SlideShare a Scribd company logo
1 of 44
Download to read offline
รุไบยาต: วารสารวิชาการดานเอเชียศึกษา ปที่ 2 ฉบับที่ 3, สภาวะความเปนสมัยใหมอันแตกกระจาย: การคนหา
ประวัติศาสตรสังคมวัฒนธรรมปาตานี (กรกฎาคม-ธันวาคม 2554)
Copyright © 2011 กองทุนรุไบยาต และหนวยวิจัยภูมิภาคศึกษา สํานักวิชาศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ
ทวลักษณ พลราชม, วารชา การวนพฤติ
ณ ระหวางพื้นที่:
ประสบการณ || อัตลักษณ || มุสลิมมะฮฺปาตานี
บนเสนทางการศึกษาสมัยใหม
บทนํา
ความเขาใจตอภาพประวัติศาสตรปตตานีตลอดชวงเวลาที่ผานมาจนถึง
ปจจุบันนั้นยังคงเปนมุมมองเชิงประวัติศาสตรการเมืองและความขัดแยง
ที่ปตตานีมีตออาณาจักรสยาม คือเมื่อศูนยกลางออนแอก็ทําการกบฏตอ
อํานาจศูนยกลางทันที1
ซึ่งแสดงถึงการปฏิเสธอํานาจของรัฐสยามมา
ตลอดประวัติศาสตรความสัมพันธระหวางสยามกับหัวเมืองมลายู ในขณะ
ที่สยามเองก็มีทัศนะตอปฏิกิริยานี้ของหัวเมืองมลายูวาเปน “การกบฏ”2
การสรางประวัติศาสตรเชนนี้ทําใหการรับรูและเขาใจสังคมปตตานีจํากัด
อยูเพียงสองดานที่ขัดแยงและอยูในขั้วตรงขามระหวางศูนยกลางและ
ชายขอบ โดยสะทอนผานนโยบายการหลอมรวมชาติของรัฐไทยในแตละ
ยุคสมัย อันเปนผลใหพลวัตรที่หลากหลายทางสังคมและปฏิสัมพันธของ
ผูคนที่อยูในวิถีชีวิตและพื้นที่ทางวัฒนธรรมในสังคมปาตานีถูกละเลย
ออกไปจากการศึกษาประวัติศาสตรปาตานี
คําถามก็คือเราจะสามารถทําความเขาใจประวัติศาสตรปตตานีใน
หนทางอื่นๆ ที่มากไปกวาความไมลงรอยกันทางการเมืองและไมไดกอ
รูปขึ้นจากกรอบประวัติศาสตรชาติกระแสหลัก แตมาจากประวัติศาสตร
ของพื้นที่นั้นๆ ไดหรือไม3
ดังปรากฏใหเห็นในการศึกษาประวัติศาสตร
1 ชวลีย ณ ถลาง, ประเทศราชของสยามในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา
เจาอยูหัว (กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2541), 27.
2 ปยนาถ บุนนาค, นโยบายการปกครองของรัฐบาลตอชาวไทยมุสลิมในจังหวัด
ชายแดนภาคใต พ.ศ. 2547-2516, พิมพครั้งที่ 2 (กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพรผลงาน
วิชาการ คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2546), 31.
3 Michael J. Montesano and Patrick Jory, eds., Thai South and Malay
มุสลิมมะฮฺปาตานีบนเสนทางการศึกษาสมัยใหม 147
ปาตานีในฐานะเมืองทาอันเปนศูนยกลางการคามลายูที่มีความเจริญรุงเรืองทางเศรษฐกิจ ศาสนา และ
วัฒนธรรม4
ซึ่งจะทําใหเห็นภาพประวัติศาสตรปตตานีในอีกดานหนึ่ง โดยอธิบายมาจากมุมมองใหมๆ
ทางสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมที่มีผลตอการกอรูปความเปนปตตานี5
กลาวไดวาการอธิบายประวัติศาสตรปตตานีในแงมุมเชนนี้ปรากฏใหเห็นนอยมาก และจํากัดอยู
เพียงในชวงเวลาอดีตมากกวาจะเปนเวลารวมสมัย ทั้งยังเปนมุมมองเชิงการเมืองมากกวามิติทางสังคม
วัฒนธรรม โดยเฉพาะการเปดภาพพลวัตรความเคลื่อนไหวของวิถีชีวิตของผูคนที่มีการรับ การตอรอง
และการผสมผสานทางวัฒนธรรมในแตละยุคสมัย ผานปฏิสัมพันธของผูคนในพื้นที่และอพยพเคลื่อน
ยาย การเดินทางขามพรมแดนไปมาระหวางพื้นที่ ซึ่งในที่นี้ไมเพียงเปนพื้นที่ทางกายภาพเทานั้น แต
ยังรวมถึงพื้นที่ทางความคิดและสํานึกทางอัตลักษณที่มาจากตัวตนที่แตกตางเมื่อเผชิญกับการปะทะ
ทาทายพรมแดนทางวัฒนธรรมที่เหลื่อมซอนทับในพื้นที่ทางสังคมในหลากมิติความสัมพันธ ดังที่โฮมิ
บาบา (Homi Bhabha) ไดสะทอนใหเห็นถึงความสัมพันธของความขัดแยงระหวางเจาอาณานิคมและ
ผูที่ตกอยูภายใตอาณานิคมในพื้นที่ทางวัฒนธรรม วาไมไดเปนไปแบบขั้วตรงขามที่แยกขาดจากกัน แต
อยูภายใตการปะทะสังสันทนทางวัฒนธรรมที่ตางฝายตางสะทอนซึ่งกันและกัน โดยสามารถมองเห็น
ไดชัดเจน “ในระหวางพื้นที่” (in-between space) ทางวัฒนธรรมในชวงเวลาสมัยใหม ซึ่งความไม
ลงรอยของวาทกรรมที่เปนหนึ่งเดียวถูกเผยขึ้นในลักษณะขามเหนือพรมแดนระหวางพื้นที่6
เชนเดียว
กับชวงเวลาของการกาวไปสูความเปนสมัยใหมในปตตานี โดยเฉพาะในชวงเวลาที่สังคมปตตานีถูก
กระตุนผลักดันดวยกระแสความทันสมัยที่มาจากนโยบายการพัฒนาและนโยบายการกลืนกลายทาง
วัฒนธรรมในชวงสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ที่เนนการผนวกรวมกลุมคนที่แตกตางหลากหลายผาน
นโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ซึ่งถูกนํามาใชแทนนโยบายชาตินิยมและการกลืน
ชาติ (effacement) อันแข็งกราวในชวงสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ที่ไดสรางความขัดแยงขึ้นอยาง
รุนแรงในพื้นที่7
เพื่อสรางมาตรฐานความเปนชาติ (nationalist standardization) โดยหลอมรวม
“ความเหมือนกัน” (sameness) ใหเกิดขึ้นในประเทศ8
North: Ethnic Interactions on a Plural Peninsula (Singapore: NUS Press, 2008), 3.
4 อิบรอฮิม ชูกรี, ตํานานเมืองปตตานี, แปลโดยหะสัน หมัดหมาน, เรียบเรียงโดยประพนธ เรืองณรงค (ปตตานี:
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี, 2525), 12-35.
5 ตัวอยางเชนการศึกษาเครือขายการตั้งถิ่นฐานของคนปาตานีโพนทะเล หรือการศึกษาเสนทางการออกไปเรียนศาสนาใน
กลุมประเทศตะวันออกกลางของคนปาตานีที่แสดงใหเห็นความสําคัญของปาตานีในฐานะศูนยกลางการศึกษาเลาเรียนศาสนา
อิสลามในเอเชียตะวันออกเฉียงใต คือ บทความของจํารูญ เดนอุดม เรื่อง “บทบาทของอุลามะอฺปาตานีในเอเชียตะวันออก
เฉียงใต,” บทความของนิอับดุลรากิ๊บ บินนิฮัสซัน เรื่อง “มลายูปาตานีโพนทะเล,” บทความของอิสมาอีล เบญจสมิทธิ์ เรื่อง
“ชัยคฺวันอะหมัด อัล-ฟะฏอนีย: นักปรัชญาเมธีดานการศึกษาและการเมืองของโลกมลายู (พ.ศ.2399-2451)” ดังที่ปรากฏอยู
ใน Patrick Jory and Jirawat Saengthong, eds., The Phantasm in Southern Thailand: Historical Writings on
Patani and the Islamic World (Nakhonsithammarat: Regional Studies Program, 2009) เปนตน
6 Homi K. Bhabha, The Locations of Culture (London and New York: Routledge, 1994), 5.
7 อิมรอน มะลูลีม, วิเคราะหความขัดแยงระหวางรัฐบาลไทยกับมุสลิมในประเทศ (กรุงเทพฯ: สํานักพิมพอิสลามิคอะเค-
เดมี, 2538), 105.
8 Thongchai Winichakul, “Rethinking Thai Nationalism,” in Jory and Jirawat, eds., The Phantasm in
Southern Thailand, Vol. 2, 813.
148 ทวีลักษณ พลราชม, วารชา การวินพฤติ
การดําเนินนโยบายดังกลาวแมในแงหนึ่งจะเปนการแผขยายอํานาจรัฐไทยอยางมีประสิทธิภาพ
และเปนระบบเพื่อกลืนกลายทางวัฒนธรรมในพื้นที่ของสามจังหวัดชายแดนภาคใตผานนโยบายการ
พัฒนาประเทศ โดยเฉพาะการขยายโอกาสทางการศึกษา9
แตในอีกดานหนึ่งก็ไดทําใหบุคคลกลุมหนึ่ง
ไดรับประสบการณแบบใหมจากการไดออกไปเรียนยังพื้นที่อื่นและไดรับผลประโยชนจากการขยายตัว
ทางเศรษฐกิจในยุคสมัยของการพัฒนา รวมถึงการขยายตัวของกระแสความทันสมัยที่เกิดขึ้น การเปด
รับและการเขามาทางวัฒนธรรมเปนเงื่อนไขที่ทําใหคนกลุมนี้สรางอัตลักษณแบบใหมของตัวเองขึ้นมา
ในพื้นที่ระหวางพรมแดนทางวัฒนธรรมของการกาวไปสูความทันสมัยในสังคมปตตานี ในทวงทํานอง
เดียวกับการกอรูปของอัตลักษณภายใตสภาวะสมัยใหมในบริบทสังคมแบบหลังอาณานิคมตามแนวคิด
ของบาบาที่มองวาเปนสภาวะที่เปดโอกาสใหเกิดการปะทะ-ตอรอง-โตแยง-แขงขันทางวาทกรรม ที่
จะทําใหเกิดสิ่งใหม (newness) ขึ้นมาจากรอยแตกของความพยายามสรางความเชื่อมตอระหวางอดีต
ปจจุบัน และอนาคตใหเปนเสนแนวเดียวกัน ซึ่งทําใหเกิดความคลุมเครือขึ้นจากเสียงระเบ็งเซ็งแซ
ของวาทกรรมที่เคยถูกกดทับอยูไดโผลปรากฏออกมา อันแสดงใหเห็นความลักลั่น ไมประสานสนิท
ของอุดมการณความเปนสมัยใหมที่พยายามสรางความเหมือนกันใหเกิดขึ้นโดยการขจัดสิ่งที่แตกตาง
ออกไป ซึ่งสะทอนผานตัวตนของผูคนที่มีชีวิตความเคลื่อนไหวโลดแลนระหวางพรมแดนวัฒนธรรม
ที่ทําใหการหลอมรวมตัวตนไมตอเนื่องหรือไมอาจประสานสนิทเปนเอกภาพ แตเกิดจากการปะทะ
ตอรอง ผสมผสานกลายพันธุ (hybrid) ระหวางอัตลักษณที่แตกตางภายในพื้นที่ทางวัฒนธรรม โดย
เฉพาะจากประสบการณของการเดินทางออกไปในพื้นที่อื่น ที่ทําใหเกิดการปะทะทาทายทางวัฒนธรรม
ที่แตกตาง
บทความชิ้นนี้ตองการนําเสนอประสบการณของคนในระหวางพื้นที่ (in-between space) ภาย
ใตสภาวะความเปนสมัยใหมที่ไมตอเชื่อม อันเปนสภาวะชั่วคราวทางประวัติศาสตรที่ทําใหเราเห็นภาพ
ความลักลั่นของการสรางความเปนสมัยใหมของรัฐไทย ที่ในแงหนึ่งตองการกลืนกลายคนสามจังหวัด
ชายแดนภาคใตดวยระบบการศึกษาสมัยใหม แตอีกดานหนึ่งก็ทําใหคนกลุมหนึ่งไดสรางสํานึกใหม
ของตัวเองขึ้นมา โดยไมไดปฏิเสธเครื่องมือการกลืนกลายของรัฐไทย คือ ระบบการศึกษาสมัยใหม แต
กลับหยิบฉวยใชมันเพื่อการอยูรอดและสรางพลังอํานาจใหมใหกับตนเอง โดยมุงความสนใจไปที่การ
กอรูปอัตลักษณผูหญิงมุสลิมปตตานีรุนแรกที่มีประสบการณในระหวางพื้นที่ๆ ถูกกระตุนผานระบบ
การศึกษาสมัยใหม ซึ่งเปดโอกาสใหพวกเธอออกเดินทางไปศึกษาในสังคมนอกพื้นที่ปตตานี เชน
9 ในสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ไดมีการสรางนโยบายอยางเปนรูปธรรมเพื่อแกไขปญหาภาคใต และปฏิบัติสืบมาในสมัย
จอมพลถนอม กิตติขจร ภายใตความรับผิดชอบของกระทรวงมหาดไทย อาทิ โครงการปรับปรุงโรงเรียนประชาบาลใหเปน
โรงเรียนชุมชน โครงการทุนการศึกษาระดับฝกหัดครูของนักเรียนมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต โครงการจัดการศึกษาผูใหญ
ในจังหวัดชายแดนภาคใต โครงการจัดตั้งโทรทัศนสาธารณะในจังหวัดชายแดนภาคใต โครงการธรรมจาริกอิสลาม โครงการ
อบรมวิชาภาษามลายู โครงการศึกษาภาษาและวัฒนธรรมทองถิ่นของขาราชการจังหวัดชายแดนภาคใต การแขงขันอานคัมภีร
อัลกุรอานระหวางประเทศ โครงการจัดสงนักศึกษาชาวไทยมุสลิมจังหวัดชายแดนภาคใตเขามหาวิทยาลัยและโรงเรียนนายรอย
ตํารวจสามพราน โครงการสงเสริมชาวไทยมุสลิมจังหวัดชายแดนใตเขารับราชการ พรอมกันนั้นไดตั้งศูนยประสานงานปกครอง
จังหวัดชายแดนภาคใตขึ้นเปนหนวยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการดําเนินนโยบายการปกครองของจังหวัดชายแดนภาคใตใน
พื้นที่โดยตรง, ดูเพิ่มเติม ใน ปยนาถ, นโยบายการปกครองของรัฐบาลตอชาวไทยมุสลิม, 125.
มุสลิมมะฮฺปาตานีบนเสนทางการศึกษาสมัยใหม 149
กรุงเทพฯ ปนัง หรือสิงคโปร ที่ถูกมองวาเปนตัวแทนความทันสมัยใหม ความกาวหนาในชีวิต รวมทั้ง
โอกาสทางการศึกษาและหนาที่การงานที่มั่นคง พวกเธอเหลานี้เติบโตขึ้นมาในชวงสมัยของการพัฒนา
ประเทศซึ่งเปลี่ยนจากยุคที่เนนนโยบายความมั่นคงและเต็มไปดวยความหวาดระแวงตอกลุมมุสลิมใน
สามจังหวัดชายแดนภาคใตในชวงสมัยจอมพล ป. มาสูยุคการประสานแนวรวมและเนนการพัฒนาใน
สมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต และตอเนื่องมาถึงชวงสมัยจอมพลถนอม กิตติขจร10
ซึ่งนําไปสูการขยาย
โอกาสทางการศึกษาลงไปสูสามจังหวัดชายแดนภาคใต และทําใหผูหญิงมุสลิมเหลานี้ไดรับการสงเสริม
สนับสนุนใหเขาสูระบบการศึกษา โดยเฉพาะในกลุมของลูกคนมีฐานะ พอคา และขาราชการ
การที่ผูหญิงมุสลิมเหลานี้ไดเขาไปอยูในพื้นที่ศูนยกลางไดทําใหเกิดสํานึกและมองเห็นตัวเองชัด
ขึ้นวาเราคือใคร ทั้งสํานึกความเปนมลายู และเรื่องเลาความทรงจําที่ไดยินไดฟงมาครั้งเปนเด็กก็ถูก
รื้อฟนขึ้นมาเมื่อตองเผชิญกับความแตกตางและถูกมองวาเปนอื่นในพื้นที่ศูนยกลาง ซึ่งทายที่สุดกอ
เกิดเปนสํานึกของความเปนมลายูขึ้นมาใหม ผานการขามไปมาระหวางพรมแดนของพื้นที่สาธารณะ
และพื้นที่สวนตัว กลาวคือ ภายในพื้นที่สาธารณะพวกเธอพยายามกลืนกลายตัวเองใหมีตัวตนทันสมัย
แบบมาตรฐานตามที่รัฐไทยคาดหวัง11
คือ การพูดไทย แตงตัวแบบไทย แตภายในพื้นที่สวนตัวกลับเปน
พื้นที่ดํารงอัตลักษณที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษ โดยเฉพาะผานภาษา เรื่องเลา ประวัติศาสตรครอบครัว
ความภาคภูมิใจในความเปนมลายูมุสลิมที่ไดรับการถายทอดจากบรรพบุรุษ ผลก็คือพวกเธอไดกาว
ขามไปมาระหวางพรมแดนเหลานี้และสรางอัตลักษณแบบใหมขึ้นมาจากการผสมผสานความคลุมเครือ
ปะทะโตแยงระหวางวัฒนธรรมและเรื่องเลาทางประวัติศาสตร ทั้งปรากฏการณนี้ยังเปนการสะทอนการ
ตอรองระหวางพื้นที่ในกระบวนการสรางความเปนสมัยใหมที่พยายามจัดแบงพื้นที่อยางแบงแยกเด็ด
ขาดระหวางพื้นที่สาธารณะและพื้นที่สวนตัว12
รวมถึงการสรางมาตรฐานความเปนไทยสมัยใหมและ
ความพยายามดํารงสืบตออัตลักษณความเปนมลายูมุสลิมไว ตามความคิดของบาบาแลว การปะทะสัง-
สันทนทางอัตลักษณที่แตกตางขัดแยงเชนนี้สะทอนใหเห็นไดในชวงเวลาสมัยใหมและชวงเวลาของการ
ปรับเปลี่ยนทางประวัติศาสตร ที่การจัดประเภทของคนไมสามารถแบงตามคุณลักษณะที่คงอยูมากอน
ในแตละกลุมชาติพันธุ แตถูกวางในตําแหนงแหงที่ของความแตกตางที่สรางในระหวาง (in-between)
เวลาและพื้นที่ๆ กาวขามความแตกตางทางวัฒนธรรม ซึ่งคุณลักษณะของคนไมไดถูกจํากัดในการ
สืบทอดมรดกทางชาติพันธุ แตกลับถูกวางอยูบนการเปลี่ยนแปลงปรับเปลี่ยนผานประสบการณ และ
คอยๆ สะสมเพิ่มพูนที่ทําใหเกิดตัวตนที่มีอัตลักษณแบบผสมปนเป (hybrid) อันเกิดขึ้นมาจาก
10 เรื่องเดียวกัน, 124-25.
11 การขยายตัวของนโยบายการศึกษาและคานิยมแบบใหม ทําใหโอกาสทางการศึกษาของผูหญิงมุสลิมปาตานีในการออก
ไปศึกษาภายในพื้นที่อื่นเริ่มขยายตัวมากยิ่งขึ้น เมื่อรัฐบาลมีนโยบายจัดการศึกษาของไทยไปสูสวนภูมิภาคภายใตโครงการ
พัฒนาการศึกษาสวนภูมิภาค (พ.ศ.ก.) พ.ศ. 2501 หรือเรียกวา Regional Educational Development Project includ-
ing Higher Education (R.E.D.P.H.E.) ประกอบกับในระยะเวลาตอมารัฐบาลไดกําหนดแผนพัฒนาภาคใตระยะ 3 ป (พ.ศ.
2507-2509) ทําใหเกิดเปนโครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาการศึกษาในภาคใตที่เปนรูปธรรมมากขึ้น โดยการกําหนดใหทุน
อุดหนุนนักเรียนที่นับถือศาสนาอิสลามโดยเฉพาะ
12 Barbara Marshall, Engendering Modernity: Feminism, Social Theory and Social Change (London:
Polity Press, 1994), 9.
150 ทวีลักษณ พลราชม, วารชา การวินพฤติ
ความสัมพันธในระหวางกลาง (interstitial relationships) ระหวางวัฒนธรรมเทาๆ กับการขามไป
มาระหวางพื้นที่สาธารณะและพื้นที่สวนตัว13
ดังนั้นความพยายามในการทําความเขาใจกระบวนการ
ความเปนสมัยใหมที่มาจากประสบการณของกลุมผูหญิงมุสลิมปตตานีรุนแรกที่ไดรับการศึกษาในพื้นที่
อื่น จึงไมเพียงเขาไปตรวจสอบบทบาทของพวกเธอในพื้นที่สาธารณะ แตรวมถึงพื้นที่สวนตัวดวย อัน
จะทําใหเราเห็นถึงกระบวนการที่สลับซับซอนของการสรางอัตลักษณและตัวตนของพวกเธอภายใต
บริบทที่สังคมไทยกําลังกาวไปสูความเปนสมัยใหม การปะทะตอรองระหวางพื้นที่สาธารณะและพื้นที่
สวนตัว ระหวางวัฒนธรรม ระหวางสองขั้วความคิดที่มาจากประวัติศาสตรความขัดแยงที่ถูกจัดวางให
อยูภายใตอุดมการณที่ตรงขามและแยกขาดออกจากกัน ดังนั้นอัตลักษณของพวกเธอที่กอรูปภายใต
บริบทนี้จึงเปนอัตลักษณแบบผสมสานที่มีลักษณะของการนําคุณสมบัติของทั้งสองพื้นที่หรือในพื้นที่ๆ
หลากหลายอันเปนผลมาจากการเดินทางในพื้นที่ระหวางของพวกเธอ การขามไปมาระหวางพื้นที่ทําให
พวกเธอไดมองเห็นทั้งขอดีและขอจํากัดทั้งสองมุมมองที่ตางพรมแดนทางวัฒนธรรม และนําไปสูการ
ปรากฏสรางตัวตนแบบสมัยใหมของพวกเธอที่ออกมาจากความสัมพันธที่ทับเหลื่อมซอนกันของความ
แตกตางและความหลากหลายของวัฒนธรรมที่โตแยงแขงขันกันอยางเซ็งแซภายใตการเปลี่ยนผาน
สูความเปนสมัยใหม ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดของบาบาที่มองวาการตอรองอัตลักษณทางวัฒนธรรม
เกี่ยวของกับการเชื่อมประสานและแลกเปลี่ยนของการสวมบทบาททางวัฒนธรรมที่ตางก็สะทอนซึ่ง
กันและกัน และยังเกิดจากการตระหนักถึงความแตกตางทางวัฒนธรรมซึ่งกันและกันระหวางผูกดขี่
และผูถูกกดขี่ ระหวางวัฒนธรรมที่ครอบงําและวัฒนธรรมที่ถูกครอบงําดวย ดังที่บาบาโตแยงถึงพื้นที่
ของการเปลี่ยนผาน (luminal space) ที่ไมสามารถดํารงขอบเขตของตัวเองไวไดอยางชัดเจน แตเปน
พื้นที่ของการผสมผสานที่สะทอนกระบวนการผลิต/สรางที่เกิดขึ้นภายใน ที่ไมใชแคสะทอนความหมาย
ทางวัฒนธรรมตางๆ ขึ้นมาเทานั้น แตยังสะทอนกระบวนการผลิตและความพยายามสรางใหวัฒนธรรม
ที่แตกตางกันทั้งสองดานหลอมรวมกัน อยางไรก็ดี การหลอมรวมนี้ไมไดแนบสนิท และมีความ
ประดักประเดิดของความแตกตางระหวางกันปรากฏใหเห็นดวยสวนหนึ่ง14
ซึ่งเปนลักษณะของการ
มองการกลืนกลายทางวัฒนธรรมภายใตบริบทสังคมแบบสมัยใหมที่เนนการผนวกรวมความแตกตาง
ที่มีอยูมากมายในสังคมเขาไวดวยกัน ซึ่งในแงหนึ่งก็มักจะโผลปรากฏใหเห็นความไมลงรอยของการ
ประสานกลืนกลายที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะในพื้นที่ทางวัฒนธรรมที่เต็มไปดวยความแตกตางหลากหลาย
การวิเคราะหถึงการกอรูปประสบการณและอัตลักษณของผูหญิงมุสลิมมลายูปาตานีรุนแรกที่มี
ประสบการณในระหวางพื้นที่ในงานชิ้นนี้จึงประกอบดวยสามประเด็นดังนี้ ประเด็นแรกคือการเปด
ภาพใหเห็นบริบททางสังคม โอกาสทางการศึกษา และเงื่อนไขที่ทําใหเธอไดออกไปศึกษาในพื้นที่อื่น
ประเด็นที่สอง จะวิเคราะหการกออัตลักษณและสํานึกความเปนมลายูมุสลิมของพวกเธอขึ้นมาใหม
ที่มาจากการปะทะสังสันทนทางวัฒนธรรมและตัวตนจากประสบการณในระหวางพื้นที่ ซึ่งจะแสดงให
เห็นวาเรื่องเลา ความทรงจํา ความสัมพันธในพื้นที่สวนตัวและประวัติศาสตรในครอบครัว มีสวนในการ
สรางสํานึกความเปนมลายูมุสลิมของพวกเธอ ภายใตการสวมรับเอาตัวตนแบบสมัยใหมจากนโยบาย
13 Bhabha, Locations of Culture, 2.
14 Ibid., 5.
มุสลิมมะฮฺปาตานีบนเสนทางการศึกษาสมัยใหม 151
การกลืนกลายของรัฐไทยไดอยางไรในขณะที่สองสิ่งนี้ตรงกันขามและขัดแยงกัน ใน สวนสุดทาย จะ
พูดถึงการปรับเปลี่ยนอัตลักษณของพวกเธอภายใตกระแสฟนฟูอิสลามในพื้นที่สามจังหวัดชายแดน
ภาคใต ที่ทําใหการดํารงอัตลักษณความเปนมลายูมุสลิมที่เปนลักษณะโดดเดนผูกติดผสมผสานกับ
วัฒนธรรมพื้นถิ่นคอยๆ กลายสภาพผสานกับความเปนมุสลิมสมัยใหม ที่ใหความสําคัญตอการขับเนน
อัตลักษณทางศาสนาใหปรากฏในพื้นที่สาธารณะ มากกวาเปนเรื่องของการปฏิบัติศาสนกิจในพื้นที่สวน
ตัว โดยสะทอนผานการคลุมผาของผูหญิงซึ่งไดทาทายการสรางความเปนสมัยใหมที่ยึดเอาแตเพียง
ตะวันตกเปนศูนยกลาง
การศึกษาในครั้งนี้เปนการเก็บขอมูลภาคสนามในพื้นที่ตัวเมืองจังหวัดปตตานีระหวางเดือน
กุมภาพันธถึงเดือนสิงหาคม 2554 โดยผูเขียนใชวิธีการสัมภาษณกลุมผูหญิงรุนแรกที่ไดออกไปศึกษา
ในพื้นที่อื่น (แบงเปนพื้นที่กรุงเทพมหานครและปนัง-สิงคโปร) ซึ่งมีพื้นเพครอบครัวเปนเชื้อสาย
เจาเมืองและตระกูลที่รับราชการในจังหวัด ทั้งยังถือไดวาเปนตระกูลมุสลิมชั้นนําเกาแกและเปนรูจัก
ในสังคมปตตานี โดยจะอยูในกลุมทายาทของตระกูลพิพิธภักดี ตระกูลเดนอุดม ตระกูลมะโรหบุตร
และตระกูลระเดนอาหมัด ในกลุมนี้เมื่อเรียนจบกลับมาแลวเกือบทั้งหมดจะประกอบครูและอาจารย
มหาวิทยาลัย สวนกลุมที่สองจะสืบเชื้อสายมาจากตระกูลพอคาเชื้อสายอาหรับเยเมนและปากีสถาน
คือ ตระกูลนะหดี ตระกูลฮารีส ตระกูลเบญราฮีม และตระกูลระเดนอาหมัด ซึ่งผูเขียนไมไดสัมภาษณ
ทั้งหมดเนื่องดวยขอจํากัดจากการที่ผูใหขอมูลไดยายไปอยูตางประเทศ แตไดสัมภาษณผูหญิงใน
ตระกูลเบญราฮีมและในตระกูลระเดนอาหมัด โดยในกลุมนี้สวนมากประกอบอาชีพคาขายและเปนนัก
ธุรกิจ รวมถึงการเปนครูจากการมาเรียนเพิ่มเติมจนไดวุฒิการศึกษาที่ถูกรองรับใหบรรจุตามระเบียบ
ของระบบราชการไทย อยางไรก็ตาม เพื่อตองการรักษาความเปนสวนตัวของผูใหขอมูล ผูเขียนจะไม
ขอเปดเผยชื่อในบทสัมภาษณ โดยจะใชนามสมมุติทั้งหมด และหากจําเปนก็อาจจะตองเอยชื่อถึงใน
บางครั้ง เนื่องจากขอมูลที่ไดจากการเก็บขอมูลที่มีระยะเวลาเพียงสั้นๆ จึงอาจยังมีขอจํากัดของการ
เขาถึงขอมูลในบางสวน ดังนั้นการศึกษานี้จึงเปนเพียงการทดลองนําเสนอมุมมองการตีความและการ
วิเคราะหดวยแนวคิดและทฤษฎีแบบใหม โดยหวังวาอาจกอใหเกิดการเขาใจประวัติศาสตรปตตานีที่
แตกตางออกไปจากงานศึกษาชิ้นอื่นๆ ที่เคยบุกเบิกแผวถางเสนทางเอาไว โดยเฉพาะการมองผาน
เรื่องราวชีวิตและประสบการณผูหญิงในบริบทรวมสมัยที่ยังไมเคยมีการศึกษาหรือบันทึกอยางเปน
ระบบมากอน
เสนทางการศึกษาและบริบททางสังคม: จุดเริ่มตนของการเดินทางสูโลกสมัยใหม
ความเปนสมัยใหมเปนกระบวนการสรางที่เกี่ยวของกับตัวตน พื้นที่ และเวลาที่ประกอบสราง
ปจจุบันเพื่อการเปลี่ยนผานไปสูอนาคตที่ดีกวา พูดอีกทางหนึ่ง ตัวตน (การประกอบสรางตัวตน
ของชาติ/พื้นที่การสรางชาติ) และเวลา (การประกอบสรางประวัติศาสตรชาติ)15
เปนความสัมพันธ
เชิงอํานาจเพื่อกอใหเกิดความเบ็ดเสร็จสมบูรณของระเบียบทางสังคม อุดมการณทางการเมืองและ
15 Alev çinar, Modernity, Islam, and Seculaism in Turkey (Mineapolis and London: University of Min-
nesota Press, 2005), 9.
152 ทวีลักษณ พลราชม, วารชา การวินพฤติ
วัฒนธรรมของชาติ เปนสนามของการตอรองทางสังคมที่สะทอนกระบวนการสรางความเปนหนึ่งเดียว
ของความเปนชาติ ซึ่งมีผลตอการสรางรางกายของพลเมืองใหมีตัวตนแบบสมัยใหม และการแบงแยก
พื้นที่สาธารณะและพื้นที่สวนตัว ระหวางความเปนชายและความเปนผูหญิง ที่ความเปนหญิงถูกเบียด
ขับจํากัดไวเพียงในพื้นที่สวนตัว อันเปนผลจากอุดมการณครัวเรือนที่ถูกสรางขึ้นในตนคริสตศตวรรษ
ที่ 19 ที่สังคมตะวันตกกําลังกาวเขาสูความเปนสมัยใหม โดยผูหญิงชนชั้นกลางถูกผลักใหเขาไปอยู
ในพื้นที่สวนตัว ในขณะที่ผูชายยึดครองโลกสาธารณะไว การเปดโอกาสใหผูหญิงมีบทบาทในพื้นที่
สาธารณะก็เพียงเพื่อตองใหการศึกษาแกผูหญิงในการเตรียมตัวเปนแมบาน ดูแลเลี้ยงดูลูกเพื่อเตรียม
ความพรอมใหสามารถออกไปสูโลกภายนอกอยางมีประสิทธิภาพ16
ระบบการศึกษาจึงเปนเงื่อนไข
สําคัญที่ทําใหผูหญิงไดพัฒนาศักยภาพของตัวเองแมจะมีเงื่อนไขที่ผูกติดกับคุณคาความเปนหญิงผาน
บทบาทความเปนแมก็ตาม17
จากแนวคิดนี้เมื่อสํารวจการกาวเขาสูสังคมสมัยใหมในสังคมไทย เราจะ
พบวาการยกยองบทบาทผูหญิงในฐานะแม-เมียวาเปนปจจัยสําคัญตอความเจริญของประเทศชาติ ที่
เปดโอกาสใหผูหญิงไดกาวสูอาชีพทางสังคม แมบทบาทที่ไดรับจะผูกติดกับลักษณะความเปนหญิงของ
พวกเธอก็ตาม คืออาชีพครู พยาบาล เลขานุการ เปนตน18
แตก็ทําใหพวกเธอไดลิ้มลองชีวิตความเปน
สมัยใหมที่มาพรอมกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และโอกาสทางการศึกษา โดยเฉพาะกลุม
ผูหญิงชนชั้นกลางที่ไดรับโอกาสและสวนแบงในพื้นที่ทางสังคมและเสรีภาพแบบที่ไมเคยมีมากอน กอ
ใหเกิดสํานึกใหมในเรื่องอิสรภาพ ความรักและความสัมพันธระหวางเพศ ที่ตรงขามอยางสิ้นเชิงจาก
ยุคสมัยกอน19
และเมื่อเขาสูยุคสมัยการพัฒนาประเทศก็ยิ่งทําใหพวกเธอถูกกระตุนเราใหเปดรับความ
ทันสมัยเพื่อพัฒนาตัวเองใหเปนพลเมืองที่มีประสิทธิภาพ ขณะเดียวกัน ระบบการศึกษาแบบสมัยใหม
ก็เปนเครื่องมือที่แผขยายกลืนกลายประชาชนรุนใหมในภูมิภาคใหเห็นความสําคัญของการสรางชาติรัฐ
ไทย โดยเฉพาะในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต
บริบททางสังคมที่มาจากการพัฒนานโยบายการศึกษา20
ของรัฐจากสวนกลางที่แผขยายมาสูภาค
ใตในชวงเวลาดังกลาว จึงทําใหผูหญิงมุสลิมปตตานีกลุมหนึ่งไดมีโอกาสออกไปศึกษายังพื้นที่อื่นที่พวก
เธอยังไมเคยสัมผัสและคุนเคย ที่ทําใหไดรับประสบการณอันแปลกใหม ไดสัมผัสกับความทันสมัย ใน
16 Deirdre Beddoe, Discovering Women’s History (London: Longman, 1998), 3.
17 Marshall, Engendering Modernity, 56.
18 สุวดี ธนประสิทธิ์, “สถานภาพทางสังคมของสตรีไทยในสมัยปฏิรูป,” วารสารอักษรศาสตร 23, 2 (2534).
19 Scot Barmé, Woman, Man, Bangkok: Love, Sex, and Popular Culture in Thailand (Maryland: Row-
man & Littlefield Publishers, 2002).
20 ในชวงเวลานี้มีความตื่นตัวในการศึกษาระดับอุดมศึกษาของนักเรียนในจังหวัดปตตานีและในภาคใตอยางเห็นไดชัด โดย
เฉพาะการเดินทางเขาไปศึกษาตอในกรุงเทพมหานครถึงขนาดที่มีหนังสือถึงการรถไฟแหงประเทศไทยใหมีการอํานวยความ
สะดวกใหกับนิสิต นักศึกษา และนักเรียน โดยเพิ่มขบวนรถดวนสายใตใหมีทุกวันและลดคาโดยสาร และอนุญาตใหผูปกครอง
เดินทางไปพรอมกับนักเรียนได ในชวงปดเทอมเดือนมีนาคม เมษายน และชวงเปดภาคเรียนเดือนพฤษภาคม สวนโอกาส
ทางการศึกษาในตางประเทศนั้น มีทั้งทุนรัฐบาลตางประเทศและในประเทศและทุนสวนตัว ชวงเวลานั้นการไปเรียนตอตาง
ประเทศตองอยูในความดูแลของสํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน (กพ.) ทั้งนักเรียนทุนรัฐบาลและนักเรียนทุนสวน
ตัว โดยเฉพาะที่ปนังนักเรียนทุนสวนตัวมีเปนจํานวนมาก ใน พ.ศ. 2509 มีนักเรียนในความดูแลของ กพ. ถึง 850 คน, ดู
หจช. กต.0202.9/11 เรื่อง “ขอใหเพิ่มรถดวนสายใต” (พ.ศ. 2501), และ หจช. กต.0202.7/244 เรื่อง “อํานวยความ
สะดวกแกนิสิต นักศึกษา นักเรียน ที่จะเดินทางเขาศึกษาตอในกรุงเทพฯ” (พ.ศ.2505)
มุสลิมมะฮฺปาตานีบนเสนทางการศึกษาสมัยใหม 153
ยุคสมัยรอยตอของการเมืองจากยุคของความขัดแยงไปสูยุคของการพัฒนาประเทศ และคานิยมแบบ
ใหมที่พอแมตองการใหลูกไดทํางานราชการ มีความกาวหนาในอนาคต ตางจากคนรุนพอแมที่อาชีพ
สําหรับผูหญิงมีเพียงการเปนครูและพยาบาลเทานั้น21
เปนผลใหในยุคสมัยนี้อาชีพของผูหญิงเริ่มมี
หลากหลายมากขึ้น ไมวาจะเปนพนักงานตอนรับบนเครื่องบิน นักการบัญชี หรือนักการธนาคาร ดังที่
คุณยายทานหนึ่งไดเลาใหฟงวา
ตอนเรียน ม. 5-6 เราบอกวาเราอยากจะไปเปนพยาบาล จะไดชวยเพื่อนมนุษย หรืออยากเปนแอรโอสเตส
เพราะอานในหนังสือ แอรโฮสเตสมันเทห พอจะจบจริงก็ไปบอกคุณพอวาจะเรียนอยางนั้น พอไมใหเรียน คุณ
พอบอกวาเรียนพยาบาลก็เหมือนกับไปเปนคนรับใชเขา แอรโฮสเตสก็เหมือนกัน การบินไทยเปนอาชีพใหม
เพราะวาการบินไทยเพิ่งมี แตเราก็ไดอานหนังสือวามันดูโก ดูสวย คุณพอบอกใหไปเรียนครู บอกวาอาชีพครู
คืออาชีพที่มีเกียรติ
การขยายตัวทางการศึกษามาพรอมกับคานิยมแบบใหมที่ผูปกครองตองการใหบุตรหลานไดมีหนา
ที่การงานที่มั่นคง โดยเฉพาะอาชีพรับราชการ ซึ่งสวนมากจะถูกสงไปเรียนที่กรุงเทพมหานคร สวน
ความตั้งใจในการสงลูกผูหญิงไปเรียนที่ปนังนั้นตองการใหไปเรียนศาสนา แตเมื่อเดินทางไปถึงปรากฏ
วาไมมีโรงเรียนเปดสอน จึงตองเขาไปเรียนในโรงเรียนราษฎรที่เปดสอนอยูหลายแหงในปนัง22
โดย
เรียนปะปนกับนักเรียนหลายเชื้อชาติ สําหรับเสนทางในการเดินทางของผูหญิงมุสลิมรุนแรกที่ออกไป
ศึกษายังพื้นที่นอกปตตานีนั้นมีรองรอยใหคนหาไดดังนี้
เสนทางการไปศึกษาตอที่กรุงเทพฯ
กอนหนานี้โอกาสที่ผูหญิงจะไดออกไปศึกษาภายนอกปาตานีตั้งอยูบนเงื่อนไขที่จะมีญาติพี่นอง
21 ดู ปยะพร จันวัน, “ทัศนะของ ‘ผูหญิงทํางาน’ ในสังคมไทย พ.ศ. 2500-2516” (วิทยานิพนธมหาบัณฑิต สาขา
ประวัติศาสตร คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2547).
22 โรงเรียนสามัญในสหพันธมลายา แบงออกไดเปนสี่ประเภท คือ ก) โรงเรียนรัฐบาล(GovernmentSchools) โรงเรียน
รัฐบาลนี้เปนโรงเรียนที่รัฐบาลจัดตั้งขึ้น ครูไดรับเงินเดือนจากรัฐบาลเชนเดียวกับขาราชการ และไมเก็บคาเลาเรียนนักเรียน
ข) โรงเรียนที่รัฐบาลใหเงินอุดหนุนเต็มที่ (Full Grant-in-Aid Schools) โรงเรียนประเภทนี้คาเลาเรียนถูก (ชั้นประถม
เดือนละ 2.50 เหรียญ หรือประมาณ 17.50 บาท) ครูไดรับเงินเดือนจากรัฐบาลในอัตราเดียวกับครูของโรงเรียนรัฐบาล สวน
คาเลาเรียนเก็บไดเทาไรก็เปนรายไดของรัฐ ค) โรงเรียนที่รัฐบาลใหทุนอุดหนุนบางสวน (Partial Grant-in-Aid Schools)
โรงเรียนประเภทนี้เก็บคาเลาเรียนสูงกวาประเภท ข แตไมเกินที่รัฐบาลดําหนด ครูไดรับเงินเดือนจากเจาของโรงเรียน และ
คาเลาเรียนก็เปนรายไดของโรงเรียน ง) โรงเรียนราษฎรหรือโรงเรียนเอกชน (Private School) โรงเรียนประเภทนี้ไมไดรับ
เงินอุดหนุนจากรัฐบาล จึงเก็บคาเลาเรียนสูงกวาโรงเรียนอื่นๆ (ชั้นประถมเดือนละ 10 เหรียญหรือประมาณ 70 บาท) ครู
ไดรับเงินเดือนจากเจาของโรงเรียนโดยตรง; สวนโรงเรียนวิสามัญไดแกโรงเรียนชวเลข พิมพดีด หรือวิชาเลขานุการ โรงเรียน
ประเภทนี้เทียบไดกับโรงเรียนราษฎร เก็บคาเลาเรียนและรับนักเรียนไดโดยวางหลักเกณฑเอง (หจช. กต.43.5/71 “หลักสูตร
การศึกษาและรายชื่อมหาวิทยาลัยและระเบียบการเขาศึกษาของสิงคโปรและปนัง,” จดหมายถึงกระทรวงตางประเทศ จาก
สถานกงสุล ณ เมืองปนัง, ลงวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2504.) กอนหนานี้การเขาไปเรียนในปนังไมตองขออนุญาตกงสุลไทย
ในปนัง เพียงแตขออนุญาตผานดานตรวจคนเขาเมือง ทําใหมีคนไทยเชื้อสายจีนเขาไปอยูอาศัยในปนังเปนจํานวนมาก ทั้งนี้
คนเหลานี้ถือพาสปอรตสองสัญชาติ คือ ไทยกับจีน ซึ่งเปนการยากสําหรับทางการไทยในการตรวจตราและควบคุม และในชวง
สมัยรัฐบาลจอมพล ป. ปญหาหนึ่งที่กงสุลไทยเสนอขึ้นมาคือการที่กงสุลไทยไมมีอํานาจในการตรวจตราคนเขาออกในปนังจะมี
ผลตอการสรางชาติ โดยเฉพาะเยาวชนของชาติที่ถูกสงไปรํา่เรียนตั้งแตอายุนอย ดังขอความตอนหนึ่งในจดหมายของรองกงสุล
ไทย ณ เมืองปนังถึงรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ เรื่อง “เด็กนักเรียนไทยในเมืองปนัง,” ลงวันที่ 13 ธันวาคม
พ.ศ. 2483, ดู หจช. กต.43.5/71.
154 ทวีลักษณ พลราชม, วารชา การวินพฤติ
อยูที่กรุงเทพฯ ซึ่งสวนใหญเปนคนดั้งเดิมจากปาตานีที่ถูกอพยพและกวาดตอนไปอยูกรุงเทพฯ ในชวง
รัชกาลที่ 1 ถึง 323
จึงเปนสาเหตุที่ทําใหรุนปูและรุนพอแมมีเครือขายขึ้นไปศึกษาที่กรุงเทพฯ และตอ
มาสงเสริมใหรุนลูกไดรับศึกษา โดยเฉพาะระดับอุดมศึกษา โดยพวกเธอจะขึ้นไปเรียนมหาวิทยาลัยเปด
คือ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ในรุนตอมา รัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจรมีนโยบายสงเสริมการศึกษา
ขั้นสูงสําหรับประชาชนจากจังหวัดชายแดนภาคใตใหมีโอกาสไดศึกษาตอในชั้นอุดมศึกษามากขึ้นเปน
กรณีพิเศษ24
ทําใหมีนักเรียนหญิงมุสลิมสองคนแรกจากปตตานีไดเขาศึกษาตอในระดับอุดมศึกษาที่
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
ชวงเวลานั้นคือยุคสมัยที่สังคมไทยเริ่มมีประชากรที่อยูในวัยหนุมสาวมากกวาในอดีต เพราะ
สภาพทางเศรษฐกิจที่ตองการกําลังแรงงานเขาไปพัฒนาประเทศในดานตางๆ จํานวนมาก การสงลูก
เรียนตอในกรุงเทพฯ นั้นนิยมสงไปเรียนทั้งในระดับมัธยมและอุดมศึกษา อันเปนผลมาจากการเปด
พื้นที่ทางสังคมจากคนรุนกอนที่เขามาเรียนและทํางานจึงทําใหมีชองทางและเครือขายชวยเหลือเกื้อกูล
กัน เชน การตั้งสมาคมปกษใต สมาคมมุสลิมแหงประเทศไทย ดังนั้นในการเปดภาคเรียนแตละครั้ง
การเดินทางเขากรุงเทพฯ ของนักเรียนนักศึกษา จึงเปนบรรยากาศที่คึกคักเปนอยางมาก
ไปกรุงเทพฯ นั่งรถไฟ สมัยนั้นจุฬาฯ กับเกษตรฯ เปดพรอมกัน เราก็นั่งรถดวนชั้นสองไป มีพัดลม เบาะฟอง
นํา้ ทําบัตรลดไดครึ่งหนึ่ง ทํากันปละครั้ง มีรถดวนจากหัวลําโพงมาสุไหงโก-ลกสัปดาหละครั้ง แลวก็กรุงเทพฯ
ไปบัตเตอรเวิรตก็สัปดาหละครั้ง สมัยนั้นจะไปหาดใหญก็ไมใชเรื่องงาย เพราะฉะนั้นตองรอรถไฟมาจาก
กรุงเทพฯ วันเสาร กลับวันอาทิตย ถาเปดวันจันทรเราก็ไปวันอาทิตยกัน เดินทางแตละครั้งก็มีแตละจังหวัด
ขึ้น ดังนั้นจะรูจักกัน เจอกันบนรถไฟ เจอกันทุกที ก็คุยกันรูจักกัน สวนใหญก็ไมไดนอน ก็นั่งคุยกันไป ที่ไม
ซื้อตั๋วนอนเพราะสวนใหญไมคอยไดนอนกัน การขึ้นรถไฟจะไดเพื่อนใหมจากเกษตรฯ หรือจากจุฬาฯ ดวยกัน
ที่ไมใชจังหวัดเดียวกันก็ตลอดเสนทางจังหวัดภาคใต สมัยนั้นไมมีรถทัวร จะนั่งรถดวนไปลงหัวลําโพง รถเร็ว
จะไปสุดที่บางกอกนอย คนที่มีฐานะจริงๆ จะนั่งรถนอน
เสนทางการไปศึกษาตอที่ปนัง
เนื่องจากประชาชนทั้งในกรุงเทพฯ และจังหวัดภาคใตนิยมสงบุตรหลานไปเรียนที่ปนัง ใน พ.ศ.
2484 รัฐบาลจึงไดใหกงสุลไทย ณ เมืองปนัง สํารวจนักเรียนไทยที่อยูในปนัง โดยคาดการณวามี
23 ใน พ.ศ. 2323 รัชกาลที่ 1 ไดโปรดเกลาใหกรมพระราชวังบวรฯ ยกทัพไปปราบพมาทางใต แลวเลยไปตีเมือง
ปาตานี ชาวมลายูมุสลิมไดถูกกวาดตอนมาไวที่กรุงเทพฯ หากเปนเชื้อพระวงศจะใหอยูอาศัยที่สี่แยกบานแขก ชาวบานทั่วไป
จะกระจายอยูตามฝงธนฯ ทุงครุ พระประแดง บางคอแหลม มหานาค พระโขนง คลองตัน มีนบุรี หนองจอก ทาอิฐ หลังจาก
นั้นในสมัยรัชกาลที่ 1 ยังมีการอพยพมาอีกสองครั้ง คือ พ.ศ. 2329 และ 2334 ตอมาในสมัยรัชกาลที่ 3 ไดเกิดความไมสงบ
ขึ้นสองครั้งในชวงป พ.ศ. 2374 และ 2381 โดยเริ่มจากไทรบุรี ลุกลามขยายตอมายังหัวเมืองทั้งเจ็ด ไดแก ปาตานี หนองจิก
ยะลา รามันห ระแงะ สายบุรี และยะหริ่ง ทําใหชาวมลายูจากไทรบุรีและปาตานี ฯลฯ ถูกกวาดตอนมายังกรุงเทพฯ อีกครั้ง, ดู
รายละเอียดเพิ่มเติมใน เสาวนีย จิตตหมวด, กลุมชาติพันธุ: ชาวไทยมุสลิม (กรุงเทพฯ: กองทุนสงารุจิระอัมพร, 2531).
24 กระทรวงมหาดไทยในความรวมมือกับจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยผอนผันแกนักเรียนมุสลิมจากจังหวัดชายแดนภาคใต
ซึ่งสําเร็จชั้นเตรียมอุดมศึกษาหรือ ม.ศ. 5 เขาศึกษาตอในคณะรัฐศาสตรโดยไมตองสอบคัดเลือกผานทางสภาการศึกษาแหง
ชาติในปการศึกษา2505 และ2506 ปละหนึ่งคน สําหรับปการศึกษา2507 และปตอไป กระทรวงมหาดไทยขอทําความตกลง
ใหความชวยเหลือนักเรียนไทยมุสลิมไดเขาศึกษาตอในคณะตางๆ เพิ่มขึ้นอีกในคณะรัฐศาสตร คณะอักษรศาสตร และคณะ
ครุศาสตร คณะละสองคนตอปการศึกษา
มุสลิมมะฮฺปาตานีบนเสนทางการศึกษาสมัยใหม 155
นักเรียนไทยอาศัยอยูประมาณ100 คน25
สําหรับในภาคใตนั้น กลุมคนจีนจะเปนกลุมคนหลักๆ ที่นิยม
สงลูกหลานไปเรียนทางดานการคา จึงทําใหมีการเดินทางขามพรมแดนในลักษณะนี้มาอยางยาวนาน26
กระแสความนิยมดังกลาวทําใหมีนักเรียนไทยเขาไปศึกษาตอในปนังเปนจํานวนมากขึ้นทุกป จนใน
พ.ศ. 2509 มีนักเรียนในปนังมากถึง 900 คน27
ทําใหสถานกงสุลตองออกกฎควบคุมใหนักเรียนทุก
คนอยูภายใตระเบียบวินัยและการดูแลของสถานกงสุล28
นักเรียนที่เขาไปเรียนที่ปนังโดยสวนมากมี
25 หจช. กต.43.5/71 “หลักสูตรการศึกษาและรายชื่อมหาวิทยาลัย,” จดหมายจากสถานกงสุล ณ เมืองปนังถึงกระทรวง
ตางประเทศ, ลงวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2504.
26 กอนหนานี้การเดินทางไปเรียนที่ปนังไมตองขออนุญาตกงสุลไทยในปนัง เพียงแตขออนุญาตผานดานตรวจคนเขาเมือง
ทําใหมีคนไทยเชื้อสายจีนเขาไปอยูอาศัยในปนังเปนจํานวนมาก ทั้งนี้คนเหลานี้ถือพาสปอรตสองสัญชาติ คือ ไทยกับจีน ซึ่ง
เปนการยากสําหรับทางการไทยในการตรวจตราและควบคุม แตในชวงสมัยรัฐบาลจอมพล ป. ปญหาหนึ่งที่กงสุลไทยเสนอขึ้น
มาคือการที่กงสุลไทยไมมีอํานาจในการตรวจตราคนเขาออกในปนังจะมีผลตอการสรางชาติ โดยเฉพาะเยาวชนของชาติที่ถูกสง
ไปรํา่เรียนตั้งแตอายุนอย ดังขอความตอนหนึ่งในจดหมายของรองกงสุลไทย ณ เมืองปนัง ถึง รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตาง
ประเทศ เรื่อง เด็กนักเรียนไทยในเมืองปนัง ลงวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2483 ที่วา
เด็กนักเรียนไทยในเมืองปนังเปนสวนมากขาดการติดตอกับสถานกงสุลในเรื่องกิจการความเปนไปของประเทศไทย
ทั้งนี้เนื่องจากทางโรงเรียนเขมงวดในการติดตอกับคนภายนอก โดยฉะเพาะในโรงเรียนหญิง แมสถานกงสุลจะสง
หนังสือเกี่ยวกับเหตุการณการเคลื่อนไหวของประเทศไทยเชนหนังสือขาวของกรมโฆษณาการเปนตน ไปใหโรงเรียน
เพื่อประจําหองสมุดใหนักเรียนไทยไดมีโอกาสอานทราบไวบาง ก็ไมไดรับความรวมมือจากโรงเรียน เพราะทางโรงเรียน
อางวาเด็กนักเรียนจะตองอานหนังสือที่โรงเรียนจัดไวสอนเทานั้น นอกจากนี้ยังมีเด็กนักเรียนไทยอีกประเภทหนึ่งซึ่ง
มีอยูจํานวนมากเชนเดียวกัน ไมไดรับการอบรมในดานการรักชาติมากอน แลวผูปกครองก็จัดสงออกไปศึกษาในเมือง
ปนังแตยังเยาววัย เลยเปนเหตุใหเด็กเหลานั้นไมมีความเขาใจอะไรเลยในเรื่องการรักชาติ อันเปนลักษณะที่นาสมเพช
และเสียดายอยางยิ่ง เปนบุคคลที่มีสัญชาติไทยตามกฎหมาย สวนจิตรใจในเรื่องการรักชาตินั้นแทบจะไมมีเหลือติดอยู
เลย ซึ่งถาจะกลาวใหตรงกันก็คือเด็กเหลานี้คลายกับเพียงแตอาศัยแผนดินไทยมาเกิดเทานั้น
ดวยมูลเหตุเชนน จึงทําใหกงสุลไทย ณ เมืองปนัง เสนอทางแกปญหาดวยการจัดตั้งผูดูแลนักเรียนขึ้นโดยเฉพาะ เพื่อจะ
ไดดูแลไดอยางทั่วถึง ซึ่งจะเปนสวนหนึ่งที่จะชวยในเรื่องการสรางชาติ การดําเนินการจัดตั้งผูดูแลนักเรียนไทย เกิดเปนรูป-
ธรรมขึ้นในหลายปตอมา อันเปนผลจากความตองการที่จะแกปญหานักเรียนไทยมีเรื่องทะเลาะวิวาทกับนักเรียนพื้นเมือง ซึ่ง
เปนกรณีอื้อฉาวถึงขนาดหนังสือพิมพสเตรทสไทมของปนังและหนังสือพิมพไทยรัฐลงขาว ทําใหกงสุลไทยตองเรงดําเนินการ
ควบคุมนักเรียนไทยในปนังทั้งหมด ผานการปรึกษาหารือกับผูบังคับการตํารวจรัฐปนัง ดานตรวจคนเขาเมือง จึงไดขอตกลงที่
จะใหสถานกงสุลเปนผูควบคุมนักเรียนไทยในปนังทั้งหมด ดังนั้นสถานกงสุลไทยจึงไดดําเนินการควบคุมเปนขั้นๆ ไป คือผูที่
อยูกอนแลวก็ใหอยูตอไป ผูที่เขามาใหมจะตองไปรายงานตัวตอสถานกงสุล ทําคํารับรองใหไวกับสถานกงสุล และใหนําเจาของ
บานซึ่งจะพักอาศัยอยูดวยไปเซ็นรับรองวาจะควบคุมดูแลผูพักอาศัยใหอยูในระเบียบวินัยอันดี ซึ่งสถานกงสุลไทยไดดําเนิน
การมาตั้งแตป พ.ศ. 2506 โดยเมื่อนักเรียนคนใดตองการเขาไปเรียนที่ปนังตองผานการยื่นคํารองและรายงานตัวจากสถาน
กงสุล แลวสถานกงสุลจะออกหนังสือรับรองให โดยจะอนุญาตเพียงภาคการศึกษาเดียวกอน จากนั้นเจาตัวตองถือเอกสารไปที่
หนวยตรวจคนเขาเมืองเจาหนาที่ตรวจคนเขาเมืองก็จะอนุมัติใหอยูเพื่อการศึกษาไดหากนักเรียนประพฤติตนดีก็จะตอใหหนึ่ง
ป สวนผูที่อยูกอนแลวเมื่อสิ้นภาคการศึกษากลับบานไป เมื่อจะกลับเขามาขออยูเพื่อการศึกษาอีกก็จะตองปฏิบัติตามนี้ทุกคน
27 ไทยรัฐ (28 มิถุนายน 2509).
28 หจช. กต.43.5/71 “หลักสูตรการศึกษาและรายชื่อมหาวิทยาลัย,” จดหมายจากสถานกงสุล ณ เมืองปนังถึงกระทรวง
ตางประเทศ, ลงวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2504:
…การเตรียมตัวและการดําเนินเรื่อง เมื่อนักเรียนประสงคจะเดินทางไปเรียนที่ปนัง ตามระเบียบการเขาเมือง จะตอง
ติดตอหาโรงเรียนและใหโรงเรียนมีหนังสือรับรองวาจะรับนักเรียนนั้นๆ ไวในโรงเรียน หาที่พักอาศัยในปนังและผูรับ
รองในปนังดวยวาจะเปนผูรับผิดชอบในเมื่อนักเรียนนั้นๆ ไปตกทุกขไดยากหรือไปกอความเสียหายขึ้น แลวนําหลัก-
ฐานเหลานี้ไปยังสถานเอกอัครราชทูตสหพันธมลายา ณ กรุงเทพฯ เพื่อขอตรวจลงตราประเภทนักศึกษาเขาไปยังปนัง
156 ทวีลักษณ พลราชม, วารชา การวินพฤติ
ความประสงคจะเขาศึกษาตอในโรงเรียนที่สอนวิชาดานการคาและเลขานุการ ซึ่งเปนโรงเรียนวิสามัญ
หรือเทียบเทากับโรงเรียนราษฎรที่มีอยูหลายโรง โดยสวนมากเปนโรงเรียนจีนและใชภาษาจีนเปนภาษา
หลักในการสอน และมีเพียงบางวิชาจึงจะใชภาษาอังกฤษหรือมลายู ทั้งนี้โรงเรียนที่ใชภาษาอังกฤษใน
การสอนในปนังนั้นมีอยูเพียง 2-3 โรงเทานั้น29
นอกจากนั้นจะเปนโรงเรียนประจําของอาหรับ ซึ่งคน
ปตตานีเชื้อสายอาหรับที่นับถืออิสลามจะไปเรียน ในสมัยนั้นการเดินทางไปปนังถือวามีความสะดวก
มาก คือมีรถตูและรถไฟที่เดินทางออกจากหาดใหญทุกวัน วันละหลายเที่ยว ทั้งคนไทยและคน
มาเลเซียนิยมไปเที่ยวปนังเพราะเปนเมืองที่มีความเจริญทันสมัย คึกคักและเปนเขตปลอดภาษี
…เดินทางโดยรถตูจากหาดใหญ มีรถตูวิ่งตรงจากหาดใหญ ก็นั่งรถกันไปซื้อของ และนักเรียนไทยมีสิทธิไม
ตองเสียภาษีหลายอยาง คนมาเลย [มลายู] เองก็นิยมไปปนัง สวนมากไปตากอากาศ เปนเมืองที่ทันสมัยและ
อิสระ อยูใตปกครองของอังกฤษ ไมมีสุลตาน… เปนเมืองฟรีพอรต ปลอดภาษี… ฟรีพอรตนี้สําคัญมากนะ
คิดดูวาเมื่อกอนวิทยุแพงมาก สมัยกอนตองซื้อวิทยุฝงโนน ไมตองเสียภาษี… ใครๆ ก็ไป คนตางชาติก็ไป
บรรยากาศแบบสากล เพราะมีหลากหลายเชื้อชาติ จีน อินเดีย ฮินดู มุสลิม มีครบเลย แลวถาจําไมผิดจะมีวัน
หยุดราชการเยอะกวาที่อื่น มีวันหยุดทุกศาสนา
นอกจากนั้น การเขาเรียนที่ปนังหรือสิงคโปรก็เปนเรื่องงายในสมัยนั้น ไมตองทําวีซาใหยุงยาก
เพียงแตเดินทางไปสมัครเขาเรียนในโรงเรียนที่ตองการผานดานตรวจคนเขาเมือง จากนั้นก็นําใบรับ
รองไปยื่นใหกงสุลไทย ณ เมืองปนังออกใบอนุญาตให
ตอนไปเรียน ไปขอวีซาที่มาเลเซีย ขอผานไปสิงคโปร ขอจากกงสุลมาเลฯ ที่สงขลา เปน student pass เรา
ตองติดตอใหดี ที่โนนเขามีกระทรวงศึกษาของเขา เราเขาโรงเรียนเอาหนังสือจากโรงเรียนไปยืนยันวาเรามา
เรียนที่นี่ และผูปกครองตองไปยืนยันอีกวาเราอยูบานเขา ตองมีผูปกครอง ถาอยูหอเจาของหอยืนยัน เดินทาง
ไปเมื่อกอนไมตองมีวีซา พอไปถึงก็สมัครเรียนไดเลย
อยางไรก็ตาม การไปเรียนที่ปนังนั้น เมื่อกลับมาแลวหากตองสมัครงานตองมีการเทียบวุฒิการ
ศึกษากับของไทย ซึ่งทําใหมีความยุงยากเมื่อตองการทํางานราชการ ดังนั้นคนที่ไปเรียนตอที่ปนัง
จึงเปนคนที่ตองการภาษาและความรูดานการคาขาย เพราะสวนมากเมื่อจบกลับมาจะประกอบอาชีพ
ได แตปกติไมมีโรงเรียนใดยอมออกหนังสือรับรองใหแกผูที่อยูในตางประเทศเลย วิธีที่ปฏิบัติกันมาจึงขออนุญาตเขาไป
ชั่วคราวในรูปทัศนาจร โดยผูรองไปยื่นคํารองขอรับการตรวจลงตราประเภททัศนาจรจากสถานเอกอัครราชทูตสหพันธ
มลายา ณ กรุงเทพฯ โดยหาผูรับรองทางปนัง สถานเอกอัครราชทูตฯ จะขออนุมัติเขาไปยังกรมตรวจคนเขาเมืองปนัง
ในกรณีนักเรียนในความดูแลของสถานกงสุลของ ก.พ. สถานกงสุลฯ จะมีหนังสือรับรองไปยังกรมตรวจคนเขาเมือง
ทางกรมตรวจคนเขาเมืองจึงจะอนุมัติใหสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงเทพฯ ตรวจลงประทับตราประเภททัศนาจรให
โดยปกติมีกําหนด 1 เดือน และเมื่อนักเรียนนั้นๆไปถึงปนังแลว ทางสถานกงสุลฯจะนําไปฝากเขาโรงเรียนใดโรงเรียน
หนึ่งซึ่งสอนวิชาเต็มวัน (Full time school) ไมใชโรงเรียนกวดวิชา ทางโรงเรียนจะออกหนังสือรับรองวาไดรับนักเรียน
นั้นๆ ไวในโรงเรียนแลว สถานกงสุลฯจะนําหนังสือรับรองไปขออนุมัติตอเจาหนาที่ศึกษาธิการ และเมื่อไดรับอนุมัติจาก
ศึกษาธิการแลว จึงนําหนัสืออนุมัติพรอมทั้งหนังสือเดินทางไปประทับตรา ณ กรมตรวจคนเขาเมืองอีกครั้งหนึ่ง ซึ่ง
กรมตรวจคนเขาเมืองจะยอมใหอยูในปนังตลอดไปตราบที่ยังศึกษาอยูในโรงเรียนนั้นๆ และหากจะเปลี่ยนโรงเรียนก็
ตองดําเนินการตามวิธีดั่งกลาวอีก”
29 กลาวคือ 1) Kenyon Rae Methodist Girl School (เฉพาะนักเรียนหญิง) 2) Westland School (นักเรียนหญิงชาย
รวมกัน) และ 3) Parent Association School (นักเรียนหญิงชายเรียนรวมกัน) นอกจากนั้นยังมีโรงเรียน Penang Institute
ซึ่งสอนวิชาเลขานุการโดยเฉพาะ และโรงเรียน Cyma College
355
355
355
355
355
355
355
355
355
355
355
355
355
355
355
355
355
355
355
355
355
355
355
355
355
355
355
355
355
355
355
355
355

More Related Content

What's hot

หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6Thanawut Rattanadon
 
Unit 1 early thailand from prehistory to sukhothai
Unit 1  early thailand from prehistory to sukhothaiUnit 1  early thailand from prehistory to sukhothai
Unit 1 early thailand from prehistory to sukhothaiThaiway Thanathep
 
พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1wanpenrd
 
รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้Klangpanya
 
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทยJulPcc CR
 
ธนบุรี 2
ธนบุรี 2ธนบุรี 2
ธนบุรี 2sangworn
 

What's hot (7)

หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
 
V 289
V 289V 289
V 289
 
Unit 1 early thailand from prehistory to sukhothai
Unit 1  early thailand from prehistory to sukhothaiUnit 1  early thailand from prehistory to sukhothai
Unit 1 early thailand from prehistory to sukhothai
 
พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1
 
รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
รายงานวิจัยโครงการบทบาทของตุรกีในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
 
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
 
ธนบุรี 2
ธนบุรี 2ธนบุรี 2
ธนบุรี 2
 

Viewers also liked

บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยม
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยมบทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยม
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยมSana T
 
ร่างงานเลี้ยงรุ่น
ร่างงานเลี้ยงรุ่นร่างงานเลี้ยงรุ่น
ร่างงานเลี้ยงรุ่นTar Bt
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราDan Sun
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารjintara022
 
Bambo
BamboBambo
Bambostou
 
ลำดับ3.ห้องเรียนพิเศษ54
ลำดับ3.ห้องเรียนพิเศษ54ลำดับ3.ห้องเรียนพิเศษ54
ลำดับ3.ห้องเรียนพิเศษ54vittaya411
 
The Influence of Capacitance in The Emitter Follower
The Influence of Capacitance in The Emitter FollowerThe Influence of Capacitance in The Emitter Follower
The Influence of Capacitance in The Emitter FollowerElectronusa Mechanical System
 
Franquicias Digitales
Franquicias DigitalesFranquicias Digitales
Franquicias DigitalesDaniel
 
ปฏิทินรับนักเรียนชั้น ม.1 และ ม.4 ประจำปีการศึกษา 2556
 ปฏิทินรับนักเรียนชั้น ม.1 และ ม.4 ประจำปีการศึกษา 2556 ปฏิทินรับนักเรียนชั้น ม.1 และ ม.4 ประจำปีการศึกษา 2556
ปฏิทินรับนักเรียนชั้น ม.1 และ ม.4 ประจำปีการศึกษา 2556Lao-puphan Pipatsak
 
Chaptre1 new
Chaptre1 newChaptre1 new
Chaptre1 newPtato Ok
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารnatsuda_naey
 
ผลการประกวดสิ่งประดิษฐ์ ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประจำปี 2556
ผลการประกวดสิ่งประดิษฐ์ ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประจำปี 2556ผลการประกวดสิ่งประดิษฐ์ ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประจำปี 2556
ผลการประกวดสิ่งประดิษฐ์ ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประจำปี 2556Totsaporn Inthanin
 
การนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากร
การนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากรการนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากร
การนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากรIps UbonFive
 

Viewers also liked (20)

บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยม
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยมบทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยม
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยม
 
ร่างงานเลี้ยงรุ่น
ร่างงานเลี้ยงรุ่นร่างงานเลี้ยงรุ่น
ร่างงานเลี้ยงรุ่น
 
อาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอราอาณาจักรมอเนอรา
อาณาจักรมอเนอรา
 
Proverb15
Proverb15Proverb15
Proverb15
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Bambo
BamboBambo
Bambo
 
Proverb6
Proverb6Proverb6
Proverb6
 
ลำดับ3.ห้องเรียนพิเศษ54
ลำดับ3.ห้องเรียนพิเศษ54ลำดับ3.ห้องเรียนพิเศษ54
ลำดับ3.ห้องเรียนพิเศษ54
 
Connect wi fi
Connect wi fiConnect wi fi
Connect wi fi
 
The Influence of Capacitance in The Emitter Follower
The Influence of Capacitance in The Emitter FollowerThe Influence of Capacitance in The Emitter Follower
The Influence of Capacitance in The Emitter Follower
 
dkisdfsdf
dkisdfsdfdkisdfsdf
dkisdfsdf
 
Franquicias Digitales
Franquicias DigitalesFranquicias Digitales
Franquicias Digitales
 
ปฏิทินรับนักเรียนชั้น ม.1 และ ม.4 ประจำปีการศึกษา 2556
 ปฏิทินรับนักเรียนชั้น ม.1 และ ม.4 ประจำปีการศึกษา 2556 ปฏิทินรับนักเรียนชั้น ม.1 และ ม.4 ประจำปีการศึกษา 2556
ปฏิทินรับนักเรียนชั้น ม.1 และ ม.4 ประจำปีการศึกษา 2556
 
6 2
6 26 2
6 2
 
Monica vasconcelos (1)
Monica vasconcelos (1)Monica vasconcelos (1)
Monica vasconcelos (1)
 
Chaptre1 new
Chaptre1 newChaptre1 new
Chaptre1 new
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
ผลการประกวดสิ่งประดิษฐ์ ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประจำปี 2556
ผลการประกวดสิ่งประดิษฐ์ ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประจำปี 2556ผลการประกวดสิ่งประดิษฐ์ ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประจำปี 2556
ผลการประกวดสิ่งประดิษฐ์ ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประจำปี 2556
 
การนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากร
การนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากรการนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากร
การนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากร
 

Similar to 355

สันติธานี
สันติธานีสันติธานี
สันติธานีTaraya Srivilas
 
Ebook ดาไลลามะ สนทนาธรรมกับคนไทยที่ธรรมศาลา
Ebook ดาไลลามะ สนทนาธรรมกับคนไทยที่ธรรมศาลาEbook ดาไลลามะ สนทนาธรรมกับคนไทยที่ธรรมศาลา
Ebook ดาไลลามะ สนทนาธรรมกับคนไทยที่ธรรมศาลาPanda Jing
 
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6Thanawut Rattanadon
 
ประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทยประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทยChalee Pop
 
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
พลวัตล้านนา: ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภาษาในมณฑลพายัพภายใต้อิทธิพลสยาม จากเอกสาร...
พลวัตล้านนา: ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภาษาในมณฑลพายัพภายใต้อิทธิพลสยาม  จากเอกสาร...พลวัตล้านนา: ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภาษาในมณฑลพายัพภายใต้อิทธิพลสยาม  จากเอกสาร...
พลวัตล้านนา: ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภาษาในมณฑลพายัพภายใต้อิทธิพลสยาม จากเอกสาร...ชัยวัฒน์ ปะสุนะ
 
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.Tor Jt
 
พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1wanpenrd
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์krunumc
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นsumanan vanict
 
การศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณการศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณssuser930700
 
เชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลเชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลpentanino
 
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้Anchalee BuddhaBucha
 
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเอง
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเองทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเอง
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเองTum Meng
 

Similar to 355 (20)

สันติธานี
สันติธานีสันติธานี
สันติธานี
 
Hist m1
Hist m1Hist m1
Hist m1
 
Hist m1
Hist m1Hist m1
Hist m1
 
Ebook ดาไลลามะ สนทนาธรรมกับคนไทยที่ธรรมศาลา
Ebook ดาไลลามะ สนทนาธรรมกับคนไทยที่ธรรมศาลาEbook ดาไลลามะ สนทนาธรรมกับคนไทยที่ธรรมศาลา
Ebook ดาไลลามะ สนทนาธรรมกับคนไทยที่ธรรมศาลา
 
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
 
ประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทยประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทย
 
การปกครองท้องถิ่นญี่ปุ่น2016
การปกครองท้องถิ่นญี่ปุ่น2016การปกครองท้องถิ่นญี่ปุ่น2016
การปกครองท้องถิ่นญี่ปุ่น2016
 
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
 
พลวัตล้านนา: ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภาษาในมณฑลพายัพภายใต้อิทธิพลสยาม จากเอกสาร...
พลวัตล้านนา: ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภาษาในมณฑลพายัพภายใต้อิทธิพลสยาม  จากเอกสาร...พลวัตล้านนา: ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภาษาในมณฑลพายัพภายใต้อิทธิพลสยาม  จากเอกสาร...
พลวัตล้านนา: ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงภาษาในมณฑลพายัพภายใต้อิทธิพลสยาม จากเอกสาร...
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
 
พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
 
การศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณการศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาไทยในสมัยโบราณ
 
เชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดลเชียงคานโมเดล
เชียงคานโมเดล
 
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
 
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรมพัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
 
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเอง
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเองทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเอง
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเอง
 
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทยวรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
 

More from Matdavit Physics (20)

___ 5 _____
  ___ 5 _____  ___ 5 _____
___ 5 _____
 
___ 8 ______________
  ___ 8 ______________  ___ 8 ______________
___ 8 ______________
 
___ 7 __________
  ___ 7 __________  ___ 7 __________
___ 7 __________
 
การคิด วิทย์ มัธยม
การคิด วิทย์ มัธยม การคิด วิทย์ มัธยม
การคิด วิทย์ มัธยม
 
Plasma ball
Plasma ballPlasma ball
Plasma ball
 
M200
M200M200
M200
 
M6
M6M6
M6
 
A50343134
A50343134A50343134
A50343134
 
หลักสูตรแกนกลาง ฟิสิกส์ม6
หลักสูตรแกนกลาง ฟิสิกส์ม6หลักสูตรแกนกลาง ฟิสิกส์ม6
หลักสูตรแกนกลาง ฟิสิกส์ม6
 
Electrostatics clipvidva 1
Electrostatics clipvidva 1Electrostatics clipvidva 1
Electrostatics clipvidva 1
 
01
0101
01
 
Best parichart
 Best parichart Best parichart
Best parichart
 
360
360360
360
 
357
357357
357
 
349 2
349 2349 2
349 2
 
367
367367
367
 
367
367367
367
 
1047
10471047
1047
 
1072
10721072
1072
 
928
928928
928
 

355

  • 1. รุไบยาต: วารสารวิชาการดานเอเชียศึกษา ปที่ 2 ฉบับที่ 3, สภาวะความเปนสมัยใหมอันแตกกระจาย: การคนหา ประวัติศาสตรสังคมวัฒนธรรมปาตานี (กรกฎาคม-ธันวาคม 2554) Copyright © 2011 กองทุนรุไบยาต และหนวยวิจัยภูมิภาคศึกษา สํานักวิชาศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ ทวลักษณ พลราชม, วารชา การวนพฤติ ณ ระหวางพื้นที่: ประสบการณ || อัตลักษณ || มุสลิมมะฮฺปาตานี บนเสนทางการศึกษาสมัยใหม บทนํา ความเขาใจตอภาพประวัติศาสตรปตตานีตลอดชวงเวลาที่ผานมาจนถึง ปจจุบันนั้นยังคงเปนมุมมองเชิงประวัติศาสตรการเมืองและความขัดแยง ที่ปตตานีมีตออาณาจักรสยาม คือเมื่อศูนยกลางออนแอก็ทําการกบฏตอ อํานาจศูนยกลางทันที1 ซึ่งแสดงถึงการปฏิเสธอํานาจของรัฐสยามมา ตลอดประวัติศาสตรความสัมพันธระหวางสยามกับหัวเมืองมลายู ในขณะ ที่สยามเองก็มีทัศนะตอปฏิกิริยานี้ของหัวเมืองมลายูวาเปน “การกบฏ”2 การสรางประวัติศาสตรเชนนี้ทําใหการรับรูและเขาใจสังคมปตตานีจํากัด อยูเพียงสองดานที่ขัดแยงและอยูในขั้วตรงขามระหวางศูนยกลางและ ชายขอบ โดยสะทอนผานนโยบายการหลอมรวมชาติของรัฐไทยในแตละ ยุคสมัย อันเปนผลใหพลวัตรที่หลากหลายทางสังคมและปฏิสัมพันธของ ผูคนที่อยูในวิถีชีวิตและพื้นที่ทางวัฒนธรรมในสังคมปาตานีถูกละเลย ออกไปจากการศึกษาประวัติศาสตรปาตานี คําถามก็คือเราจะสามารถทําความเขาใจประวัติศาสตรปตตานีใน หนทางอื่นๆ ที่มากไปกวาความไมลงรอยกันทางการเมืองและไมไดกอ รูปขึ้นจากกรอบประวัติศาสตรชาติกระแสหลัก แตมาจากประวัติศาสตร ของพื้นที่นั้นๆ ไดหรือไม3 ดังปรากฏใหเห็นในการศึกษาประวัติศาสตร 1 ชวลีย ณ ถลาง, ประเทศราชของสยามในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจาอยูหัว (กรุงเทพฯ: สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2541), 27. 2 ปยนาถ บุนนาค, นโยบายการปกครองของรัฐบาลตอชาวไทยมุสลิมในจังหวัด ชายแดนภาคใต พ.ศ. 2547-2516, พิมพครั้งที่ 2 (กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพรผลงาน วิชาการ คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2546), 31. 3 Michael J. Montesano and Patrick Jory, eds., Thai South and Malay
  • 2. มุสลิมมะฮฺปาตานีบนเสนทางการศึกษาสมัยใหม 147 ปาตานีในฐานะเมืองทาอันเปนศูนยกลางการคามลายูที่มีความเจริญรุงเรืองทางเศรษฐกิจ ศาสนา และ วัฒนธรรม4 ซึ่งจะทําใหเห็นภาพประวัติศาสตรปตตานีในอีกดานหนึ่ง โดยอธิบายมาจากมุมมองใหมๆ ทางสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมที่มีผลตอการกอรูปความเปนปตตานี5 กลาวไดวาการอธิบายประวัติศาสตรปตตานีในแงมุมเชนนี้ปรากฏใหเห็นนอยมาก และจํากัดอยู เพียงในชวงเวลาอดีตมากกวาจะเปนเวลารวมสมัย ทั้งยังเปนมุมมองเชิงการเมืองมากกวามิติทางสังคม วัฒนธรรม โดยเฉพาะการเปดภาพพลวัตรความเคลื่อนไหวของวิถีชีวิตของผูคนที่มีการรับ การตอรอง และการผสมผสานทางวัฒนธรรมในแตละยุคสมัย ผานปฏิสัมพันธของผูคนในพื้นที่และอพยพเคลื่อน ยาย การเดินทางขามพรมแดนไปมาระหวางพื้นที่ ซึ่งในที่นี้ไมเพียงเปนพื้นที่ทางกายภาพเทานั้น แต ยังรวมถึงพื้นที่ทางความคิดและสํานึกทางอัตลักษณที่มาจากตัวตนที่แตกตางเมื่อเผชิญกับการปะทะ ทาทายพรมแดนทางวัฒนธรรมที่เหลื่อมซอนทับในพื้นที่ทางสังคมในหลากมิติความสัมพันธ ดังที่โฮมิ บาบา (Homi Bhabha) ไดสะทอนใหเห็นถึงความสัมพันธของความขัดแยงระหวางเจาอาณานิคมและ ผูที่ตกอยูภายใตอาณานิคมในพื้นที่ทางวัฒนธรรม วาไมไดเปนไปแบบขั้วตรงขามที่แยกขาดจากกัน แต อยูภายใตการปะทะสังสันทนทางวัฒนธรรมที่ตางฝายตางสะทอนซึ่งกันและกัน โดยสามารถมองเห็น ไดชัดเจน “ในระหวางพื้นที่” (in-between space) ทางวัฒนธรรมในชวงเวลาสมัยใหม ซึ่งความไม ลงรอยของวาทกรรมที่เปนหนึ่งเดียวถูกเผยขึ้นในลักษณะขามเหนือพรมแดนระหวางพื้นที่6 เชนเดียว กับชวงเวลาของการกาวไปสูความเปนสมัยใหมในปตตานี โดยเฉพาะในชวงเวลาที่สังคมปตตานีถูก กระตุนผลักดันดวยกระแสความทันสมัยที่มาจากนโยบายการพัฒนาและนโยบายการกลืนกลายทาง วัฒนธรรมในชวงสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ที่เนนการผนวกรวมกลุมคนที่แตกตางหลากหลายผาน นโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ซึ่งถูกนํามาใชแทนนโยบายชาตินิยมและการกลืน ชาติ (effacement) อันแข็งกราวในชวงสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ที่ไดสรางความขัดแยงขึ้นอยาง รุนแรงในพื้นที่7 เพื่อสรางมาตรฐานความเปนชาติ (nationalist standardization) โดยหลอมรวม “ความเหมือนกัน” (sameness) ใหเกิดขึ้นในประเทศ8 North: Ethnic Interactions on a Plural Peninsula (Singapore: NUS Press, 2008), 3. 4 อิบรอฮิม ชูกรี, ตํานานเมืองปตตานี, แปลโดยหะสัน หมัดหมาน, เรียบเรียงโดยประพนธ เรืองณรงค (ปตตานี: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร วิทยาเขตปตตานี, 2525), 12-35. 5 ตัวอยางเชนการศึกษาเครือขายการตั้งถิ่นฐานของคนปาตานีโพนทะเล หรือการศึกษาเสนทางการออกไปเรียนศาสนาใน กลุมประเทศตะวันออกกลางของคนปาตานีที่แสดงใหเห็นความสําคัญของปาตานีในฐานะศูนยกลางการศึกษาเลาเรียนศาสนา อิสลามในเอเชียตะวันออกเฉียงใต คือ บทความของจํารูญ เดนอุดม เรื่อง “บทบาทของอุลามะอฺปาตานีในเอเชียตะวันออก เฉียงใต,” บทความของนิอับดุลรากิ๊บ บินนิฮัสซัน เรื่อง “มลายูปาตานีโพนทะเล,” บทความของอิสมาอีล เบญจสมิทธิ์ เรื่อง “ชัยคฺวันอะหมัด อัล-ฟะฏอนีย: นักปรัชญาเมธีดานการศึกษาและการเมืองของโลกมลายู (พ.ศ.2399-2451)” ดังที่ปรากฏอยู ใน Patrick Jory and Jirawat Saengthong, eds., The Phantasm in Southern Thailand: Historical Writings on Patani and the Islamic World (Nakhonsithammarat: Regional Studies Program, 2009) เปนตน 6 Homi K. Bhabha, The Locations of Culture (London and New York: Routledge, 1994), 5. 7 อิมรอน มะลูลีม, วิเคราะหความขัดแยงระหวางรัฐบาลไทยกับมุสลิมในประเทศ (กรุงเทพฯ: สํานักพิมพอิสลามิคอะเค- เดมี, 2538), 105. 8 Thongchai Winichakul, “Rethinking Thai Nationalism,” in Jory and Jirawat, eds., The Phantasm in Southern Thailand, Vol. 2, 813.
  • 3. 148 ทวีลักษณ พลราชม, วารชา การวินพฤติ การดําเนินนโยบายดังกลาวแมในแงหนึ่งจะเปนการแผขยายอํานาจรัฐไทยอยางมีประสิทธิภาพ และเปนระบบเพื่อกลืนกลายทางวัฒนธรรมในพื้นที่ของสามจังหวัดชายแดนภาคใตผานนโยบายการ พัฒนาประเทศ โดยเฉพาะการขยายโอกาสทางการศึกษา9 แตในอีกดานหนึ่งก็ไดทําใหบุคคลกลุมหนึ่ง ไดรับประสบการณแบบใหมจากการไดออกไปเรียนยังพื้นที่อื่นและไดรับผลประโยชนจากการขยายตัว ทางเศรษฐกิจในยุคสมัยของการพัฒนา รวมถึงการขยายตัวของกระแสความทันสมัยที่เกิดขึ้น การเปด รับและการเขามาทางวัฒนธรรมเปนเงื่อนไขที่ทําใหคนกลุมนี้สรางอัตลักษณแบบใหมของตัวเองขึ้นมา ในพื้นที่ระหวางพรมแดนทางวัฒนธรรมของการกาวไปสูความทันสมัยในสังคมปตตานี ในทวงทํานอง เดียวกับการกอรูปของอัตลักษณภายใตสภาวะสมัยใหมในบริบทสังคมแบบหลังอาณานิคมตามแนวคิด ของบาบาที่มองวาเปนสภาวะที่เปดโอกาสใหเกิดการปะทะ-ตอรอง-โตแยง-แขงขันทางวาทกรรม ที่ จะทําใหเกิดสิ่งใหม (newness) ขึ้นมาจากรอยแตกของความพยายามสรางความเชื่อมตอระหวางอดีต ปจจุบัน และอนาคตใหเปนเสนแนวเดียวกัน ซึ่งทําใหเกิดความคลุมเครือขึ้นจากเสียงระเบ็งเซ็งแซ ของวาทกรรมที่เคยถูกกดทับอยูไดโผลปรากฏออกมา อันแสดงใหเห็นความลักลั่น ไมประสานสนิท ของอุดมการณความเปนสมัยใหมที่พยายามสรางความเหมือนกันใหเกิดขึ้นโดยการขจัดสิ่งที่แตกตาง ออกไป ซึ่งสะทอนผานตัวตนของผูคนที่มีชีวิตความเคลื่อนไหวโลดแลนระหวางพรมแดนวัฒนธรรม ที่ทําใหการหลอมรวมตัวตนไมตอเนื่องหรือไมอาจประสานสนิทเปนเอกภาพ แตเกิดจากการปะทะ ตอรอง ผสมผสานกลายพันธุ (hybrid) ระหวางอัตลักษณที่แตกตางภายในพื้นที่ทางวัฒนธรรม โดย เฉพาะจากประสบการณของการเดินทางออกไปในพื้นที่อื่น ที่ทําใหเกิดการปะทะทาทายทางวัฒนธรรม ที่แตกตาง บทความชิ้นนี้ตองการนําเสนอประสบการณของคนในระหวางพื้นที่ (in-between space) ภาย ใตสภาวะความเปนสมัยใหมที่ไมตอเชื่อม อันเปนสภาวะชั่วคราวทางประวัติศาสตรที่ทําใหเราเห็นภาพ ความลักลั่นของการสรางความเปนสมัยใหมของรัฐไทย ที่ในแงหนึ่งตองการกลืนกลายคนสามจังหวัด ชายแดนภาคใตดวยระบบการศึกษาสมัยใหม แตอีกดานหนึ่งก็ทําใหคนกลุมหนึ่งไดสรางสํานึกใหม ของตัวเองขึ้นมา โดยไมไดปฏิเสธเครื่องมือการกลืนกลายของรัฐไทย คือ ระบบการศึกษาสมัยใหม แต กลับหยิบฉวยใชมันเพื่อการอยูรอดและสรางพลังอํานาจใหมใหกับตนเอง โดยมุงความสนใจไปที่การ กอรูปอัตลักษณผูหญิงมุสลิมปตตานีรุนแรกที่มีประสบการณในระหวางพื้นที่ๆ ถูกกระตุนผานระบบ การศึกษาสมัยใหม ซึ่งเปดโอกาสใหพวกเธอออกเดินทางไปศึกษาในสังคมนอกพื้นที่ปตตานี เชน 9 ในสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต ไดมีการสรางนโยบายอยางเปนรูปธรรมเพื่อแกไขปญหาภาคใต และปฏิบัติสืบมาในสมัย จอมพลถนอม กิตติขจร ภายใตความรับผิดชอบของกระทรวงมหาดไทย อาทิ โครงการปรับปรุงโรงเรียนประชาบาลใหเปน โรงเรียนชุมชน โครงการทุนการศึกษาระดับฝกหัดครูของนักเรียนมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต โครงการจัดการศึกษาผูใหญ ในจังหวัดชายแดนภาคใต โครงการจัดตั้งโทรทัศนสาธารณะในจังหวัดชายแดนภาคใต โครงการธรรมจาริกอิสลาม โครงการ อบรมวิชาภาษามลายู โครงการศึกษาภาษาและวัฒนธรรมทองถิ่นของขาราชการจังหวัดชายแดนภาคใต การแขงขันอานคัมภีร อัลกุรอานระหวางประเทศ โครงการจัดสงนักศึกษาชาวไทยมุสลิมจังหวัดชายแดนภาคใตเขามหาวิทยาลัยและโรงเรียนนายรอย ตํารวจสามพราน โครงการสงเสริมชาวไทยมุสลิมจังหวัดชายแดนใตเขารับราชการ พรอมกันนั้นไดตั้งศูนยประสานงานปกครอง จังหวัดชายแดนภาคใตขึ้นเปนหนวยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการดําเนินนโยบายการปกครองของจังหวัดชายแดนภาคใตใน พื้นที่โดยตรง, ดูเพิ่มเติม ใน ปยนาถ, นโยบายการปกครองของรัฐบาลตอชาวไทยมุสลิม, 125.
  • 4. มุสลิมมะฮฺปาตานีบนเสนทางการศึกษาสมัยใหม 149 กรุงเทพฯ ปนัง หรือสิงคโปร ที่ถูกมองวาเปนตัวแทนความทันสมัยใหม ความกาวหนาในชีวิต รวมทั้ง โอกาสทางการศึกษาและหนาที่การงานที่มั่นคง พวกเธอเหลานี้เติบโตขึ้นมาในชวงสมัยของการพัฒนา ประเทศซึ่งเปลี่ยนจากยุคที่เนนนโยบายความมั่นคงและเต็มไปดวยความหวาดระแวงตอกลุมมุสลิมใน สามจังหวัดชายแดนภาคใตในชวงสมัยจอมพล ป. มาสูยุคการประสานแนวรวมและเนนการพัฒนาใน สมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต และตอเนื่องมาถึงชวงสมัยจอมพลถนอม กิตติขจร10 ซึ่งนําไปสูการขยาย โอกาสทางการศึกษาลงไปสูสามจังหวัดชายแดนภาคใต และทําใหผูหญิงมุสลิมเหลานี้ไดรับการสงเสริม สนับสนุนใหเขาสูระบบการศึกษา โดยเฉพาะในกลุมของลูกคนมีฐานะ พอคา และขาราชการ การที่ผูหญิงมุสลิมเหลานี้ไดเขาไปอยูในพื้นที่ศูนยกลางไดทําใหเกิดสํานึกและมองเห็นตัวเองชัด ขึ้นวาเราคือใคร ทั้งสํานึกความเปนมลายู และเรื่องเลาความทรงจําที่ไดยินไดฟงมาครั้งเปนเด็กก็ถูก รื้อฟนขึ้นมาเมื่อตองเผชิญกับความแตกตางและถูกมองวาเปนอื่นในพื้นที่ศูนยกลาง ซึ่งทายที่สุดกอ เกิดเปนสํานึกของความเปนมลายูขึ้นมาใหม ผานการขามไปมาระหวางพรมแดนของพื้นที่สาธารณะ และพื้นที่สวนตัว กลาวคือ ภายในพื้นที่สาธารณะพวกเธอพยายามกลืนกลายตัวเองใหมีตัวตนทันสมัย แบบมาตรฐานตามที่รัฐไทยคาดหวัง11 คือ การพูดไทย แตงตัวแบบไทย แตภายในพื้นที่สวนตัวกลับเปน พื้นที่ดํารงอัตลักษณที่สืบทอดมาจากบรรพบุรุษ โดยเฉพาะผานภาษา เรื่องเลา ประวัติศาสตรครอบครัว ความภาคภูมิใจในความเปนมลายูมุสลิมที่ไดรับการถายทอดจากบรรพบุรุษ ผลก็คือพวกเธอไดกาว ขามไปมาระหวางพรมแดนเหลานี้และสรางอัตลักษณแบบใหมขึ้นมาจากการผสมผสานความคลุมเครือ ปะทะโตแยงระหวางวัฒนธรรมและเรื่องเลาทางประวัติศาสตร ทั้งปรากฏการณนี้ยังเปนการสะทอนการ ตอรองระหวางพื้นที่ในกระบวนการสรางความเปนสมัยใหมที่พยายามจัดแบงพื้นที่อยางแบงแยกเด็ด ขาดระหวางพื้นที่สาธารณะและพื้นที่สวนตัว12 รวมถึงการสรางมาตรฐานความเปนไทยสมัยใหมและ ความพยายามดํารงสืบตออัตลักษณความเปนมลายูมุสลิมไว ตามความคิดของบาบาแลว การปะทะสัง- สันทนทางอัตลักษณที่แตกตางขัดแยงเชนนี้สะทอนใหเห็นไดในชวงเวลาสมัยใหมและชวงเวลาของการ ปรับเปลี่ยนทางประวัติศาสตร ที่การจัดประเภทของคนไมสามารถแบงตามคุณลักษณะที่คงอยูมากอน ในแตละกลุมชาติพันธุ แตถูกวางในตําแหนงแหงที่ของความแตกตางที่สรางในระหวาง (in-between) เวลาและพื้นที่ๆ กาวขามความแตกตางทางวัฒนธรรม ซึ่งคุณลักษณะของคนไมไดถูกจํากัดในการ สืบทอดมรดกทางชาติพันธุ แตกลับถูกวางอยูบนการเปลี่ยนแปลงปรับเปลี่ยนผานประสบการณ และ คอยๆ สะสมเพิ่มพูนที่ทําใหเกิดตัวตนที่มีอัตลักษณแบบผสมปนเป (hybrid) อันเกิดขึ้นมาจาก 10 เรื่องเดียวกัน, 124-25. 11 การขยายตัวของนโยบายการศึกษาและคานิยมแบบใหม ทําใหโอกาสทางการศึกษาของผูหญิงมุสลิมปาตานีในการออก ไปศึกษาภายในพื้นที่อื่นเริ่มขยายตัวมากยิ่งขึ้น เมื่อรัฐบาลมีนโยบายจัดการศึกษาของไทยไปสูสวนภูมิภาคภายใตโครงการ พัฒนาการศึกษาสวนภูมิภาค (พ.ศ.ก.) พ.ศ. 2501 หรือเรียกวา Regional Educational Development Project includ- ing Higher Education (R.E.D.P.H.E.) ประกอบกับในระยะเวลาตอมารัฐบาลไดกําหนดแผนพัฒนาภาคใตระยะ 3 ป (พ.ศ. 2507-2509) ทําใหเกิดเปนโครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาการศึกษาในภาคใตที่เปนรูปธรรมมากขึ้น โดยการกําหนดใหทุน อุดหนุนนักเรียนที่นับถือศาสนาอิสลามโดยเฉพาะ 12 Barbara Marshall, Engendering Modernity: Feminism, Social Theory and Social Change (London: Polity Press, 1994), 9.
  • 5. 150 ทวีลักษณ พลราชม, วารชา การวินพฤติ ความสัมพันธในระหวางกลาง (interstitial relationships) ระหวางวัฒนธรรมเทาๆ กับการขามไป มาระหวางพื้นที่สาธารณะและพื้นที่สวนตัว13 ดังนั้นความพยายามในการทําความเขาใจกระบวนการ ความเปนสมัยใหมที่มาจากประสบการณของกลุมผูหญิงมุสลิมปตตานีรุนแรกที่ไดรับการศึกษาในพื้นที่ อื่น จึงไมเพียงเขาไปตรวจสอบบทบาทของพวกเธอในพื้นที่สาธารณะ แตรวมถึงพื้นที่สวนตัวดวย อัน จะทําใหเราเห็นถึงกระบวนการที่สลับซับซอนของการสรางอัตลักษณและตัวตนของพวกเธอภายใต บริบทที่สังคมไทยกําลังกาวไปสูความเปนสมัยใหม การปะทะตอรองระหวางพื้นที่สาธารณะและพื้นที่ สวนตัว ระหวางวัฒนธรรม ระหวางสองขั้วความคิดที่มาจากประวัติศาสตรความขัดแยงที่ถูกจัดวางให อยูภายใตอุดมการณที่ตรงขามและแยกขาดออกจากกัน ดังนั้นอัตลักษณของพวกเธอที่กอรูปภายใต บริบทนี้จึงเปนอัตลักษณแบบผสมสานที่มีลักษณะของการนําคุณสมบัติของทั้งสองพื้นที่หรือในพื้นที่ๆ หลากหลายอันเปนผลมาจากการเดินทางในพื้นที่ระหวางของพวกเธอ การขามไปมาระหวางพื้นที่ทําให พวกเธอไดมองเห็นทั้งขอดีและขอจํากัดทั้งสองมุมมองที่ตางพรมแดนทางวัฒนธรรม และนําไปสูการ ปรากฏสรางตัวตนแบบสมัยใหมของพวกเธอที่ออกมาจากความสัมพันธที่ทับเหลื่อมซอนกันของความ แตกตางและความหลากหลายของวัฒนธรรมที่โตแยงแขงขันกันอยางเซ็งแซภายใตการเปลี่ยนผาน สูความเปนสมัยใหม ซึ่งสอดคลองกับแนวคิดของบาบาที่มองวาการตอรองอัตลักษณทางวัฒนธรรม เกี่ยวของกับการเชื่อมประสานและแลกเปลี่ยนของการสวมบทบาททางวัฒนธรรมที่ตางก็สะทอนซึ่ง กันและกัน และยังเกิดจากการตระหนักถึงความแตกตางทางวัฒนธรรมซึ่งกันและกันระหวางผูกดขี่ และผูถูกกดขี่ ระหวางวัฒนธรรมที่ครอบงําและวัฒนธรรมที่ถูกครอบงําดวย ดังที่บาบาโตแยงถึงพื้นที่ ของการเปลี่ยนผาน (luminal space) ที่ไมสามารถดํารงขอบเขตของตัวเองไวไดอยางชัดเจน แตเปน พื้นที่ของการผสมผสานที่สะทอนกระบวนการผลิต/สรางที่เกิดขึ้นภายใน ที่ไมใชแคสะทอนความหมาย ทางวัฒนธรรมตางๆ ขึ้นมาเทานั้น แตยังสะทอนกระบวนการผลิตและความพยายามสรางใหวัฒนธรรม ที่แตกตางกันทั้งสองดานหลอมรวมกัน อยางไรก็ดี การหลอมรวมนี้ไมไดแนบสนิท และมีความ ประดักประเดิดของความแตกตางระหวางกันปรากฏใหเห็นดวยสวนหนึ่ง14 ซึ่งเปนลักษณะของการ มองการกลืนกลายทางวัฒนธรรมภายใตบริบทสังคมแบบสมัยใหมที่เนนการผนวกรวมความแตกตาง ที่มีอยูมากมายในสังคมเขาไวดวยกัน ซึ่งในแงหนึ่งก็มักจะโผลปรากฏใหเห็นความไมลงรอยของการ ประสานกลืนกลายที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะในพื้นที่ทางวัฒนธรรมที่เต็มไปดวยความแตกตางหลากหลาย การวิเคราะหถึงการกอรูปประสบการณและอัตลักษณของผูหญิงมุสลิมมลายูปาตานีรุนแรกที่มี ประสบการณในระหวางพื้นที่ในงานชิ้นนี้จึงประกอบดวยสามประเด็นดังนี้ ประเด็นแรกคือการเปด ภาพใหเห็นบริบททางสังคม โอกาสทางการศึกษา และเงื่อนไขที่ทําใหเธอไดออกไปศึกษาในพื้นที่อื่น ประเด็นที่สอง จะวิเคราะหการกออัตลักษณและสํานึกความเปนมลายูมุสลิมของพวกเธอขึ้นมาใหม ที่มาจากการปะทะสังสันทนทางวัฒนธรรมและตัวตนจากประสบการณในระหวางพื้นที่ ซึ่งจะแสดงให เห็นวาเรื่องเลา ความทรงจํา ความสัมพันธในพื้นที่สวนตัวและประวัติศาสตรในครอบครัว มีสวนในการ สรางสํานึกความเปนมลายูมุสลิมของพวกเธอ ภายใตการสวมรับเอาตัวตนแบบสมัยใหมจากนโยบาย 13 Bhabha, Locations of Culture, 2. 14 Ibid., 5.
  • 6. มุสลิมมะฮฺปาตานีบนเสนทางการศึกษาสมัยใหม 151 การกลืนกลายของรัฐไทยไดอยางไรในขณะที่สองสิ่งนี้ตรงกันขามและขัดแยงกัน ใน สวนสุดทาย จะ พูดถึงการปรับเปลี่ยนอัตลักษณของพวกเธอภายใตกระแสฟนฟูอิสลามในพื้นที่สามจังหวัดชายแดน ภาคใต ที่ทําใหการดํารงอัตลักษณความเปนมลายูมุสลิมที่เปนลักษณะโดดเดนผูกติดผสมผสานกับ วัฒนธรรมพื้นถิ่นคอยๆ กลายสภาพผสานกับความเปนมุสลิมสมัยใหม ที่ใหความสําคัญตอการขับเนน อัตลักษณทางศาสนาใหปรากฏในพื้นที่สาธารณะ มากกวาเปนเรื่องของการปฏิบัติศาสนกิจในพื้นที่สวน ตัว โดยสะทอนผานการคลุมผาของผูหญิงซึ่งไดทาทายการสรางความเปนสมัยใหมที่ยึดเอาแตเพียง ตะวันตกเปนศูนยกลาง การศึกษาในครั้งนี้เปนการเก็บขอมูลภาคสนามในพื้นที่ตัวเมืองจังหวัดปตตานีระหวางเดือน กุมภาพันธถึงเดือนสิงหาคม 2554 โดยผูเขียนใชวิธีการสัมภาษณกลุมผูหญิงรุนแรกที่ไดออกไปศึกษา ในพื้นที่อื่น (แบงเปนพื้นที่กรุงเทพมหานครและปนัง-สิงคโปร) ซึ่งมีพื้นเพครอบครัวเปนเชื้อสาย เจาเมืองและตระกูลที่รับราชการในจังหวัด ทั้งยังถือไดวาเปนตระกูลมุสลิมชั้นนําเกาแกและเปนรูจัก ในสังคมปตตานี โดยจะอยูในกลุมทายาทของตระกูลพิพิธภักดี ตระกูลเดนอุดม ตระกูลมะโรหบุตร และตระกูลระเดนอาหมัด ในกลุมนี้เมื่อเรียนจบกลับมาแลวเกือบทั้งหมดจะประกอบครูและอาจารย มหาวิทยาลัย สวนกลุมที่สองจะสืบเชื้อสายมาจากตระกูลพอคาเชื้อสายอาหรับเยเมนและปากีสถาน คือ ตระกูลนะหดี ตระกูลฮารีส ตระกูลเบญราฮีม และตระกูลระเดนอาหมัด ซึ่งผูเขียนไมไดสัมภาษณ ทั้งหมดเนื่องดวยขอจํากัดจากการที่ผูใหขอมูลไดยายไปอยูตางประเทศ แตไดสัมภาษณผูหญิงใน ตระกูลเบญราฮีมและในตระกูลระเดนอาหมัด โดยในกลุมนี้สวนมากประกอบอาชีพคาขายและเปนนัก ธุรกิจ รวมถึงการเปนครูจากการมาเรียนเพิ่มเติมจนไดวุฒิการศึกษาที่ถูกรองรับใหบรรจุตามระเบียบ ของระบบราชการไทย อยางไรก็ตาม เพื่อตองการรักษาความเปนสวนตัวของผูใหขอมูล ผูเขียนจะไม ขอเปดเผยชื่อในบทสัมภาษณ โดยจะใชนามสมมุติทั้งหมด และหากจําเปนก็อาจจะตองเอยชื่อถึงใน บางครั้ง เนื่องจากขอมูลที่ไดจากการเก็บขอมูลที่มีระยะเวลาเพียงสั้นๆ จึงอาจยังมีขอจํากัดของการ เขาถึงขอมูลในบางสวน ดังนั้นการศึกษานี้จึงเปนเพียงการทดลองนําเสนอมุมมองการตีความและการ วิเคราะหดวยแนวคิดและทฤษฎีแบบใหม โดยหวังวาอาจกอใหเกิดการเขาใจประวัติศาสตรปตตานีที่ แตกตางออกไปจากงานศึกษาชิ้นอื่นๆ ที่เคยบุกเบิกแผวถางเสนทางเอาไว โดยเฉพาะการมองผาน เรื่องราวชีวิตและประสบการณผูหญิงในบริบทรวมสมัยที่ยังไมเคยมีการศึกษาหรือบันทึกอยางเปน ระบบมากอน เสนทางการศึกษาและบริบททางสังคม: จุดเริ่มตนของการเดินทางสูโลกสมัยใหม ความเปนสมัยใหมเปนกระบวนการสรางที่เกี่ยวของกับตัวตน พื้นที่ และเวลาที่ประกอบสราง ปจจุบันเพื่อการเปลี่ยนผานไปสูอนาคตที่ดีกวา พูดอีกทางหนึ่ง ตัวตน (การประกอบสรางตัวตน ของชาติ/พื้นที่การสรางชาติ) และเวลา (การประกอบสรางประวัติศาสตรชาติ)15 เปนความสัมพันธ เชิงอํานาจเพื่อกอใหเกิดความเบ็ดเสร็จสมบูรณของระเบียบทางสังคม อุดมการณทางการเมืองและ 15 Alev çinar, Modernity, Islam, and Seculaism in Turkey (Mineapolis and London: University of Min- nesota Press, 2005), 9.
  • 7. 152 ทวีลักษณ พลราชม, วารชา การวินพฤติ วัฒนธรรมของชาติ เปนสนามของการตอรองทางสังคมที่สะทอนกระบวนการสรางความเปนหนึ่งเดียว ของความเปนชาติ ซึ่งมีผลตอการสรางรางกายของพลเมืองใหมีตัวตนแบบสมัยใหม และการแบงแยก พื้นที่สาธารณะและพื้นที่สวนตัว ระหวางความเปนชายและความเปนผูหญิง ที่ความเปนหญิงถูกเบียด ขับจํากัดไวเพียงในพื้นที่สวนตัว อันเปนผลจากอุดมการณครัวเรือนที่ถูกสรางขึ้นในตนคริสตศตวรรษ ที่ 19 ที่สังคมตะวันตกกําลังกาวเขาสูความเปนสมัยใหม โดยผูหญิงชนชั้นกลางถูกผลักใหเขาไปอยู ในพื้นที่สวนตัว ในขณะที่ผูชายยึดครองโลกสาธารณะไว การเปดโอกาสใหผูหญิงมีบทบาทในพื้นที่ สาธารณะก็เพียงเพื่อตองใหการศึกษาแกผูหญิงในการเตรียมตัวเปนแมบาน ดูแลเลี้ยงดูลูกเพื่อเตรียม ความพรอมใหสามารถออกไปสูโลกภายนอกอยางมีประสิทธิภาพ16 ระบบการศึกษาจึงเปนเงื่อนไข สําคัญที่ทําใหผูหญิงไดพัฒนาศักยภาพของตัวเองแมจะมีเงื่อนไขที่ผูกติดกับคุณคาความเปนหญิงผาน บทบาทความเปนแมก็ตาม17 จากแนวคิดนี้เมื่อสํารวจการกาวเขาสูสังคมสมัยใหมในสังคมไทย เราจะ พบวาการยกยองบทบาทผูหญิงในฐานะแม-เมียวาเปนปจจัยสําคัญตอความเจริญของประเทศชาติ ที่ เปดโอกาสใหผูหญิงไดกาวสูอาชีพทางสังคม แมบทบาทที่ไดรับจะผูกติดกับลักษณะความเปนหญิงของ พวกเธอก็ตาม คืออาชีพครู พยาบาล เลขานุการ เปนตน18 แตก็ทําใหพวกเธอไดลิ้มลองชีวิตความเปน สมัยใหมที่มาพรอมกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และโอกาสทางการศึกษา โดยเฉพาะกลุม ผูหญิงชนชั้นกลางที่ไดรับโอกาสและสวนแบงในพื้นที่ทางสังคมและเสรีภาพแบบที่ไมเคยมีมากอน กอ ใหเกิดสํานึกใหมในเรื่องอิสรภาพ ความรักและความสัมพันธระหวางเพศ ที่ตรงขามอยางสิ้นเชิงจาก ยุคสมัยกอน19 และเมื่อเขาสูยุคสมัยการพัฒนาประเทศก็ยิ่งทําใหพวกเธอถูกกระตุนเราใหเปดรับความ ทันสมัยเพื่อพัฒนาตัวเองใหเปนพลเมืองที่มีประสิทธิภาพ ขณะเดียวกัน ระบบการศึกษาแบบสมัยใหม ก็เปนเครื่องมือที่แผขยายกลืนกลายประชาชนรุนใหมในภูมิภาคใหเห็นความสําคัญของการสรางชาติรัฐ ไทย โดยเฉพาะในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต บริบททางสังคมที่มาจากการพัฒนานโยบายการศึกษา20 ของรัฐจากสวนกลางที่แผขยายมาสูภาค ใตในชวงเวลาดังกลาว จึงทําใหผูหญิงมุสลิมปตตานีกลุมหนึ่งไดมีโอกาสออกไปศึกษายังพื้นที่อื่นที่พวก เธอยังไมเคยสัมผัสและคุนเคย ที่ทําใหไดรับประสบการณอันแปลกใหม ไดสัมผัสกับความทันสมัย ใน 16 Deirdre Beddoe, Discovering Women’s History (London: Longman, 1998), 3. 17 Marshall, Engendering Modernity, 56. 18 สุวดี ธนประสิทธิ์, “สถานภาพทางสังคมของสตรีไทยในสมัยปฏิรูป,” วารสารอักษรศาสตร 23, 2 (2534). 19 Scot Barmé, Woman, Man, Bangkok: Love, Sex, and Popular Culture in Thailand (Maryland: Row- man & Littlefield Publishers, 2002). 20 ในชวงเวลานี้มีความตื่นตัวในการศึกษาระดับอุดมศึกษาของนักเรียนในจังหวัดปตตานีและในภาคใตอยางเห็นไดชัด โดย เฉพาะการเดินทางเขาไปศึกษาตอในกรุงเทพมหานครถึงขนาดที่มีหนังสือถึงการรถไฟแหงประเทศไทยใหมีการอํานวยความ สะดวกใหกับนิสิต นักศึกษา และนักเรียน โดยเพิ่มขบวนรถดวนสายใตใหมีทุกวันและลดคาโดยสาร และอนุญาตใหผูปกครอง เดินทางไปพรอมกับนักเรียนได ในชวงปดเทอมเดือนมีนาคม เมษายน และชวงเปดภาคเรียนเดือนพฤษภาคม สวนโอกาส ทางการศึกษาในตางประเทศนั้น มีทั้งทุนรัฐบาลตางประเทศและในประเทศและทุนสวนตัว ชวงเวลานั้นการไปเรียนตอตาง ประเทศตองอยูในความดูแลของสํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน (กพ.) ทั้งนักเรียนทุนรัฐบาลและนักเรียนทุนสวน ตัว โดยเฉพาะที่ปนังนักเรียนทุนสวนตัวมีเปนจํานวนมาก ใน พ.ศ. 2509 มีนักเรียนในความดูแลของ กพ. ถึง 850 คน, ดู หจช. กต.0202.9/11 เรื่อง “ขอใหเพิ่มรถดวนสายใต” (พ.ศ. 2501), และ หจช. กต.0202.7/244 เรื่อง “อํานวยความ สะดวกแกนิสิต นักศึกษา นักเรียน ที่จะเดินทางเขาศึกษาตอในกรุงเทพฯ” (พ.ศ.2505)
  • 8. มุสลิมมะฮฺปาตานีบนเสนทางการศึกษาสมัยใหม 153 ยุคสมัยรอยตอของการเมืองจากยุคของความขัดแยงไปสูยุคของการพัฒนาประเทศ และคานิยมแบบ ใหมที่พอแมตองการใหลูกไดทํางานราชการ มีความกาวหนาในอนาคต ตางจากคนรุนพอแมที่อาชีพ สําหรับผูหญิงมีเพียงการเปนครูและพยาบาลเทานั้น21 เปนผลใหในยุคสมัยนี้อาชีพของผูหญิงเริ่มมี หลากหลายมากขึ้น ไมวาจะเปนพนักงานตอนรับบนเครื่องบิน นักการบัญชี หรือนักการธนาคาร ดังที่ คุณยายทานหนึ่งไดเลาใหฟงวา ตอนเรียน ม. 5-6 เราบอกวาเราอยากจะไปเปนพยาบาล จะไดชวยเพื่อนมนุษย หรืออยากเปนแอรโอสเตส เพราะอานในหนังสือ แอรโฮสเตสมันเทห พอจะจบจริงก็ไปบอกคุณพอวาจะเรียนอยางนั้น พอไมใหเรียน คุณ พอบอกวาเรียนพยาบาลก็เหมือนกับไปเปนคนรับใชเขา แอรโฮสเตสก็เหมือนกัน การบินไทยเปนอาชีพใหม เพราะวาการบินไทยเพิ่งมี แตเราก็ไดอานหนังสือวามันดูโก ดูสวย คุณพอบอกใหไปเรียนครู บอกวาอาชีพครู คืออาชีพที่มีเกียรติ การขยายตัวทางการศึกษามาพรอมกับคานิยมแบบใหมที่ผูปกครองตองการใหบุตรหลานไดมีหนา ที่การงานที่มั่นคง โดยเฉพาะอาชีพรับราชการ ซึ่งสวนมากจะถูกสงไปเรียนที่กรุงเทพมหานคร สวน ความตั้งใจในการสงลูกผูหญิงไปเรียนที่ปนังนั้นตองการใหไปเรียนศาสนา แตเมื่อเดินทางไปถึงปรากฏ วาไมมีโรงเรียนเปดสอน จึงตองเขาไปเรียนในโรงเรียนราษฎรที่เปดสอนอยูหลายแหงในปนัง22 โดย เรียนปะปนกับนักเรียนหลายเชื้อชาติ สําหรับเสนทางในการเดินทางของผูหญิงมุสลิมรุนแรกที่ออกไป ศึกษายังพื้นที่นอกปตตานีนั้นมีรองรอยใหคนหาไดดังนี้ เสนทางการไปศึกษาตอที่กรุงเทพฯ กอนหนานี้โอกาสที่ผูหญิงจะไดออกไปศึกษาภายนอกปาตานีตั้งอยูบนเงื่อนไขที่จะมีญาติพี่นอง 21 ดู ปยะพร จันวัน, “ทัศนะของ ‘ผูหญิงทํางาน’ ในสังคมไทย พ.ศ. 2500-2516” (วิทยานิพนธมหาบัณฑิต สาขา ประวัติศาสตร คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2547). 22 โรงเรียนสามัญในสหพันธมลายา แบงออกไดเปนสี่ประเภท คือ ก) โรงเรียนรัฐบาล(GovernmentSchools) โรงเรียน รัฐบาลนี้เปนโรงเรียนที่รัฐบาลจัดตั้งขึ้น ครูไดรับเงินเดือนจากรัฐบาลเชนเดียวกับขาราชการ และไมเก็บคาเลาเรียนนักเรียน ข) โรงเรียนที่รัฐบาลใหเงินอุดหนุนเต็มที่ (Full Grant-in-Aid Schools) โรงเรียนประเภทนี้คาเลาเรียนถูก (ชั้นประถม เดือนละ 2.50 เหรียญ หรือประมาณ 17.50 บาท) ครูไดรับเงินเดือนจากรัฐบาลในอัตราเดียวกับครูของโรงเรียนรัฐบาล สวน คาเลาเรียนเก็บไดเทาไรก็เปนรายไดของรัฐ ค) โรงเรียนที่รัฐบาลใหทุนอุดหนุนบางสวน (Partial Grant-in-Aid Schools) โรงเรียนประเภทนี้เก็บคาเลาเรียนสูงกวาประเภท ข แตไมเกินที่รัฐบาลดําหนด ครูไดรับเงินเดือนจากเจาของโรงเรียน และ คาเลาเรียนก็เปนรายไดของโรงเรียน ง) โรงเรียนราษฎรหรือโรงเรียนเอกชน (Private School) โรงเรียนประเภทนี้ไมไดรับ เงินอุดหนุนจากรัฐบาล จึงเก็บคาเลาเรียนสูงกวาโรงเรียนอื่นๆ (ชั้นประถมเดือนละ 10 เหรียญหรือประมาณ 70 บาท) ครู ไดรับเงินเดือนจากเจาของโรงเรียนโดยตรง; สวนโรงเรียนวิสามัญไดแกโรงเรียนชวเลข พิมพดีด หรือวิชาเลขานุการ โรงเรียน ประเภทนี้เทียบไดกับโรงเรียนราษฎร เก็บคาเลาเรียนและรับนักเรียนไดโดยวางหลักเกณฑเอง (หจช. กต.43.5/71 “หลักสูตร การศึกษาและรายชื่อมหาวิทยาลัยและระเบียบการเขาศึกษาของสิงคโปรและปนัง,” จดหมายถึงกระทรวงตางประเทศ จาก สถานกงสุล ณ เมืองปนัง, ลงวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2504.) กอนหนานี้การเขาไปเรียนในปนังไมตองขออนุญาตกงสุลไทย ในปนัง เพียงแตขออนุญาตผานดานตรวจคนเขาเมือง ทําใหมีคนไทยเชื้อสายจีนเขาไปอยูอาศัยในปนังเปนจํานวนมาก ทั้งนี้ คนเหลานี้ถือพาสปอรตสองสัญชาติ คือ ไทยกับจีน ซึ่งเปนการยากสําหรับทางการไทยในการตรวจตราและควบคุม และในชวง สมัยรัฐบาลจอมพล ป. ปญหาหนึ่งที่กงสุลไทยเสนอขึ้นมาคือการที่กงสุลไทยไมมีอํานาจในการตรวจตราคนเขาออกในปนังจะมี ผลตอการสรางชาติ โดยเฉพาะเยาวชนของชาติที่ถูกสงไปรํา่เรียนตั้งแตอายุนอย ดังขอความตอนหนึ่งในจดหมายของรองกงสุล ไทย ณ เมืองปนังถึงรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ เรื่อง “เด็กนักเรียนไทยในเมืองปนัง,” ลงวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2483, ดู หจช. กต.43.5/71.
  • 9. 154 ทวีลักษณ พลราชม, วารชา การวินพฤติ อยูที่กรุงเทพฯ ซึ่งสวนใหญเปนคนดั้งเดิมจากปาตานีที่ถูกอพยพและกวาดตอนไปอยูกรุงเทพฯ ในชวง รัชกาลที่ 1 ถึง 323 จึงเปนสาเหตุที่ทําใหรุนปูและรุนพอแมมีเครือขายขึ้นไปศึกษาที่กรุงเทพฯ และตอ มาสงเสริมใหรุนลูกไดรับศึกษา โดยเฉพาะระดับอุดมศึกษา โดยพวกเธอจะขึ้นไปเรียนมหาวิทยาลัยเปด คือ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ในรุนตอมา รัฐบาลจอมพลถนอม กิตติขจรมีนโยบายสงเสริมการศึกษา ขั้นสูงสําหรับประชาชนจากจังหวัดชายแดนภาคใตใหมีโอกาสไดศึกษาตอในชั้นอุดมศึกษามากขึ้นเปน กรณีพิเศษ24 ทําใหมีนักเรียนหญิงมุสลิมสองคนแรกจากปตตานีไดเขาศึกษาตอในระดับอุดมศึกษาที่ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ชวงเวลานั้นคือยุคสมัยที่สังคมไทยเริ่มมีประชากรที่อยูในวัยหนุมสาวมากกวาในอดีต เพราะ สภาพทางเศรษฐกิจที่ตองการกําลังแรงงานเขาไปพัฒนาประเทศในดานตางๆ จํานวนมาก การสงลูก เรียนตอในกรุงเทพฯ นั้นนิยมสงไปเรียนทั้งในระดับมัธยมและอุดมศึกษา อันเปนผลมาจากการเปด พื้นที่ทางสังคมจากคนรุนกอนที่เขามาเรียนและทํางานจึงทําใหมีชองทางและเครือขายชวยเหลือเกื้อกูล กัน เชน การตั้งสมาคมปกษใต สมาคมมุสลิมแหงประเทศไทย ดังนั้นในการเปดภาคเรียนแตละครั้ง การเดินทางเขากรุงเทพฯ ของนักเรียนนักศึกษา จึงเปนบรรยากาศที่คึกคักเปนอยางมาก ไปกรุงเทพฯ นั่งรถไฟ สมัยนั้นจุฬาฯ กับเกษตรฯ เปดพรอมกัน เราก็นั่งรถดวนชั้นสองไป มีพัดลม เบาะฟอง นํา้ ทําบัตรลดไดครึ่งหนึ่ง ทํากันปละครั้ง มีรถดวนจากหัวลําโพงมาสุไหงโก-ลกสัปดาหละครั้ง แลวก็กรุงเทพฯ ไปบัตเตอรเวิรตก็สัปดาหละครั้ง สมัยนั้นจะไปหาดใหญก็ไมใชเรื่องงาย เพราะฉะนั้นตองรอรถไฟมาจาก กรุงเทพฯ วันเสาร กลับวันอาทิตย ถาเปดวันจันทรเราก็ไปวันอาทิตยกัน เดินทางแตละครั้งก็มีแตละจังหวัด ขึ้น ดังนั้นจะรูจักกัน เจอกันบนรถไฟ เจอกันทุกที ก็คุยกันรูจักกัน สวนใหญก็ไมไดนอน ก็นั่งคุยกันไป ที่ไม ซื้อตั๋วนอนเพราะสวนใหญไมคอยไดนอนกัน การขึ้นรถไฟจะไดเพื่อนใหมจากเกษตรฯ หรือจากจุฬาฯ ดวยกัน ที่ไมใชจังหวัดเดียวกันก็ตลอดเสนทางจังหวัดภาคใต สมัยนั้นไมมีรถทัวร จะนั่งรถดวนไปลงหัวลําโพง รถเร็ว จะไปสุดที่บางกอกนอย คนที่มีฐานะจริงๆ จะนั่งรถนอน เสนทางการไปศึกษาตอที่ปนัง เนื่องจากประชาชนทั้งในกรุงเทพฯ และจังหวัดภาคใตนิยมสงบุตรหลานไปเรียนที่ปนัง ใน พ.ศ. 2484 รัฐบาลจึงไดใหกงสุลไทย ณ เมืองปนัง สํารวจนักเรียนไทยที่อยูในปนัง โดยคาดการณวามี 23 ใน พ.ศ. 2323 รัชกาลที่ 1 ไดโปรดเกลาใหกรมพระราชวังบวรฯ ยกทัพไปปราบพมาทางใต แลวเลยไปตีเมือง ปาตานี ชาวมลายูมุสลิมไดถูกกวาดตอนมาไวที่กรุงเทพฯ หากเปนเชื้อพระวงศจะใหอยูอาศัยที่สี่แยกบานแขก ชาวบานทั่วไป จะกระจายอยูตามฝงธนฯ ทุงครุ พระประแดง บางคอแหลม มหานาค พระโขนง คลองตัน มีนบุรี หนองจอก ทาอิฐ หลังจาก นั้นในสมัยรัชกาลที่ 1 ยังมีการอพยพมาอีกสองครั้ง คือ พ.ศ. 2329 และ 2334 ตอมาในสมัยรัชกาลที่ 3 ไดเกิดความไมสงบ ขึ้นสองครั้งในชวงป พ.ศ. 2374 และ 2381 โดยเริ่มจากไทรบุรี ลุกลามขยายตอมายังหัวเมืองทั้งเจ็ด ไดแก ปาตานี หนองจิก ยะลา รามันห ระแงะ สายบุรี และยะหริ่ง ทําใหชาวมลายูจากไทรบุรีและปาตานี ฯลฯ ถูกกวาดตอนมายังกรุงเทพฯ อีกครั้ง, ดู รายละเอียดเพิ่มเติมใน เสาวนีย จิตตหมวด, กลุมชาติพันธุ: ชาวไทยมุสลิม (กรุงเทพฯ: กองทุนสงารุจิระอัมพร, 2531). 24 กระทรวงมหาดไทยในความรวมมือกับจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยผอนผันแกนักเรียนมุสลิมจากจังหวัดชายแดนภาคใต ซึ่งสําเร็จชั้นเตรียมอุดมศึกษาหรือ ม.ศ. 5 เขาศึกษาตอในคณะรัฐศาสตรโดยไมตองสอบคัดเลือกผานทางสภาการศึกษาแหง ชาติในปการศึกษา2505 และ2506 ปละหนึ่งคน สําหรับปการศึกษา2507 และปตอไป กระทรวงมหาดไทยขอทําความตกลง ใหความชวยเหลือนักเรียนไทยมุสลิมไดเขาศึกษาตอในคณะตางๆ เพิ่มขึ้นอีกในคณะรัฐศาสตร คณะอักษรศาสตร และคณะ ครุศาสตร คณะละสองคนตอปการศึกษา
  • 10. มุสลิมมะฮฺปาตานีบนเสนทางการศึกษาสมัยใหม 155 นักเรียนไทยอาศัยอยูประมาณ100 คน25 สําหรับในภาคใตนั้น กลุมคนจีนจะเปนกลุมคนหลักๆ ที่นิยม สงลูกหลานไปเรียนทางดานการคา จึงทําใหมีการเดินทางขามพรมแดนในลักษณะนี้มาอยางยาวนาน26 กระแสความนิยมดังกลาวทําใหมีนักเรียนไทยเขาไปศึกษาตอในปนังเปนจํานวนมากขึ้นทุกป จนใน พ.ศ. 2509 มีนักเรียนในปนังมากถึง 900 คน27 ทําใหสถานกงสุลตองออกกฎควบคุมใหนักเรียนทุก คนอยูภายใตระเบียบวินัยและการดูแลของสถานกงสุล28 นักเรียนที่เขาไปเรียนที่ปนังโดยสวนมากมี 25 หจช. กต.43.5/71 “หลักสูตรการศึกษาและรายชื่อมหาวิทยาลัย,” จดหมายจากสถานกงสุล ณ เมืองปนังถึงกระทรวง ตางประเทศ, ลงวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2504. 26 กอนหนานี้การเดินทางไปเรียนที่ปนังไมตองขออนุญาตกงสุลไทยในปนัง เพียงแตขออนุญาตผานดานตรวจคนเขาเมือง ทําใหมีคนไทยเชื้อสายจีนเขาไปอยูอาศัยในปนังเปนจํานวนมาก ทั้งนี้คนเหลานี้ถือพาสปอรตสองสัญชาติ คือ ไทยกับจีน ซึ่ง เปนการยากสําหรับทางการไทยในการตรวจตราและควบคุม แตในชวงสมัยรัฐบาลจอมพล ป. ปญหาหนึ่งที่กงสุลไทยเสนอขึ้น มาคือการที่กงสุลไทยไมมีอํานาจในการตรวจตราคนเขาออกในปนังจะมีผลตอการสรางชาติ โดยเฉพาะเยาวชนของชาติที่ถูกสง ไปรํา่เรียนตั้งแตอายุนอย ดังขอความตอนหนึ่งในจดหมายของรองกงสุลไทย ณ เมืองปนัง ถึง รัฐมนตรีวาการกระทรวงการตาง ประเทศ เรื่อง เด็กนักเรียนไทยในเมืองปนัง ลงวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2483 ที่วา เด็กนักเรียนไทยในเมืองปนังเปนสวนมากขาดการติดตอกับสถานกงสุลในเรื่องกิจการความเปนไปของประเทศไทย ทั้งนี้เนื่องจากทางโรงเรียนเขมงวดในการติดตอกับคนภายนอก โดยฉะเพาะในโรงเรียนหญิง แมสถานกงสุลจะสง หนังสือเกี่ยวกับเหตุการณการเคลื่อนไหวของประเทศไทยเชนหนังสือขาวของกรมโฆษณาการเปนตน ไปใหโรงเรียน เพื่อประจําหองสมุดใหนักเรียนไทยไดมีโอกาสอานทราบไวบาง ก็ไมไดรับความรวมมือจากโรงเรียน เพราะทางโรงเรียน อางวาเด็กนักเรียนจะตองอานหนังสือที่โรงเรียนจัดไวสอนเทานั้น นอกจากนี้ยังมีเด็กนักเรียนไทยอีกประเภทหนึ่งซึ่ง มีอยูจํานวนมากเชนเดียวกัน ไมไดรับการอบรมในดานการรักชาติมากอน แลวผูปกครองก็จัดสงออกไปศึกษาในเมือง ปนังแตยังเยาววัย เลยเปนเหตุใหเด็กเหลานั้นไมมีความเขาใจอะไรเลยในเรื่องการรักชาติ อันเปนลักษณะที่นาสมเพช และเสียดายอยางยิ่ง เปนบุคคลที่มีสัญชาติไทยตามกฎหมาย สวนจิตรใจในเรื่องการรักชาตินั้นแทบจะไมมีเหลือติดอยู เลย ซึ่งถาจะกลาวใหตรงกันก็คือเด็กเหลานี้คลายกับเพียงแตอาศัยแผนดินไทยมาเกิดเทานั้น ดวยมูลเหตุเชนน จึงทําใหกงสุลไทย ณ เมืองปนัง เสนอทางแกปญหาดวยการจัดตั้งผูดูแลนักเรียนขึ้นโดยเฉพาะ เพื่อจะ ไดดูแลไดอยางทั่วถึง ซึ่งจะเปนสวนหนึ่งที่จะชวยในเรื่องการสรางชาติ การดําเนินการจัดตั้งผูดูแลนักเรียนไทย เกิดเปนรูป- ธรรมขึ้นในหลายปตอมา อันเปนผลจากความตองการที่จะแกปญหานักเรียนไทยมีเรื่องทะเลาะวิวาทกับนักเรียนพื้นเมือง ซึ่ง เปนกรณีอื้อฉาวถึงขนาดหนังสือพิมพสเตรทสไทมของปนังและหนังสือพิมพไทยรัฐลงขาว ทําใหกงสุลไทยตองเรงดําเนินการ ควบคุมนักเรียนไทยในปนังทั้งหมด ผานการปรึกษาหารือกับผูบังคับการตํารวจรัฐปนัง ดานตรวจคนเขาเมือง จึงไดขอตกลงที่ จะใหสถานกงสุลเปนผูควบคุมนักเรียนไทยในปนังทั้งหมด ดังนั้นสถานกงสุลไทยจึงไดดําเนินการควบคุมเปนขั้นๆ ไป คือผูที่ อยูกอนแลวก็ใหอยูตอไป ผูที่เขามาใหมจะตองไปรายงานตัวตอสถานกงสุล ทําคํารับรองใหไวกับสถานกงสุล และใหนําเจาของ บานซึ่งจะพักอาศัยอยูดวยไปเซ็นรับรองวาจะควบคุมดูแลผูพักอาศัยใหอยูในระเบียบวินัยอันดี ซึ่งสถานกงสุลไทยไดดําเนิน การมาตั้งแตป พ.ศ. 2506 โดยเมื่อนักเรียนคนใดตองการเขาไปเรียนที่ปนังตองผานการยื่นคํารองและรายงานตัวจากสถาน กงสุล แลวสถานกงสุลจะออกหนังสือรับรองให โดยจะอนุญาตเพียงภาคการศึกษาเดียวกอน จากนั้นเจาตัวตองถือเอกสารไปที่ หนวยตรวจคนเขาเมืองเจาหนาที่ตรวจคนเขาเมืองก็จะอนุมัติใหอยูเพื่อการศึกษาไดหากนักเรียนประพฤติตนดีก็จะตอใหหนึ่ง ป สวนผูที่อยูกอนแลวเมื่อสิ้นภาคการศึกษากลับบานไป เมื่อจะกลับเขามาขออยูเพื่อการศึกษาอีกก็จะตองปฏิบัติตามนี้ทุกคน 27 ไทยรัฐ (28 มิถุนายน 2509). 28 หจช. กต.43.5/71 “หลักสูตรการศึกษาและรายชื่อมหาวิทยาลัย,” จดหมายจากสถานกงสุล ณ เมืองปนังถึงกระทรวง ตางประเทศ, ลงวันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2504: …การเตรียมตัวและการดําเนินเรื่อง เมื่อนักเรียนประสงคจะเดินทางไปเรียนที่ปนัง ตามระเบียบการเขาเมือง จะตอง ติดตอหาโรงเรียนและใหโรงเรียนมีหนังสือรับรองวาจะรับนักเรียนนั้นๆ ไวในโรงเรียน หาที่พักอาศัยในปนังและผูรับ รองในปนังดวยวาจะเปนผูรับผิดชอบในเมื่อนักเรียนนั้นๆ ไปตกทุกขไดยากหรือไปกอความเสียหายขึ้น แลวนําหลัก- ฐานเหลานี้ไปยังสถานเอกอัครราชทูตสหพันธมลายา ณ กรุงเทพฯ เพื่อขอตรวจลงตราประเภทนักศึกษาเขาไปยังปนัง
  • 11. 156 ทวีลักษณ พลราชม, วารชา การวินพฤติ ความประสงคจะเขาศึกษาตอในโรงเรียนที่สอนวิชาดานการคาและเลขานุการ ซึ่งเปนโรงเรียนวิสามัญ หรือเทียบเทากับโรงเรียนราษฎรที่มีอยูหลายโรง โดยสวนมากเปนโรงเรียนจีนและใชภาษาจีนเปนภาษา หลักในการสอน และมีเพียงบางวิชาจึงจะใชภาษาอังกฤษหรือมลายู ทั้งนี้โรงเรียนที่ใชภาษาอังกฤษใน การสอนในปนังนั้นมีอยูเพียง 2-3 โรงเทานั้น29 นอกจากนั้นจะเปนโรงเรียนประจําของอาหรับ ซึ่งคน ปตตานีเชื้อสายอาหรับที่นับถืออิสลามจะไปเรียน ในสมัยนั้นการเดินทางไปปนังถือวามีความสะดวก มาก คือมีรถตูและรถไฟที่เดินทางออกจากหาดใหญทุกวัน วันละหลายเที่ยว ทั้งคนไทยและคน มาเลเซียนิยมไปเที่ยวปนังเพราะเปนเมืองที่มีความเจริญทันสมัย คึกคักและเปนเขตปลอดภาษี …เดินทางโดยรถตูจากหาดใหญ มีรถตูวิ่งตรงจากหาดใหญ ก็นั่งรถกันไปซื้อของ และนักเรียนไทยมีสิทธิไม ตองเสียภาษีหลายอยาง คนมาเลย [มลายู] เองก็นิยมไปปนัง สวนมากไปตากอากาศ เปนเมืองที่ทันสมัยและ อิสระ อยูใตปกครองของอังกฤษ ไมมีสุลตาน… เปนเมืองฟรีพอรต ปลอดภาษี… ฟรีพอรตนี้สําคัญมากนะ คิดดูวาเมื่อกอนวิทยุแพงมาก สมัยกอนตองซื้อวิทยุฝงโนน ไมตองเสียภาษี… ใครๆ ก็ไป คนตางชาติก็ไป บรรยากาศแบบสากล เพราะมีหลากหลายเชื้อชาติ จีน อินเดีย ฮินดู มุสลิม มีครบเลย แลวถาจําไมผิดจะมีวัน หยุดราชการเยอะกวาที่อื่น มีวันหยุดทุกศาสนา นอกจากนั้น การเขาเรียนที่ปนังหรือสิงคโปรก็เปนเรื่องงายในสมัยนั้น ไมตองทําวีซาใหยุงยาก เพียงแตเดินทางไปสมัครเขาเรียนในโรงเรียนที่ตองการผานดานตรวจคนเขาเมือง จากนั้นก็นําใบรับ รองไปยื่นใหกงสุลไทย ณ เมืองปนังออกใบอนุญาตให ตอนไปเรียน ไปขอวีซาที่มาเลเซีย ขอผานไปสิงคโปร ขอจากกงสุลมาเลฯ ที่สงขลา เปน student pass เรา ตองติดตอใหดี ที่โนนเขามีกระทรวงศึกษาของเขา เราเขาโรงเรียนเอาหนังสือจากโรงเรียนไปยืนยันวาเรามา เรียนที่นี่ และผูปกครองตองไปยืนยันอีกวาเราอยูบานเขา ตองมีผูปกครอง ถาอยูหอเจาของหอยืนยัน เดินทาง ไปเมื่อกอนไมตองมีวีซา พอไปถึงก็สมัครเรียนไดเลย อยางไรก็ตาม การไปเรียนที่ปนังนั้น เมื่อกลับมาแลวหากตองสมัครงานตองมีการเทียบวุฒิการ ศึกษากับของไทย ซึ่งทําใหมีความยุงยากเมื่อตองการทํางานราชการ ดังนั้นคนที่ไปเรียนตอที่ปนัง จึงเปนคนที่ตองการภาษาและความรูดานการคาขาย เพราะสวนมากเมื่อจบกลับมาจะประกอบอาชีพ ได แตปกติไมมีโรงเรียนใดยอมออกหนังสือรับรองใหแกผูที่อยูในตางประเทศเลย วิธีที่ปฏิบัติกันมาจึงขออนุญาตเขาไป ชั่วคราวในรูปทัศนาจร โดยผูรองไปยื่นคํารองขอรับการตรวจลงตราประเภททัศนาจรจากสถานเอกอัครราชทูตสหพันธ มลายา ณ กรุงเทพฯ โดยหาผูรับรองทางปนัง สถานเอกอัครราชทูตฯ จะขออนุมัติเขาไปยังกรมตรวจคนเขาเมืองปนัง ในกรณีนักเรียนในความดูแลของสถานกงสุลของ ก.พ. สถานกงสุลฯ จะมีหนังสือรับรองไปยังกรมตรวจคนเขาเมือง ทางกรมตรวจคนเขาเมืองจึงจะอนุมัติใหสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงเทพฯ ตรวจลงประทับตราประเภททัศนาจรให โดยปกติมีกําหนด 1 เดือน และเมื่อนักเรียนนั้นๆไปถึงปนังแลว ทางสถานกงสุลฯจะนําไปฝากเขาโรงเรียนใดโรงเรียน หนึ่งซึ่งสอนวิชาเต็มวัน (Full time school) ไมใชโรงเรียนกวดวิชา ทางโรงเรียนจะออกหนังสือรับรองวาไดรับนักเรียน นั้นๆ ไวในโรงเรียนแลว สถานกงสุลฯจะนําหนังสือรับรองไปขออนุมัติตอเจาหนาที่ศึกษาธิการ และเมื่อไดรับอนุมัติจาก ศึกษาธิการแลว จึงนําหนัสืออนุมัติพรอมทั้งหนังสือเดินทางไปประทับตรา ณ กรมตรวจคนเขาเมืองอีกครั้งหนึ่ง ซึ่ง กรมตรวจคนเขาเมืองจะยอมใหอยูในปนังตลอดไปตราบที่ยังศึกษาอยูในโรงเรียนนั้นๆ และหากจะเปลี่ยนโรงเรียนก็ ตองดําเนินการตามวิธีดั่งกลาวอีก” 29 กลาวคือ 1) Kenyon Rae Methodist Girl School (เฉพาะนักเรียนหญิง) 2) Westland School (นักเรียนหญิงชาย รวมกัน) และ 3) Parent Association School (นักเรียนหญิงชายเรียนรวมกัน) นอกจากนั้นยังมีโรงเรียน Penang Institute ซึ่งสอนวิชาเลขานุการโดยเฉพาะ และโรงเรียน Cyma College