเก็บหรือจดบันทึกขอมูลทางประวัติศาสตร รวมทั้งการเก็บรักษาขอมูลก็ เปนไปไดยากยิ่ง แหลงขอมูลมีที่มาขัดกับขอเท็จจริงและหลักฐานที่คนพบ ปญหาอาณาจักรไทยเปนอีกปญหา หนึ่งที่นักวิชาการไดพยายามศึกษาวิจัย จนพบวา อาณาจักรแรกของไทยที่วาเริ่มตั้งแตสมัยสุโขทัย อยุธยา กรุง ธนบุรี และรัตนโกสินทร ตามลําดับอาจจะไมใช เนื่องจากงานวิจัยตอมาพบวา เมืองสุพรรณบุรี ลพบุรี เชียงใหม และนครศรีธรรมราช อาจมีความเจริญรุงเรืองกวาในยุคเดียวกัน ปญหาตอมาคือ อาณาจักรอื่น ๆ นอกจากกรุงสุโขทัย ปกครองโดยคนไทยหรือไม ถาตอบวา ใช อยางนั้นแลวทําไมจึงถือวากรุงสุโขทัยเปน อาณาจักรเดียวของชาวไทย และใครคือคนไทย เนื่องจากที่ตั้งของประเทศไทยปจจุบันเปนที่รวมของคนหลาย เชื้อชาติและเผาพันธุผสมทั้งไทย จีน ลาว มอญ เขมร เวียดนาม พมา มาเลเซีย ฯลฯ ผสมปนเปกันเสีย จนกระทั่งวาเราจะหาใครสักคนเพื่อดูเผาพันธุของเขาแลวอางไดวาเปนคนไทยบริสุทธิ์ไดยากเหลือเกิน การศึกษาและวิเคราะหประวัติศาสตรไทยมีอยูหลายแนวทางตางกันออกไป เหมือนสาขาวิชา อื่น ๆ ความแตกตางในการศึกษาและความทั้งหลาย อธิบายไดจากภูมิหลังของนักวิชาการและสถานการณทาง การเมืองในยุคหนึ่ง ๆ บอยครั้งที่การวิเคราะหและการเลือกใชขอมูลทํากันเพื่อจุดประสงคทางการเมือง เฉพาะ กรณี ดังนั้นบางครั้งการศึกษาประวัติศาสตรไทยจึงถูกชี้นําโดยอุดมการณทางการเมืองและคานิยมทางสังคม เพิ่งจะเร็ว ๆ นี้เองที่สํานึกศึกษาประวัติศาสตรไทยแนวใหมไดพัฒนาขึ้น กลาวคือ มุงจะวิเคราะหประวัติศาสตร ไทยอยางที่เกิดขึ้นจริง ๆ (อาศัยขอมูลจริงเปนพื้นฐาน) และขยายขอบขายการศึกษาออกไปครอบคลุมแงมุม อื่น ๆ ของสังคม เชน เศรษฐกิจ โครงสรางของสังคม ระบบการเมือง วัฒนธรรม และคานิยม ฯลฯ ซึ่งเปน การศึกษาประวัติศาสตรเชิงสังคม หรือประวัติศาสตรทางสังคม เปนการศึกษาที่ตรงกันขามกับแนวทาง การศึกษาเดิมที่รวมศูนยอยูที่ชนชั้นนําทางการเมือง อันไดแกชนชั้นปกครองที่ประกอบดวยกษัตริย ราชวงศ และตระกูลขุนนาง แนวทางการศึกษาภูมิหลังการเมืองไทย เปนการศึกษาทรรศนะดั้งเดิมที่มองวา ประวัติศาสตร คลี่คลายมาเปนลําดับ จากสุโขทัยมากรุงศรีอยุธยา กรุงธนบุรี และกรุงเทพฯ จนมาถึงปจจุบัน ประเทศไทยได (1)ลิขิต ธีรเวคิน, ศาสตราจารย์, วิวัฒนาการการเมืองการปกครองไทย. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุเทพฯ : โรพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, หน้า 6-232
  • 2. 42 ชื่อวาเปนประเทศเกาแกที่มีประวัติความเปนมายาวนานชาติหนึ่ง แมวาหลักฐานเกี่ยวกับการปฐมกําเนิดของ ชาติไทยไมสามารถยืนยันไดแนชัด การศึกษาสมควรเริ่มตนตั้งแตไทยตั้งอาณาจักรมั่นคงในแหลมทอง เมื่อ พ.ศ. 1781 อาณาจักรแรกของชาติไทย คือ อาณาจักรสุโขทัย ซึ่งสถาปนาโดยพอขุนศรีอินทราทิตย ตน ราชวงศพระรวง ประกาศตนเปนอิสระจากขอมซึ่งยึดครองดินแดนแถบนั้นอยูในสมัยนั้น อาณาจักรสุโขทัย (1781 – 1981)1 (2) อาณาจักรสุโขทัย เมื่อแรกตั้งเปนอาณาจักรเล็ก ๆ สมัยรุงเรืองที่สุด คือ พอขุนรามคําแหง ซึ่งแผขยาย อาณาเขตกวางขวางออกไป ทิศเหนือจดเมืองลําพูน ทิศตะวันออกเฉียงเหนือจดเทือกเขาดงพญาเย็นและภูเขา พนมดงรัก ทิศตะวันตกถึงเมือวงหงสาวดี ทางใตลงไปถึงแหลมมลายู มีกษัตริยปกครองเปนเอกราชติดตอกัน มาหลายพระองค อาณาจักรสุโขทัยเสื่อมและตกเปนเมืองขึ้นของกรุงศรีอยุธยา สมัยพญาไสลือไท ซึ่งทํา สงครามปราชัยแกพระบรมราชที่ 1 แหงกรุงศรีอยุธยาในป 1921 แตกษัตริยราชวงศพระรวงยังปกครองใน ฐานะประเทศราชยตอมาอีก 2 พระองค จึงสิ้นสุดราชวงศ พ.ศ. 1981 1. ลักษณะการปกครอง2 (3) สุโขทัยมีรูปแบบการปกครองแบบราชาธิปไตยแบบสมบูรณาญาสิทธิราช (Absolute Monarchy) อํานาจอธิปไตยหรือ อํานาจสูงสุดในการปกครองอยูที่กษัตริยหรือพอขุนเพียงพระองคเดียว แตกษัตริยสุโขทัย ปกครองประชาชนในลักษณะบิดาปกครองบุตร คือ ถือตนเปนพอของราษฎร บิดายอมมีหนาที่ใหความคุมครองปกปองกันภัยและสงเสริมความสมบูรณพูนสุขใหแกบัตร บุตรยอม ตองมีหนาที่ใหความเคารพนับถือตอบิดา ฉันทใดก็ฉันทนั้น พอขุนยอมอยูในฐานะเปนที่เคารพของประชาชน คุมครองปองกันภัยใหแกประชาชน สงเสริมความอยูดีกินดีใหแกประชาชน ประชาชนตองมีหนาที่ใหความ เคารพเชื่อฟงพอขุน แมวาระบบการปกครองของสุโขทัยจะเปนแบบเผด็จการ เพราะอํานาจสูงสุดเด็ดขาด ไมวาจะดานนิติ บัญญัติ บริหาร และตุลาการ รวมอยูที่พอขันเพียงพระองคเดียว และพอขุนไมจําเปนตองรับผิดชอบตอ ประชาชน แตดวยการจําลองลักษณะครอบครัวมาใชในการปกครอง ทําใหลักษณะการใชอํานาจของพอขุน เกือบทุกพระองคเปนไปในลักษณะใหความเมตตา และเสรีภาพแกราษฎรพอสมควร (2)สมบัติ จันทรวงศ์และชัยอนันต์สมุทวณิช, ความคิดทาการเมืองและสังคมไทย (กรุเทพฯ : สถาบันไทยคดีศึกษา, 2523). หน้า 5 (3)ถนอม อานามวัฒน์ และคณะ, ประวัติศาสตร์ไทยยุคก่อนประวัติศาสตร์ถึงสิ้นอยุธยา (กรุงเทพฯ : แสงรุ่งการพิมพ์, 2523). หน้า 88-95
  • 3. 43 การปกครองหัวเมืองหรือการปกรองสวนภูมิภาค3 (4) ศูนยกลางของอํานาจในการวินิจฉัยสั่งการอยูที่ เมืองหลวง และแบงหัวเมืองออกเปน 3 ประเภท คือ 1. หัวเมืองชั้นใน ไดแก เมืองหนาดานหรือเมืองลูกหลวงลอมรอบราชธานีทั้ง 4 ดาน มีศรีสัชนาลัย (เหนือ) สองแคว (ตะวันออก) สระหลวง (ใต) และกําแพงเพชร (ตะวันตก) 2. หัวเมืองชั้นนอก ไดแก เมืองทาวพระยามหานครที่มีผูปกครองดูแลโดยตรง แตขึ้นอยูกับสุโขทัยใน รูปลักษณะการสวามิภักดิ์ในฐานะเปนเมืองขึ้นหรือเมืองออก หัวเมืองชั้นนอกมี แพรก, อูทอง, ราชบุรี, ตะนาว ศรี, แพร, หลมสัก, เพชรบูรณ และ ศรีเทพ 3. เมืองประเทศราชย ไดแก เมืองที่ชาวตางภาษา มีกษัตริยปกครองขึ้นกับสุโขทัย ในฐานะประเทศ ราช มีนครศรีธรรมราช, มะละกา, ยะโฮว, ทะวาย, เมาะตะมะ, หงสาวดี, นาน, เซา, เวียงจันทร และเวียงคํา เนื่องจากในสมัยพอขุนรามคําแหงไดมีการประดิษฐอักษรไทยขึ้นใช จึงนับวาไดมีกฎหมายลายลักษณ อักษรใช กฎหมายที่ปรากฏในศิลาจารึกเปนกฎหมายที่ไมไดแยกประเภทไว เพราะมีประชากรไมมากนัก และ สังคมไมยุงยากซับซอน ราษฎรมีสิทธิถวายฎีกาหรือรองทุกขโดยตรงตอพอขุน โดยในสมัยพอขุนรามคําแหงได มีกระดิ่งแขวนไวที่ประตูวัง ถาใครตองการถวายฎีกาใหไปสั่นกระดิ่ง พระองคจะชําระความใหโทษสําหรับ ผูกระทําผิด ไดแก การเฆี่ยนตี, กักขัง, ปรับ ไมปรากฏหลักฐานวามีการประหารชีวิต 2. สภาพเศรษฐกิจและสังคม สังคมสุโขทัย เปนสังคมเกษตรกรรม เศรษฐกิจของสุโขทัย คือ การทํานา ทําสวน มีทั้งนาขาวและสวน ผลไม อาหารของพลเมือง คือ ขาว ผลไม และปลา ขอความในศิลาจารึกที่วา “ในน้ํามีปลา ในนามีขาว” แสดง ใหเห็นสภาพเศรษฐกิจวา มีความสมบูรณพูนสุข ทั้งนี้เนื่องจากจํานวนประชากรมีนอยกวาทรัพยากรธรรมชาติ และอาหาร อยางไรก็ตาม ในสมัยสุโขทัยมีทาส ทาสสวนใหญเปนพวกไพรพลของเมืองอื่น ซึ่งสุโขทัยชนะ สงคราม และกวาดตอนผูคนมาเปนทาส ทาสอีกประเภทหนึ่งคือ ทาสที่เปนพลเมืองแตจําเปนตองเปนทาส เพราะความจําเปนทางเศรษฐกิจ4 (5) สุโขทัยนอกจากมีความสัมพันธอันดีกับรัฐไทยอิสระทางภาคเหนือ ไดมีการติดตอคาขายกับ ตางประเทศ เชน จีน มลายู ลังกา และมอญ มีการสนับสนุนการคาโดยไมเก็บภาษี “จกอบ” หรือศุลกากรเพื่อ ตองการใหพอคามีความสนใจเรื่องทําการคา เนื่องจากสังคมสุโขทัยเปนสังคมที่ตองพึ่งธรรมชาติ พลเมืองจึงมี ความเชื่อในเรื่องสิ่งศักดิ์สิทธิ์ อิทธิฤทธิ์ ที่พิสูจนไมได (Animism) เชน เชื่อวามี เทพยดา, ภูตผีปศาจประจําสิ่ง (4)วิศิษฐ์ ทวีเศรษฐ์ และสุขุม นวลสกุล, การเมืองและการปกครองไทย คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคําแหง (กรุงเทพฯ : 2543). หน้า 44-45 (5)ชัยอนันต์สมุทวณิช. ศักดินากับพัฒนาการสังคมไทย (กรุงเทพฯ : นําอักษรการพิมพ์, 2519). หน้า 25-26
  • 4. 44 ตาง ๆ เชน ภูเขา แมน้ํา ฯลฯ และสามารถบันดาลสิ่งตาง ๆ ใหเกิดขึ้นกับตนได มีการนําเอาศาสนาพุทธแบบ ลังกาเขามาเปนศาสนาประจําชาติ เพราะฉะนั้นในสมัยสุโขทัยระบบความเชื่อเปนรูปผสมระหวางลัทธิพราหมณ ซึ่งมีอิทธิพลดั้งเดิม ของ พวกขอมที่มีอยู รวมทั้งความเชื่อถือในภูตผีปศาจ วิญญาณ และความเชื่อตามคติแหงพุทธศาสนา ซึ่งแสดงให เห็นถึงความสามารถในการประสานประโยชนของคนไทย ไมใหมีความรูสึกขัดแยงเกิดขึ้นจากศาสนาหรือความ เชื่อ สมัยอยุธยา (1983-2310) กษัตริยผูสถาปนากรุงศรีอยุธยาเปนราชธานี คือ พระเจาอูทอง (พระรามาธิบดีที่ 1) เมื่อ พ.ศ. 1983 และสามารถผนวกสุโขทัยเขาไวในอาณาจักรไดในสมัยพระบรมราชาที่ 1 พ.ศ. 1921 เปนอาณาจักรที่มีความ รุงเรืองมาก มีฐานะเปนเสมือนมหาอํานาจสําคัญในดินแดนแหลมทอง เคยแผบารมีเขายึดครองประเทศราช ใกลเคียงอยูเสมอ กรุงศรีอยุธยามีกษัตริยผลัดเปลี่ยนกันขึ้นปกครองถึง 34 พระองค จนกระทั่งเสียกรุงใหกับ พมา พ.ศ. 2310 ในแผนดินพระเจาเอกทัศน จึงไดหมดยุคสมัยลง 1. ลักษณะการปกครอง ระบบการปกครองในสมัยอยุธยา5 (6) เปนเชนเดียวกับสุโขทัย คือ เปนระบบราชาธิปไตยแบบ สมบูรณาญาสิทธิราช อํานาจอธิปไตยอยูที่กษัตริยเพียงพระองคเดียว อยาไรก็ตาม แนวความคิดของกษัตริยได เปลี่ยนแปลงไปตามคติพราหมณนํามาโดยพวกเขมร โดยถือวากษัตริยเปนผูที่ไดรับอํานาจมาจากสวรรคหรือ พระเจามนุษยโลก กษัตริยตามแบบเทวสิทธิ (Divine Right) ถือวา เปนเสมือนเจาชีวิต ทรงมีพระราชอํานาจเด็ดขาด สามารถที่จะกําหนดชะตาชีวิตของผูที่อยูใตปกครองได กษัตริยไมรับผิดชอบตอประชาชน เพราะปกครองดวย อาณัติจากสวรรคหรือตามเทวโองการ ประชาชนไมมีสิทธิถอดถอนกษัตริย กษัตริยเปนเสมือนตัวแทนของพระ เจา ลักษณะการปกครองเปนแบบปกครองบาว (Autocratic Government) หรือเจาปกครองขา พระรามาธิบดีที่ 1 วางระบบการปกครองสวนกลางเปนแบบ “จตุสดมภ” ตามแบบของขอม6 (7) มี กษัตริยเปนผูอํานวยการปกครองสูงสุด และมีเสนาบดี 4 คน คือ ขุนเมือง, ขุนวัง, ขุนคลัง และขุนนา เปน ผูชวยดําเนินการเกี่ยวกับกิจการทั้ง 4 คือ (6)ศักดิ์ ผาสุกนิรันทร์, การปกครองไทย (กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2514). หน้า 41 (7)สมพงษ์เกษมสิน, การปกครองของไทย (กรุเทพฯ : ไทยวัฒนาพาณิช, 2515).หน้า 38
  • 5. 45 1. เมือง รับผิดชอบเกี่ยวกับการรักษาความสงบและปราบปรามโจรผูราย 2. วัง มีหนาที่เกี่ยวกับราชสํานักและการยุติธรรม ตัดสินคดีความตาง ๆ 3. คลัง ไดแก งานดานคลังมหาสมบัติ การคา และภาษีตาง ๆ 4. นา รับผิดชอบเกี่ยวกับการเกษตร การปกครองสวนภูมิภาค7 (8) หรือหัวเมืองชั้นนอกในระยะแรก พระรามาธิบดีที่ 1 ทรงเลียนแบบสุโขทัย คือ มีหัวเมืองชั้นใน หัวเมืองชั้นนอก แบะเมืองประเทศราช ตอมาในสมัยพระบรมไตรโลกนารถ ไดทําการ ปฏิรูปการปกครองหัวเมืองใหมีลักษณะรวมอํานาจไวที่ศูนยกลาง คือ เมืองหลวงมากขึ้น โดยขยายอาณาเขต หัวเมืองชั้นในใหกวางขวางกวาเดิม หัวเมืองชั้นนอกก็เปนเมืองชั้นเอก โท ตรี โดยลําดับตามขนาดและ ความสําคัญของแตละเมือง สงขุนนางหรือพระราชวงศไปทําการปกครอง แตเมืองประเทศราชยังปลอยใหมี อิสระในการปกครองเชนเดิม ในสมัยพระบรมไตรโลกนาถ (1991-2031) ไดปรับปรุงระบบบริหารใหมโดยแยกการบริหารราชการ ออกเปนฝายพลเรือนและฝายทหาร สมุหนายกเปนผูรับผิดชอบดานพลเรือน บริหารกิจการเกี่ยวกับเมือง วัง คลัง และนา สวนสมุหกลาโหมรับผิดชอบดานทหารและการปองกันประเทศ แตภายกลังในสมัยพระเทพราชา ราว พ.ศ. 2234 ทั้งสมุหนายกและสมุหกลาโหมตองทํางานทั้งดานทหารและพลเรือน พรอมกัน โดยแบง ใหสมุหกลาโหมปกครองทั้งฝายพลเรือนและทหารในหัวเมืองภาคใตทั้งหมด สวน สมุหนายกควบคุมหัว เมืองทางเหนือทั้งหมด 2. กฎหมาย ในสมัยพระรามาธิบดีที่ 1 ไดทรงตรากฎหมายขึ้นประกาศใชหลายฉบับ เชน กฎหมายลักษณะพยาน, ลักษณะอาญาหลวง, ลักษณะรับฟอง, ลักษณะลักพา ฯลฯ โดยเลียนแบบเอามาจากเขมรและมอญ ซึ่งมี รากฐานเดิมมาจากคัมภีรมโนสารของอินเดีย “เพราะเหตุที่ไปเก็บเอาของซึ่งเขาทําไวเสร็จมาใช กฎหมาย เหลานี้จึงนับวาเรียบรอยมาก และเราไดใชกันมาตลอด 500 ป”(9) พ.ศ. 1993 พระบรมไตรโลกนาถ ไดตรากฎมณเฑียรบาลขึ้นเปนครั้งแรก กําหนดลําดับฐานันดรศักดิ์ ของพระราชวงศ มเหสี ตลอดจนถึงโอรสและธิดา อันกําเนิดมาจากพระชายาตาง ๆ นอกจากนี้ “กฎมณเฑียร บาลบงแถลงขอบังคับการครอบครองพระราชวัง การจัดพระราชพิธีและพิธีทางศาสนาตาง ๆ ทั้งพุทธและ พราหมณ9 (10) กฎหมายวาดวยศักดินากําเนิดขึ้นในรัชสมัยของพระบรมไตรโลกนาถเชนกัน” (8)เล่มเดียวกัน, หน้า 41-43 (9)วิจิตรวาทการ, การเมืองการปกครอง กรุงสยาม (กรุเทฯ : ไทยใหม่, 2475). หน้า 31-32 (10) จุลจักรพงษ์, เจ้าชีวิต, หน้า 39
  • 6. 46 3. สภาพเศรษฐกิจและสังคม การเกษตรกรรมยังเปนเศรษฐกิจหลักของชาวไทยสมัยอยุธยาเชนเดียวกับสมัยสุโขทัย แตในดานการ คาขายไดขยายตัวกวางขวางขึ้น มีการเก็บภาษีจังกอบ หรือภาษีศุลกากร ภาษีขนอน หรือภาษีสินคา ในสมัยนี้ นอกจากการคาขายกับชาติตาง ๆ ในเอเชียแลวยังไดคาขายกับตะวันตกดวย ชาติแรกที่เขามาคือ โปรตุเกส โดยทูตชื่อ ดูอารต เฟอนันเดซ (Duarte Fernandez) ในสมัยพระราชมาธิบดีที่ 2 พ.ศ. 2061 ไดมีการเซ็น สัญญาอนุญาตใหชาวโปรตุเกสทํามาคาขายในดินแดนไทยได10 (11) ตอจากนั้นก็มีชาติอื่น เชน สเปน, อังกฤษ, ฮอลันดา และฝรั่งเศส ทยอยกันเขามามีความสัมพันธทางการคากับไทย โดยปกติกษัตริยไทยมักใหการตอนรับชนตางชาติเปนอยางดี ยอมรับความสามารถรับเขาเปน ขาราชการ เปนขุนนางในตําแหนงสูงก็มี บางครั้งก็มีกองกําลังตางชาติประจําการเปนอาสาประจําอาณาจักรใน สมัยพระนารายณไดสงคณะทูตออกเดินทางไปยุโรปเพื่อเจริญสัมพันธไมตรีกับฝรั่งเศสเมื่อ พ.ศ. 2223 ในสมัย นี้ไทยกับฝรั่งเศสไดมีการแลกเปลี่ยนทูตกันหลายครั้ง หลังจากสมัยพระนารายณลงมา อิทธิพลของชาติ ตะวันตกในพระราชสํานักจึงไดลดลง เพราะกษัตริยของอยุธยาตอนปลายไมนิยมชาวตะวันตก ในสมัยอยุธยา การแบงแยกชนชั้นมีลักษณะเห็นเดนชัด ชนชั้นของอยุธยามี 3 ชนชั้น คือ กษัตริย ราชวงศ และขุนนางระดับสูง ผูดีมีฐานะและขุนนาง ซึ่งมีศักดินา 400 ไรขึ้นไป และไพร11 (12) ผูถือศักดินาตํากวา 400 ไร รวมทั้งทาส แมจะมีการแบงแยกชนชั้น แตการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลง (Mobility) ระหวางชนชั้น เปนไปโดยงายโดยผานทางระบบราชการ ชนชั้นต่ําหากเขาเปนขาราชการ และทําการไดถูกประสงคของชน ชั้นสูงก็มีสิทธิที่จะเลื่อนขั้น ชนชั้นสูงหากประพฤติผิดก็อาจถูกริบทรัพยสมบัติกลายเปนชนชั้นต่ําได สิ่งที่ควร ระลึกถึงก็คือวา การเลื่อนฐานะของคนในสังคมไทย สมัยกรุงศรีอยุธยานั้นเปนไปไดทางเดียว ไมมีทางอื่น คือ จะตองเขารับราชการและเลื่อนฐานะของตนขึ้นไปภายในระบบราชการเทานั้น12 (13) วัด เปนสถาบันที่สําคัญมากในสมัยอยุธยา เปนศูนยกลางที่ชุมนุมของชาวบาน เปนโรงเรียนสําหรับ นักศึกษา ภิกษุสงฆเปนบุคคลที่ประชาชนใหความเคารพนับถือ เปนที่พึ่งทางใจและที่ปรึกษา พระในสมัย อยุธยามีอภิสิทธิ เชน ไมตองเปนทหาร สมัยพระนารายณถึงตองตรากฎไววา พระตองเรียนหนังสือในระหวาง บวช มิฉะนั้นจะถูกจับสึกและออกมาเปนทหาร แมวาจะมีความแตกตางระหวางชนชั้นมาก แตสังคมสมัยอยุธยาก็ไมมีการขัดแยงระหวางชนชั้น ทั้งนี้ อาจเปนเพราะการควบคุมโดยอํานาจอยางเด็ดขาด สามัญชนอยูดวยความกลัวและยอมรับสภาพตนเอง เชื่อ (11) จุลจักรพงษ์, เจ้าชีวิต, หน้า 42 (12) วารุณี โอสถารมย์และอัญชลี สุสายัณห์, “กบฏไพร่สมัยพระราชา.” วารสารศาสตร์, ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 (มิ.ย. – ก.ย.) พ.ศ. 2519, หน้า 54-56 (13) ชัยอนันต์สมุทวณิช, ศักดินากับพัฒนาการของสังคมไทย, หน้า 88
  • 7. 47 ฟงผูมีอํานาจโดยไมชัดขืน อิทธิพลของความเชื่อถือในเรื่องบาปและบุญ ตลอดจนอํานาจศักดิ์สิทธิ์ อิทธิฤทธิ์ มี สวนชวยกลอมเกลาใหคนมีนิสัยยอมรับ แมบางครั้งถูกกดขี่จากผูมีอํานาจ การเสียกรุงศรีอยุธยาในป พ.ศ. 2310 เปนเรื่องที่ตื่นตระหนกสําหรับชาวไทย กรุงศรีอยุธยาถูกปลน และเผาวอดวายลง ผูคนนับลานถูกสังหาร เชื้อพระวงศในราชวงศบานพลูหลวง อันเปนราชวงศที่ 5 และ ราชวงศสุดทายที่ปกครองกรุงศรีอยุธยาถูกกวาดตอนเปนเชลยศึกไปยังพมา กองทหารพมามุงทําลายลางกรุง ศรีอยุธยาใหพินาศสิ้นไปอยางถาวร และไดกวาดตอนชาวไทยเปนเชลยศึก และใชใหเปนทาส สมัยกรุงธนบุรี (2310-2325)13 (14) สมัยกรุงธนบุรี นับไดวาเปนระยะการเปลี่ยนผานในหลาย ๆ ดาน สมเด็จพระเจาจากสินยายที่ตั้ง รัฐบาลไปยังกรุงธนบุรีแทนที่จะอยูอยุธยาตอไป เพราะกรุงศรีอยุธยาอยูในสภาพปรักหักพัง เหลือวิสัยที่จะ ฟนฟูบูรณะ กรุงธนบุรีอยูถัดลงไปทางใต และจาดที่นั้นอาจถอยหนีไปทางจันทบุรีทางเรือไดสะดวก เมือง จันทบุรีก็เปนที่มั่นของพระเจาตากสินมาแตเดิม เนื่องจากพระองคทรงคบคาสมาคมกับพอคาจีน ที่ตั้ง บานเรือนอยูที่กรุงธนบุรีและบางกอก ประกอบกับพระองคมีความชํานาญในทางการรบทางเรือดวยจึงนาจะ เปนไปไดวาพระองคอาจทรงดําริถึงการยายกําลังทัพไปจันทบุรียามพมาเขาโจมตีใหญ รัชสมัยของพระเจาตากสินมิไดเปนไปโดยสะดวกราบรื่น ราษฎรยังเสียขวัญไมหายที่พมาบุกโจมดี ทําลายกรุงศรีอยุธยา พระราชกรณียกิจเฉพาะหนา หลังจากขับไลพมาขาศึกออกไปได คือ การเสริมสรางพระ ราชอํานาจของพระองคใหมั่นคง ยังมีกลุมอื่น ๆ ที่กระหายอยากจะเปนกษัตริยอยูอีก นอกจากปญหาการเมือง แลว ก็ยังมีปญหาเศรษฐกิจ สงครามทําใหขายากหมากแพง พระองคทรงตั้งโรงทานแจกจายขาวปลาอาหาร เพื่อประทังความอดอยากของราษฎรไวกอน การขาดแคลนรายไดเขาแผนดินก็เปนปญหาสําคัญประการหนึ่ง ที่สําคัญกวานั่นก็คือ พมาซึ่งไมคาดคิดวาชาวไทยจะรวมตัวกันตั้งอาณาจักรไดอีก ไดยกทัพมาโจมตี รัชสมัย พระเจาตากสินจึงเกิดสงครามทั้งภายในภายนอกไมขาดสาย พระเจาตากสินก็ไดทรงปฏิบัติภารกิจสมกับที่เปน พระมหาราชเจา โดยรักษาชาติไทยไวเปนพื้นฐานแกการตั้งกรุงรัตนโกสินทร ตอมาพระเจาตากสินทรงถูก สําเร็จโทษหลังจากทรงครองราชยอยูเพียงชวงเวลาสั้น ๆ สั้นเสียจนกระทั่งไมทันไดสรางพระราชวังเสียดวยซ้ํา ไป พงศาวดารเลาวา หลังจากพระองคทรงกรําศึก และพระราชกิจอันหนักหนวงอยูนานปก็ทรงหันไปสงบ พระทัยโดยการปฏิบัติธรรม อางกันวาพระองคทรงสติวิปลาส ฟนเฟอนไป และทรงถูกทุบดวยทอนจันทรจน เสด็จสวรรคต ซึ่งเปนวิธีการประหารเชื้อพระวงศมาแตเดิม (14) ลิขิต ธีรเวคิน, ศาสตราจารย์ดร., วิวัฒนาการการเมืองการปกครองไทย (กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2539), หน้า 68-71
  • 8. 48 นาสังเกตวา ในรัชสมัยสมเด็จพระเจาตากสินมีการสักไพรทั้งมวล เพื่อติดตามจํานวนไพรขึ้นทะเบียน เดิมทีในสมัยอยุธยาจะมีการสักกันเฉพาะไพรสังกัดกรมกองทหารเทานั้น แตสมัยกรุงธนบุรีก็ขยายออกไปเปน สักไพรทั้งหมด ไพรจะถูกสักเลขและมูลนายที่ตนสังกัดไวที่ขอมือ มาตรการนี้เปนสิ่งจําเปน เพราะการเสียกรุง ศรีอยุธยาทําใหการจัดองคการทางการเมืองและสังคมเสื่อมทรุดไปดวย ระบบไพรที่ใชรอยสักเปนเครื่อง ตรวจสอบ จึงถูกใชเพื่อจัดระเบียบชาติไทยขึ้นใหม พึงตราขอความสําคัญไวในที่นี้วาถึงแมระบบไพรจะมีผลเสีย มากมาย แตก็ทําหนาที่สําคัญอยางหนึ่ง คือ เปนกลไกสรางหนวยรวมหรือสรางชาติที่มีการจัดตั้งขึ้นมาภายหลัง รัฐเดิมพินาศไป ระบบไพรมีบทบาทสําคัญในการที่ทําใหคนไทยรวมตัวกันติด ซึ่งนับเปนองคประกอบสวนหนึ่ง ของพลังฟนตัวของชาติไทย 1. ความสัมพันธภายนอก เนื่องจากรัชสมัยสมเด็จพระเจาตากสินสิ้น จึงไมพบวามีความสัมพันธกับภายนอกที่สําคัญใด ๆ นอกจากการรบกับพมาหลายครั้ง และการรบภายในเพื่อรวมชาติ ความจริงแลวสมัยนี้มีการรบพุงกันไมขาด สายจนสามารถเรียกไดวาเปนสมัยรัฐสงคราม ขอเท็จจริงที่นาสังเกตคือ มีการสงคณะทูตบรรณาการไปราช สํานักจีนหนึ่งชุด และมีการขยายการคาสําเภา นอกจากนี้ยังมีจีนอพยพมาตั้งหลักแหลงในอาณาจักรเพิ่มมาก ขึ้นเรื่อย ๆ สมัยกรุงรัตนโกสินทร (2325-2475) ลักษณะการปกครองไมไดมีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงไปจากรูปเดิมที่อยูในสมัยอยุธยา เพิ่งจะมา เปลี่ยนแปลงในทางปฏิรูปในสมันรัชกาลที่ 5 พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว อยางไรก็ตาม อาจกลาวไดวาการ ปรับปรุงระเบียบแบบแผนการปกครองในสมัยรัชกาลที่ 5 เปนเพราะการวางแนวรากฐานเตรียมพรอมไว สําหรับการปฏิรูปโดยรัชกาลที่ 4 พระจอมเกลาเจาอยูหัว1 4 (15) เพราะพระองคไดทรงสนับสนุนใหมีการศึกษา อารยธรรมตะวันตก เปนเหตุใหไดรับทราบถึงความเจริญกาวหนาในหลักการปกครองของตะวันตก และนํามา ปรับปรุงในการปกครองไทย 1. การปฏิรูประบบการปกครอง15 (16) รัชกาลที่ 5 ไดทรงยกเลิกตําแหนงอัครเสนาบดี 2 ตําแหนง คือ สมุหกลาโหม และสมุหนายก รวมทั้ง จตุสดมภ โดยแบงการบริหารออกเปนกระทรวงตามแบบอารยประเทศ และใหมีเสนาบดีเปนผูวาการแตละ (15) ศักดิ์ ผาสุกนิรันดร์, การปกครองไทย, หน้า 49-51 (16) วิศิษฐ์ ทวีเศรษฐ์ และ สุขุม นวลสกุล, การเมืองและการปกครองไทย, หน้า 51-55
  • 9. 49 กระทรวง เสนาบดีกระทรวงทุกระทรวงมีฐานะเทากันและประชุมรวมกันเปนเสนาบดีสภา (Council of State) ทําหนาที่เปนที่ปรึกษาและชวยบริหารราชการแผนดินตามที่กษัตริยมอบหมาย เพราะอํานาจสูงสุด เด็ดขาดเปนของกษัตริยตามระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช ตอมา พ.ศ. 2407 ไดทรงยกเลิกและตั้งเปนรัฐ มนตรีสภาขึ้นแทน นอกจากนี้ทรงตั้งองคมนตรีสภาขึ้นอีก สภาองคมนตรีถือเสมือนหนึ่งเปนสภารองลงมาจาก รัฐมนตรีสภา ในดานการปกครองสวนภูมิภาคหรือการปกครองหัวเมืองไดแก พ.ร.บ.ปกครองทองที่ ร.ศ.116 และ พ.ร.บ. ลักษณะปกครองทองที่ พ.ศ. 2457 เปนผลใหมีการจัดตั้งมณฑล, จังหวัด, อําเภอ และหมูบาน สําหรับ การปกครองทองถิ่นไดจัดใหมีสุขาภิบาล ซึ่งมีหนาที่คลายเทศบาลในปจจุบัน โดยจัดตั้งครั้งแรกที่กรุงเทพฯ และทาฉลอม ปรากฏวาดําเนินการไดผลดีเปนอยางมาก จึงไดตราพระราชบัญญัติสุขาภิบาล พ.ศ. 2458 โดย แบงสุขาภิบาลออกเปน 2 ประเภท คือ สุขาภิบาลเมืองและสุขาภิบาลตําบล รูปลักษณะการปกครองที่วางไวและดําเนินการในสมัยรัชกาลที่ 5 ไดรับการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงบาง ในรัชกาลที่ 6 และรัชกาลที่ 7 แตสวนใหญยังคงรูปเดิมนกระทั่งมีการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อ24 มิถุนายน 2475 2. สภาพเศรษฐกิจและสังคม สมัยรัตนโกสินทรยุคนั้น ๆ ลักษณะการดําเนินชีวิตของคนไทยทั่วไป นาจะไมมีอะไรเปลี่ยนแปลงไป จากเดิมมากนัก มีผิดแปลกไปบางในทาที่ดีคือ การเกณฑแรงงานราษฎรหรือไพรนั้นมักจะเลือกเกณฑเอาใน ระยะเวลาที่ไมขัดขวางกันการทํามาหากินของประชาชน คนไทยในสมัยนั้นมีประมาณ 4 ลานเศษ มีระดับการ ครองชีพที่ดีกวาชาติอื่นในทวีปเอเชีย และในสมัยรัชกาลที่ 5 ไดมีการประกาศเลิกทาส เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2417 การเลิกทาสของไทยมีลักษณะคอยเปนคอยไป โดยใชเวลาถึง 20 ป ระบบทาสจึงหมดไปจาก สังคมไทย สภาพความเปนอยูของประชาชนในสมัยรัตนโกสินทรดีกวาในสมัยกอนมาก ในดานการคมนาคม มี การตัดถนนหนทางใหความเจริญเขาสูชนบท สมัยรัชกาลที่ 5 ทรงเริ่มกิจการรถไฟ การสื่อสารไปรษณียโทร เลข โทรศัพท การสาธารณสุข สนับสนุนการรักษาแบบตะวันตก จัดตั้งโรงพยาบาลขึ้นหลายแหง และ สนับสนุนใหทุนหลวงสงนักเรียนไปเรียนตางประเทศ การบังคับการศึกษาบังคับในรัชกาลที่ 6 โดยกําหนดวา ใครอายุครบเกณฑ 7 ป ตองเขารับการศึกษาขั้นปฐมศึกษา ไทยไดทําสนธิสัญญากับอังกฤษเปนครั้งแรกเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน 2369 ในสมัยรัชกาลที่ 3 โดยทั้ง สองฝายตางรับรองสิทธิของเมืองขึ้นของแตละฝาย เพราะสมัยนั้นอังกฤษเขายึดครองดินแดนในรัฐมลายู ซึ่งมี อาณาเขตติดตอกับราชอาณาจักรไทย ผูแทนอังกฤษที่ลงนามสนธิสัญญา คือ ลอรด แอมเฮอรสน (Lord Amherst) สนธิสัญญานี้มีขอตกลงทางพาณิชยดวย และไทยไดทําสนธิสัญญากับสหรัฐอเมริกา เมื่อ 20
  • 10. 50 มิถุนายน 2375 โดยประธานาธิบดี แอนดรู แจ็กสัน (Andrew Jackson)16 (17) ตอจากนั้นมหาอํานาจทาง ตะวันตก เชน ฝรั่งเศส สเปน ก็ไดเขามาติดตอคาขาย และมีสัมพันธไมตรีกับไทย โดยเฉพาะอยางยิ่งในสมัย รัชกาลที่ 4 ไดทรวงใหความสนใจในอารยธรรมตะวันตกมากเปนพิเศษ พยายามสงเสริมใหมีการถายทอด สงเสริมศิลปะการศึกษาและวิทยาการ เพื่อนํามาใชประโยชนภายในประเทศอยางไรก็ตามความสัมพันธ ระหวางไทยกับมหาอํานาจตะวันตกสมัยนั้น ไทยเราตองตกเปนฝายเสียเปรียบในสนธิสัญญาตาง ๆ อยูเปนอัน มาก เพราะมหาอํานาจตะวันตกมักจะบีบใหไทยอยูในภาวะจํายอมในการทําสัญญาตาง ๆ การตั้งราชวงศใหมและการจัดตั้งชาติไทยขึ้นใหมในอาณาจักรกรุงรัตนโกสินทร เปนพระราชกรณียกิจ ที่ใหญหลวงและจะตองมีการฟนฝาอุปสรรคมากมาย การสรางความชอบธรรมในการเมืองการปกครอง การ จัดตั้งโครงสรางทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม โดยวิธีการเลียนแบบกรุงศรีอยุธยานั้นเปนเรื่องที่ตองอาศัยพระ ปรีชาสามารถและพระราชกุศโลบายอยางลึกซึ้ง ขณะเดียวกันก็ตองตอสูกับศึกภายนอกในเวลาที่บานเมืองยัง ไมมั่นคงอยูตัว การปกครองบริหารราชธานีใหมนั้น จะตองดําเนินไปดวยความระมัดระวัง ปญหาเรื่องการสืบทอด อํานาจก็ยังไมสามารถแกไขไดอยางสัมฤทธิ์ผล การคุกคามจากภายนอก คือ พมา ก็ยังไมสิ้นสุด ขณะเดียวกัน การติดตอกับจีนและชาติตะวันตกก็เริ่มขยายตัวขึ้น สภาพแวดลอมอันใหมนี้จําเปนตองไดผูนํารุนใหมที่มี ความคิดทันสมัย สามารถจะปรับตัวและปรับปรุงประเทศไดเพื่อความอยูรอด ซึ่งเปนเรื่องโชคดีที่ประเทศ สยามไดยุวกษัตริยที่ทรงพระปรีชาสามารถ และทรงเล็งเห็นการณไกล ยุคสมัยของพระองคปละพระราชโอรส คือ ยุคของการเปลี่ยนแปลงเพื่อความทันสมัย ซึ่งทําใหประเทศสยามกาวไปสูประวัติศาสตรบทใหมที่สําคัญ การเมืองไทยหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง17 (18) เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ไดมีการปฏิวัติซึ่งนําโดยขาราชการทหารและขาราชการพลเรือน ลมระบบการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย และไดมีการสรางระบบการปกครองแบบกษัตริยอยูภายใต รัฐธรรมนูญขึ้น พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวไดทรงพระราชทานรัฐธรรมนูญใหเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 ตอจากนั้นในป พ.ศ. 2476 ก็มีการเลือกตั้งทั่วไปเปนครั้งแรกในประวัติศาสตรไทย มีเหตุการณ สําคัญ ๆ เกิดขึ้น 3 เหตุการณหลังจากปฏิวัติ เหตุการณแรกคือ การวางแผนเศรษฐกิจแหงชาติโดย ดร.ปรีดี พนมยงค ซึ่งเปนหัวหนาคณะราษฎรของการปฏิวัติ 2475 แผนเศรษฐกิจนี้ถูกเรียกวา แผนคอมมิวนิสต โดย (17) จุลจักรพงษ์, เจ้าชีวิต, 301-5 และ 323-6 (18) Frank C. Darling” Thailand and the United States (Washington, D.C. : Public Affairs Press, 1965)
  • 11. 51 ฝายอนุรักษนิยม และนายปรีดีตองเดินทางออกนอกประเทศชั่วคราว เพื่อใหเหตุการณสงบลง เหตุการณที่สอง คือ การปฏิวัติซอนโดยพระเจาบวรเดช แตการปฏิวัติครั้งนั้นลมเหลว เกิดการปะทะกันบริเวณที่ในปจจุบันเปน เขตที่อยูใกล ๆ สนามบินดอนเมือง อีกทั้งยังทําลายฝายเจา ซึ่งคิดที่จะนําระบอบการปกครองแบบเกานี้มาใช เหตุการณที่สาม คือ เมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ. 2478 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ซึ่งเสด็จประพาสยุโรปไดทรง ประกาศสละราชสมบัติที่ประเทศอังกฤษ ดังนั้น ราชบัลลังกจึงสืบทอดโดยพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว อานันทมหิดล เนื่องจากพระองคยังทรงพระเยาวและทรงศึกษาอยู จึงมีการแตงตั้งคณะผูสําเร็จราชการแทน พระองค ประกอบดวย 3 คน เพื่อทําหนาที่แทนพระองค นายกรัฐมนตรีคนแรกของประเทศไทยคือ พระยาม โนปกรณนิติธาดา อดีตประธานศาลฎีกา ทานไดเปนนายกอยูประมาณ 1 ป และแลวทามกลางความกลัวที่จะ นําระบบการปกครองเกามาใช พระยาพหลพยุหเสนาไดทําการปฏิวัติเปนนายกรัฐมนตรีแทน และแลวเมื่อเดือนธันวาคม พงศ. 2481 พระยาพหลฯ ไดลาออกจากตําแหนง เนื่องจากสุขภาพไมดี จึงทําใหจอมพล ป. พิบูลสงคราม ไดดํารงตําแหนงตอจากนั้น ทหารเริ่มมีอํานาจมากขึ้นเรื่อย ๆ จอมพล ป. พิบูลสงคราม เปนนายกรัฐมนตรีเปนเวลา 5 ปครึ่ง ไดสรางบทบาททางประวัติศาสตรของเมืองไทยในดาน นโยบายรัฐนิยม ซึ่งเปนนโยบายรักชาติ นโยบายกีดกันคนจีน สวนนโยบายที่อันตรายที่สุดคือ การตัดสินใจ รวมกับญี่ปุนสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง การตัดสินใจประกาศสงครามกับสหรัฐอเมริกาและอังกฤษ เกิดจาก เหตุผลหลายประการ ที่สําคัญที่สุดคือ ความกดดันจากสถานการณ และอาจจะมาจากการคาดการณผิด คิดวา ญี่ปุนจะชนะสงคราม18 (19) ดังนั้นการเขารวมกับญี่ปุนก็เหมือนกับการเขารวมกับผูชนะ ซึ่งประเทศไทยอาจได ผลประโยชนรวมกับผูชนะ แตวาการตัดสินใจของจอมพล ป. กลายเปนขอผิดพลาดอยางใหญหลวง และทําให ตองเสียตําแหนงนายกรัฐมนตรี หลังจากสงครามสิ้นสุดลง ภายหลังที่สหรัฐอเมริกาทิ้งระเบิดปรมาณูที่ฮิโรชิมา และนางาซากิ และญี่ปุนยอมจํานน เมื่อญี่ปุนแพสงคราม ประเทศไทยซึ่งเปนพันธมิตรกับญี่ปุนแพสงครามดวย มีปจจัยสองขอที่ทําใหผูนํา ไทยสามารถจัดการกับสถานการณเพื่อหลุดพนจากวิกฤติการณครั้งนี้ได ปจจัยสองอันนี้ คือ หนึ่ง หมอม ราชวงศเสนีย ปราโมช ซึ่งเปนเอกอัครราชทูตไทยประจํากรุงวอชิงตัน ปฏิเสธที่จะสงสาสนประกาศสงครามกับ สหรัฐอเมริกา สอง ไดมีการจัดตั้งขบวนการเสรีไทย ซึ่งประกอบดวยคนไทยที่อยูเมืองนอก ซึ่งมีเปาหมาย คือ กูเอกราชของชาติ ดังนั้น เมื่อสงครามเสร็จสิ้น นายปรีดีจึงออกประกาศซึ่งเห็นชอบโดยเอกฉันทโดยสภาผูแทนแหงชาติ โดยมีเนื้อความทํานองวา (19) Donald E. Nuechterkeib, Thailand and the Struggle for Southeast Asia (Ithaca, N.Y. : Cornell University, 1965), pp. 77-78
  • 12. 52 “คนไทยไมเห็นดวยกับการประกาศสงครามและการกระทําอันเปนศัตรูกับสหประชาชาติ (และ ผูสําเร็จราชการแทนพระองค ซึ่งกระทําการแทนพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว) ไดประกาศในนามของ ประชาชนชาวไทยวา การประกาศสงครามตอสหรัฐอเมริกาและอังกฤษเปนโมฆะ และไมไดผูกมัดประชาชน ชาวไทย”(20) การเคลื่อนไหวดังกลาว เปนการเคลื่อนไหวที่รอบคอบ เพื่อการชวยชาติหลุดพน ในสวนของการเมือง ภายในประเทศไทยไดหลุดพนจากภาวะของสงครามในลักษณะเกิดเปนประเทศที่รัฐบาลใหมโดยพลเรือนนํา โดยกลุมเสรีนิยม เชน ปรีดีและเสนีย ความรุงเรืองของทหารชาตินิยมและการรวมชาติของ จอมพล ป. ไดตกต่ําลงไป 1. รัฐประหารป พ.ศ. 2490 การรัฐประหารป 2490 เกิดขึ้นสามปหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 นําโดยพันเอกหลวงกาจสงคราม และ พลโทผิน ชุณหวัน บุคคลสําคัญสองคนที่วางแผนคือ พันเอกเผา ศรียานนท ลูกเขยของพลโทผิน ชุณหวัน และ พันเอกสฤษดิ์ ธนะรัชต ตอมาทั้งสองไดเปนศัตรูทางการเมืองกัน รัฐประหารครั้งนี้สงผลให จอมพล ป. กลับมา มีอํานาจอีกในเวลาตอมา แตการปฏิวัติของการเมืองไทย จะตองทําใหการยึดอํานาจสมเหตุสมผล ดังนั้นทันที่ที่ ทหารยึดอํานาจในการทํารัฐประหารเมื่อเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2490 นายควง อภัยวงศ ผูซึ่งเปนหนึ่งใน จํานวนหัวหนาคณะราษฎร จึงไดเปนนายกรัฐมนตรี แตนาวควงก็ถูกบังคับใหออกจากตําแหนง โดยยังอยูใน ตําแหนงไมครบ 6 เดือน หลังจากนั้น จอมพล ป. พิบูลสงคราม ก็ไดเปนนายกรัฐมนตรี เปนเวลาเกือบ 10 ป จนกระทั่งถูกยึดอํานาจโดยจองพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ในเดือนกันยายน พ.ศ. 250020 (21) ทหารเริ่มรวบรวมอํานาจได พวกเสรีนิยมก็เริ่มสูญเสียสถานภาพทางการเมือง นายปรีดี ผูซึ่งถูกสงสัย วาพัวพันกับกรณีปลงพระชนมในหลวง ก็ถูกบีบใหหนีออกนอกประเทศ เมื่อเดือนตุลาคม ก็มีการกลาวหาพล โท เนตร เขมะโยธิน วาพยายามลมคณะรัฐประหาร 2490 พลโทเนตร ถูกจับ เหตุการณดังกลาวเปดโอกาสให คณะรัฐประการไดทําลายนายทหารที่ไมจงรักภักดี และเพื่อกําชับอํานาจของรัฐบาล จอมพล ป. เมื่อเดือน กุมภาพันธ พ.ศ. 2492 ไดมีการพยายามลมลางอํานาจของจอมพล ป. โดยนายปรีดีและพวก นายปรีดีแอบเขา ประเทศและพยายามทํารัฐประหาร โดยอาศัยการสนับสนุนของกองทัพเรือและพรรคพวกเสรีไทยพวกหนึ่ง การตอสูเกิดขึ้นเปนเวลา 3 วัน นายทหารและพลเรือนหลายคนถูกฆาและบาดเจ็บ ทรัพยสินเสียหายมากมาย เปนรัฐประหารที่นองเลือด21 (22) (20) ประกาศฉบับนี้ออกโดย นายปรีดา พนมยงค์เมื่อวันที่ 16 เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2488 โปรดดู Dhiravegin, Siam and Colonialism, op., cit., p. 75 (21) Chaloentiarana, op. cit (22) ทักษ์เฉลิมเตรีรณ, การเมืองระบบพ่อขุนอุปถัมภ์แบบเผด็จการ(กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2526). หน้า 67.
  • 13. 53 ในชวงทศวรรษระหวางป พ.ศ. 2483-2493 มีสิ่งสําคัญเดนชัดอยู 3 จุด สิ่งแรกคือ การคุกคามขอ คอมมิวนิสตในภูมิภาคนี้ ประเทศจีนถูกยึดอํานาจโดย เหมา เจอ ตุง ในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2492 กรณีนี้เปน เหตุการณที่ทําใหสหรัฐอเมริกาเชื่อวา นโยบายสูเพื่อกันไมใหลัทธิคอมมิวนิสตลุกลามนั้นเปนเรื่องจําเปน ทามกลางสงครามเย็น ซึ่งทวีความขัดแยงเขมขนขึ้น ในปตอมาก็เกิดสงครามเกาหลี จอมพล ป. ซึ่งอยากพิสูจน วาอยูฝายตะวันตก ไดขอสงอาสาสมัครไทยไปรบกับคอมมิวนิสต ในตอนั้นสหรัฐอเมริกาเริ่มชวยรัฐบาลไทย ทางเศรษฐกิจและทางทหาร รัฐบาลของจอมพล ป. ซึ่งเห็นทิศทางลมทางการเมืองจึงหันนโยบายทางการ ตางประเทศเขากับฝายตะวันตกในป พ.ศ. 2497 ประเทศไทยกลายเปนสมาชิกองคการสนธิสัญญาเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต (SEATO) และกรุงเทพฯ ก็เปนที่ตั้งของสํานักงานใหญ ขอตกลงมะนิลาทําใหผูนําไทยมั่นใจ วา สหรัฐจะชวยเหลือประเทศไทยถาถูกรุกราน การตั้ง ซีโต ซึ่งประกอบดวยสมาชิก คือ สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส อังกฤษ ปากีสถาน ออสเตรเลีย นิวซีแลนด ฟลิปปนส และประเทศไทย ทําใหเกิดความชอบธรรมในการ แทรกแซงของกองทัพนอกภูมิภาค ถามีการบุกรุกโดยคอมมิวนิสต ทําใหรัฐบาลไทยไดรับความอบอุนใจ พอสมควร 2. รัฐประหารป พ.ศ. 250022 (23) จอมพล ป. เริ่มทําสิ่งที่คิดวาสําคัญตอการพัฒนาการของประชาธิปไตย เมื่อเดือนกันยายน 2498 โดย ขอใหรัฐสภาสนับสนุนใหผานกฎหมายพรรคการเมือง นอกจากนั้นยังลดอายุของผูมีสิทธิเลือกตั้งใหเหลือ 20 ป และยกเลิกเงื่อนไขหรือคุณสมบัติเกี่ยวกับศึกษาทั้งหมด เพื่อใหคนมาลงคะแนนเสียงมาก ๆ พรอม ทั้งประกาศ วาจะลงสมัครรับเลือกตั้งในเดือนกุมภาพันธ พ.ศ. 2500 และเริ่มพูดคัดคานการทํารัฐประหารและการใช อํานาจตํารวจหรือทหารเพื่อผลทางการเมือง การเลือกตั้งเดือนกุมภาพันธ พ.ศ.2500 มีพรรคการเมืองใหญสองพรรคที่ลงแขงขัน คือ พรรค เสรีมนังคศิลาของจอมพล ป. และพรรคประชาธิปตยของนายควง อภัยวงศ ผลที่ไดก็คือจอมพล ป. ชนะการ เลือกตั้ง แตแลวก็มีการโวยวายเกี่ยวกับเลือกตั้งวาการเลือกตั้งสกปรก รัฐบาลสกัดกั้นการวิจารณโดยประกาศ ภาวะฉุกเฉิน เพื่อจะปราบฝายตรงขามใหหนักขึ้น รัฐบาลหันไปแสดงพลังโดยการตั้งสฤษดิ์ ใหเปนผูบัญชาการ สูงสุกของกองทัพและตํารวจ มีความรับผิดชอบในการรักษาความสงบเรียบรอย การรวมตัวของบุคคลทุก รูปแบบถูกสั่งหาม บรรณาธิการหลายคนถูกจับในฐานะเขียนบทความและคํากลาวที่ตอตานรัฐบาล นอกากนั้น ยังมีการแสดงอํานาจทหารเพื่อขมขูฝายตรงขาม (23) ลิขิต ธัรเวคิน, ศาสตราจารย์ดร., วิวัฒนาการการเมืองการปกครองไทย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 5 (กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2540), หน้า 146-150
  • 14. 54 ทามกลางการแสดงพลังอํานาจของฝายรัฐบาล กลุมนิสิตนักศึกษาจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยประมาณ 2,000 คน ก็ไดตัดสินใจเด็ดขาดที่จะตอตานรัฐบาล มีการเรียกรองใหนายกรัฐมนตรีลาออก และใหมีการ เลือกตั้งใหมภายใตคําแนะนําของจอมพลสฤษดิ์ แตจอมพล ป. ไมยินยอม โดยกลาวตอบวาการเลือกตั้งจะเปน โมฆะเมื่อศาลสั่ง จอมพลสฤษดิ์ไดขอใหนักศึกษาสลายตัว และสฤษดิ์ไดกลาวคําคมในประวัติศาสตรไวที่ สะพานมัฆวานวา “พบกันใหมเมื่อชาติตองการ” หลังจากการเลือกตั้งและหลังการรณรงคคัดคานการเลือกตั้งที่สกปรก คะแนนนิยมและฐานะของ จอมพล ป. เสื่อมลงอยางรวดเร็ว วกที่คัดคานรัฐบาลและความเปนเผด็จการและการใชอํานาจผิด ๆ ของ พลตํารวจเอกเผา ศรียานนท ก็ยิ่งเพิ่มขึ้น ในขณะที่พรรคการเมืองฝายตรงขามตาง ๆ พยายามหาทางลม รัฐบาลจอมพล ป. เพื่อถวงดุลอํานาจของจอมพลสฤษดิ์ ทามกลางวิกฤติดังกลาวพรอมกับการตอตานอเมริกัน ในวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2500 จอมพลสฤษดิ์จึงทําการรัฐประหาร ตามรายงานขาววา จอมพลสฤษดิ์จับแผนการปฏิวัติของเผาได จอมพล ป. หนีไปเขมร และตอมาขอลี้ภัยไปอยูญี่ปุน และอยูจนถึงแกอสัญกรรมที่นั่น พลตํารวจเอกเผาถูกสงออกนอก ประเทศและไปอยูสวิสเซอรแลนด ซึ่งตอมาไดถึงแกอนิจกรรมที่นั่น หลังจากนั้น จอมพลสฤษดิ์ยังมิไดเขา ครอบครองอํานาจทันทีไดแตงตั้ง นายพจน สารสิน เปนนายกรัฐมนตรีเปนเวลา 90 วัน แลวจึงมีการเลือกตั้ง ทั่วไป ภายหลังการเลือกตั้งพลโทถนอม กิตติขจร ไดเปนนายกรัฐมนตรี แตแลวทามกลางวิกฤติการณทาง การเมือง การตอสูกันระหวางกลุมภายในพรรคและในกองทัพ จอมพลสฤษดิ์ จึงยึดอํานาจอีกครั้งหนึ่งเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2501 รัฐธรรมนูญของป 2495 ถึงถูกยกเลิก เปนการยุติรัฐบาลแบบประชาธิปไตย หลังจากนั้น ประเทศไทยถูกปกครองโดยเผด็จการแบบพอขุนภายใตสฤษดิ์ และผูสืบทอดอํานาจคือ จอมพลถนอม กิตติ ขจร และจอมพลประภาส จารุเสถียร ระบบเผด็จการแบบพอขุนอยูไดเปนเวลา 15 ป โดยมีประชาธิปไตยครึ่ง ใบเขามาแทรกเล็กนอย กอนจะถูกลม โดยการลุกฮือ ซึ่งนําโดยนักศึกษาเมื่อวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 และ เหตุการณนั้นเรียกวา “การปฏิวัติเดือนตุลาคม”(24) 3. การเมืองไทยระหวาง 14 ตุลาคม 2516 และ 6 ตุลาคม 251924 (25) 14 ตุลาคม 2516 เปนปรากฏการณทางการเมืองยุคใหมที่มีนัยสําคัญอยางยิ่ง เพราะเปนการลุกฮือ ของประชาชนจํานวนแสน ๆ คน เพื่อตอตานรัฐบาลเผด็จการทหาร สาเหตุขอเหตุการณ 14 ตุลาคม 2516 มี หลายองคประกอบ ซึ่งมีสาเหตุที่เกิดจากปญหาโครงสรางและตัวแปรเฉพาะซึ่งเปนสวนหนึ่งของโครงสราง แยกออกเปนลักษณะไดดังนี้ (24) ศาสตราจารย์เสน่ห์ จามริก แห่งคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, เรียกเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 ว่า “การปฏิวัติ 14 ตุลาคม” ดูบทความ ในวารสารธรรมศาสตร์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 (พฤษภาคม 2517) (25) ลิขิต ธีรเวคิน, ศาสตราจารย์ดร. วิวัฒนาการทางการเมืองการปกครองไทย, อ้างแล้ว หน้า 190-208
  • 15. 55 1. ในแงของโครงสรางทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง เปนผลของการเสียดุลระหวางการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมกับการพัฒนาทางการเมือง ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงนําไปสูขอขัดแยง 2. บุคลิกภาพของผูมีอํานาจ ทั้งจอมพลถนอม จอมพลประภาส ตางก็ไมมีบารมีเหมือน จอมพลสฤษดิ์ 3. ระบบอุปถัมภ การใหความสนับสนุนชวยเหลือ และการตอบแทนในแงผลประโยชนทําใหเกิด ปญหาการฉอราษฎรบังหลวง 4. ปญหาความชอบธรรม รัฐบาลทําใหเกิดการฉอราษฎรบังหลวง ลิดรอนสิทธิประชาชน การขาด แคลนขาวสารและน้ําตาล รัฐบาลไมสามารถบําบัดทุกขบํารุงสุข มีการใชอํานาจไปในทางไมชอบธรรมในหลาย กรณี 5. กลุมการเมืองที่ไมสนับสนุนเผด็จการ คือ กลุมจารีตประเพณี และบรรดาพรรคการเมืองที่ไมเห็น ดวยกับการกระทําของรัฐบาลในประเด็นการใชอํานาจทางการเมือง เหตุการณ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 เริ่มตนดวยการแจกใบปลิวเรียกรองรัฐธรรมนูญของกลุมนักศึกษา กลุมหนึ่ง ในวันที่ 6 ตุลาคม 2514 และถูกตํารวจจับซึ่งเปนจุดนําไปสูเหตุการณ 14 ตุลาคม 2516 กอนหนา นั้นไดมีการเซ็นชื่อ 80 คน เพื่อเรียกรองรัฐธรรมนูญและยังมีจดหมายจาก ดร.ปวย อึ้งภากรณ อดีตผูวาการ ธนาคารแหงประเทศไทยถึงจอมพลถนอม กิตติขจร นายกรัฐมนตรี โดยเขียนเปนจดหมายจากนายเขม เย็นยิ่ง ถึงนายทนุ เกียรติกอง ใหมีกติกาของหมูบาน “ไทยเจริญ” การจับกุมตัวนักศึกษา 12 คน และนักการเมืองผู หนึ่ง เปน 13 คน ผลที่ตามมาก็คือ การชุมนุมโดยศูนยนิสิตนักศึกษาแหงประเทศไทย เริ่มที่มหาวิทาลัย ธรรมศาสตร การประทวงประกอบดวย การอภิปรายโจมตีรัฐบาลและตัวบุคคล ซึ่งไดแก จอมพลถนอม จอม พลประภาส และพันเอกณรงค จํานวนผูประทวงมากขึ้นตามลําดับ จนมากกวาหาแสนคน เหตุการณทั้งหมด เริ่มตั้งแต 6 ตุลาคม และสิ้นสุดลงวันที่ 16 ตุลาคม 2514 แตเหตุการณนอเลือดเกิดในวันอาทิตยที่ 14 ตุลาคม 2516 การนองเลือดที่เกิดขึ้นนั้นจะสาเหตุอยางไรก็คงวิเคราะหได แตขาดหลักฐานที่จะสนับสนุน จึงขอ บรรยายถึงเหตุการณอยางคราว ๆ วาการประทวงขนานใหญนี้เริ่มที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ที่ลานโพธิ์ ตั้งแตวันที่ 9 ตุลาคม และในวันที่ 13 ตุลาคม ผูประทวงทั้งหมดซึ่งประกอบดวยนิสิตนักศึกษา นักเรียน ประชาชน ก็เคลื่อนออกจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตรไปยังอนุสาวรียประชาธิปไตย ระหวางตอนบายของวันที่ 13 จนถึงเชาวันที่ 14 ตุลาคม เปนชวงเวลาของการเจรจาตอรองระหวางกรรมการศูนยนิสิตฯ และรัฐบาล ผสมผสานกับความสับสน ความไมเขาใจบางประการของกลุมผูนํา ความตึงเครียดซึ่งซับซอนเกินกวาจะกลาว อยางสั้น ๆ ณ ที่นี้ได แตที่สําคัญก็คือ การนองเลือดที่เกิดขึ้นเชาวันที่ 14 ตุลาคม 2516 ซึ่งเกิดการปะทะกัน ระหวางตํารวจและผูประทวงไดนําไปสูเหตุการณที่เศราที่สุดในประวัติศาสตรไทย นักศึกษาอาชีวะจํานวนหนึ่ง