SlideShare a Scribd company logo
1 of 40
ห น้ า | 1
โครงร่างงานวิจัย
1. ชื่อเรื่อง การฝึกวิชาชีพกับการแก้ไขพฤตินิสัยผู้ต้อง
ขังเพื่อลดอัตราการกระทำาผิดซำ้า
: กรณีศึกษาเรือนจำาจังหวัดแพร่
2. ความเป็นมาและความสำาคัญของเรื่องวิจัย
การราชทัณฑ์ของไทย ได้มีวิวัฒนาการ
เปลี่ยนแปลงและสอดคล้องกับสังคมการเมืองและสภาพ
เศรษฐกิจตลอดยุคสมัยที่ผ่านมา
ในยุคก่อน รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ กิจการเรือนจำาได้สังกัดอยู่ตาม
ส่วนราชการต่างๆ สอดคล้องกับการปกครองแบบจตุ
สดมถ์ คือ แบ่งเป็นเรือนจำาในกรุงเทพฯ และเรือนจำา
ในหัวเมืองชั้นนอก เรือนจำากรุงเทพฯมี ๒ ประเภทคือ
“คุก” เป็นที่คุมขังผู้ต้องขังที่มีโทษตั้งแต่ ๖ เดือนขึ้นไป
อยู่ในสังกัดกระทรวงนครบาล ส่วน”ตะราง”ใช้เป็นที่
คุมขังผู้ต้องขังที่มีโทษตำ่ากว่า ๖ เดือน หรือนักโทษที่
มิใช่ผู้ร้าย สังกัดกระทรวง ทบวง กรม ที่บังคับกิจกา
รนั้นๆ ส่วนการเรือนจำาในหัวเมืองชั้นนอก มีที่คุมขังผู้
ต้องโทษเรียกว่า”ตะราง” การคุมขังอยู่ในความรับผิด
ชอบของผู้ว่าราชการเมือง หรืออาจส่งต่อให้กระทรวง
มหาดไทย กระทรวงกลาโหม รับตัวไปคุมขังแล้วแต่
กรณี
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ
ได้มีการปรับปรุงระเบียบราชการใหม่ โดยโปรดให้
สร้างคุกใหม่ขึ้นเรียกว่า ”กองมหันตโทษ” และให้สร้าง
ตะรางใหม่ขึ้นเรียกว่า ”กองลหุโทษ” สังกัดกระทรวง
นครบาล และในปี พ.ศ.๒๔๔๔ (ร.ศ.๑๒๐) ได้มีพระ
กรุณาโปรดเกล้าให้ตรา ”พระราชบัญญัติลักษณะเรือน
ห น้ า | 2
จำา” ขึ้นเพื่อให้การจัดการเรือนจำาเป็นไปอย่างเรียบร้อย
ยิ่งขึ้น จนถึงวันที่ ๑๓ ตุลาคม พ.ศ.๒๔๕๘ พระบาท
สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ ได้ทรงพระกรุณา
โปรดเกล้าให้ตรา ”พระราชบัญญัติจัดตั้งกรม
ราชทัณฑ์” โดยมีพระยาชัยวิชิตวิศิษฎ์ธรรมธาดา (ขำา
ณ ป้อมเพชร) เป็นอธิบดีกรมราชทัณฑ์คนแรก
ในปี พ.ศ.๒๔๖๙ ได้เกิดภาวะตกตำ่าทางเศรษฐกิจ
งบประมาณรายได้ รายจ่ายไม่ได้ดุลยภาพกัน พระบาท
สมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ ได้ทรงยุบกรมราชทัณฑ์
และให้ไปสังกัดกระทรวงยุติธรรม และต่อมาได้โอน
กรมราชทัณฑ์ไปเป็น
แผนกหนึ่ง (แผนกราชทัณฑ์) สังกัดกระทรวง
มหาดไทย
ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.
๒๔๗๕ การราชทัณฑ์ได้ยกฐานะเป็นกรมราชทัณฑ์
และมีการตราพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ.๒๔๗๙
มีหน้าที่เกี่ยวด้วยการเรือนจำา การกักกัน ผู้มีสันดาน
เป็นโจรผู้ร้ายการฝึก และอบรมเด็กดัดสันดาน และใน
ส่วนภูมิภาคได้มีการกำาหนดเป็นเรือนจำาจังหวัด และ
เรือนจำาอำาเภอ
ในปี พ.ศ.๒๕๔๕ ได้มีการปฏิรูประบบราชการ
จึงได้โอนย้ายกรมราชทัณฑ์กลับมาสังกัดกระทรวง
ยุติธรรม
กระบวนทัศน์ในการปฏิบัติต่อผู้กระทำาผิดตลอด
ระยะเวลากว่า ๔๐๐ ปีที่ผ่านมา เป็นกระบวนทัศน์ที่ใช้
ทฤษฎีอาชญาวิทยากระแสหลัก ในการจัดแบ่งวิธีการ
ปฏิบัติต่อผู้กระทำาผิดออกเป็น ๒ ประเภทใหญ่ๆ คือ วิธี
การปฏิบัติต่อผู้กระทำาผิดในระบบเรือนจำา (custodial
treatment) กับ วิธีการปฏิบัติต่อผู้กระทำาผิดโดยไม่ใช้
เรือนจำาหรือในชุมชน (non-custodial treatment) ใน
ลักษณะ “แบ่งแยกขาว-ดำา” ออกจากกันอย่างชัดเจน
ห น้ า | 3
แต่ในความเป็นจริงแล้วการจำาแนกลักษณะการปฏิบัติ
ต่อผู้กระทำาผิดดังกล่าวเป็นเพียงวิธีการจำาแนกรูปแบบ
หนึ่งเท่านั้น และเป็นรูปแบบที่ใช้ “พรมแดนแห่งซี่
ลูกกรง” เป็นเครื่องกำาหนดความยุติธรรม ความเหมาะ
สม และความสาสมกับโทษานุโทษที่ผู้คนเหล่านั้น
กระทำาการล่วงละเมิดกฎเกณฑ์สังคมส่วนรวม
กล่าวอีกนัยหนึ่ง ในปัจจุบันยังมีวิธีการปฏิบัติต่อ
ผู้กระทำาผิดวิธีอื่นๆ นอกจากการแบ่งแยกกลุ่มผู้กระทำา
ผิดโดยใช้อิสรภาพเป็นเกณฑ์ดังกล่าว ซึ่งเป็นวิธีการที่มี
ลักษณะ “ไม่แบ่งแยกผู้กระทำาผิดออกจากชุมชน” “ไม่
กีดกันผู้กระทำาผิดออกไปเก็บตัวและยืนอย่างโดดเดี่ยว
ตามลำาพัง” และ “ไม่เลือกใช้ช่องทางที่เล็งเห็นได้ว่าจะ
สร้างความขัดแย้งแก่คู่กรณีมากขึ้น” ซึ่งรู้จักกันในนาม
ของ “กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์”
(Restorative Justice) วิธีการดังกล่าวใช้ทฤษฎี
อาชญาวิทยาแนวสันติวิธี (peacemaking
criminology) และอยู่ภายใต้กระบวนทัศน์การไม่ใช้
ความรุนแรง (non-violence paradigm) ที่สังคมโลก
พัฒนาขึ้นเพื่อสร้างสมดุลกับความรุนแรงและความขัด
แย้งในสังคม
วิธีการปฏิบัติต่อ “คน” โดยใช้ “คุก”
วิธีการปฏิบัติต่อ “คน” โดยใช้ “คุก” รู้จักกันใน
นามที่เป็นทางการว่า วิธีการปฏิบัติต่อ ผู้กระทำาผิดใน
ระบบเรือนจำา (custodial treatment) ซึ่งเป็นการ
ลงโทษทางอาญาสถานหนึ่งที่นิยมใช้ในกระบวนการ
ยุติธรรมกระแสหลักทั่วโลก ตั้งแต่ปีคริสต์ศตวรรษที่
๑๖ เป็นต้นมา
เราคงไม่สามารถจินตนาการถึงภาพของสังคมที่
ปราศจากคุกได้ว่าสังคมดังกล่าวนั้นจะมีรูปลักษณ์
อย่างไร มีความวุ่นวายสับสนแค่ไหนเมื่อมีผู้คนกระทำา
ห น้ า | 4
ผิดกฎกติกามรรยาทของสังคมขึ้น เป็นความคิดของ
สังคมที่ว่าสังคมต้องมีวิธีการลงโทษสมาชิกของตนเมื่อ
กระทำาความผิด กฎเกณฑ์บรรทัดฐานของสังคม แต่
“คุก” ไม่ใช่วิธีการลงโทษวิธีการเดียวที่สังคมโลกแห่งนี้
คิดค้นขึ้น เพราะในความเป็นจริงแล้วสังคมโลกที่
ปราศจากการใช้คุกในการลงโทษนี้มีอยู่จริง จนกระทั่ง
ตอนปลายยุคกลาง โดยคุกในช่วงระยะเวลานั้นถูกใช้
เป็นที่เก็บกักจำาเลยระหว่างการสอบสวนพิจารณาคดี
และระหว่างรอการประหารชีวิตเท่านั้น (Freda Adler,
Gerhard O. W. Mueller and William S. Laufer,
๑๙๙๖, p. ๒๖๖) ส่วนการลงโทษจริงๆแล้ว มีลักษณะ
โหดเหี้ยมทารุณ เช่น ขับไล่ออกจากเมือง ประหารชีวิต
ด้วยการแขวนคอ เผาทั้งเป็น ถ่วงนำ้า ใช้ม้าดึงแยกร่าง
ออกเป็นสี่ส่วน ใช้ก้อนหินขว้างจนตาย ฯลฯ ส่วนการ
ลงโทษที่ไม่หนักถึงขั้นประหารชีวิต ใช้วิธีการต่างๆ
เช่น ห้ามคบหาสมาคม ขับออกจากการเป็นสมาชิก
เฆี่ยน ทำาให้ทนทุกข์ทรมานแก่ร่างกายและจิตใจ และ
วิธีการลงโทษที่ไม่หนักถึงขั้นประหารชีวิตที่ใช้กันมาก
อีกวิธีหนึ่ง คือ “การใช้แรงงานสาธารณะ” (public
labor) โดยทำางานในเหมืองแร่ งานก่อสร้าง หรือทำางา
นอื่นๆ เพื่อประโยชน์สาธารณะ
แนวคิดเรื่อง “คุก” เกิดขึ้นครั้งแรกในคริสต์
ศตวรรษที่ ๑๖ ที่ประเทศฮอล์แลนด์ และอังกฤษ โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อใช้งานผู้กระทำาผิดเหล่านี้อย่างหนักใน
เวลากลางวันใน “สถานดัดสันดาน” (workhouses)
ส่วนกลางคืนให้นอนพักผ่อนในซอกหลืบที่ปราศจากสุข
อนามัย ในอังกฤษด้วยความที่ใกล้ชิดกับราชนาวี จึงมี
การนำาตัวผู้กระทำาผิดไปกักเก็บไว้ที่เรือเก่าๆ ผุพังใช้
การไม่ได้แล้ว เรียกว่า prison hulks อันเป็นที่มาของ
“คุก” ในปัจจุบัน
ต่อมาการใช้คุกแทนการลงโทษ ได้พัฒนาขึ้น
ควบคู่กับพัฒนาการแห่งรัฐชาติของสังคมโลก โดยใน
ห น้ า | 5
ส่วนของกระบวนการยุติธรรม เริ่มมีการพัฒนาความ
เป็นวิชาชีพในระบบงานยุติธรรมขึ้นเป็นลำาดับ จน
กลายเป็นอาชีพที่มีรายได้อยู่บนความสามารถในการ
ค้นหาความจริงและความถูกต้องตามกฎหมาย ทำาให้คดี
ความถูกส่งผ่านขับเคลื่อนไปตามขั้นตอนต่างๆ ของ
กระบวนการยุติธรรมตามลำาดับ จนบางครั้งห่างไกล
จากการตอบสนองความต้องการที่แท้จริงของเหยื่อและ
ผู้กระทำาผิดเอง ผู้กระทำาผิดในคดีความประเภทเดียวกัน
ส่วนหนึ่งจึงถูกส่งไปเข้า “คุก” อย่างเท่าเทียมกันตาม
กระบวนวิธีการ แต่คงไม่สามารถปฏิเสธได้ว่าใน
“ความเหมือน” ที่ทำาให้ระบบมีความเป็นเอกภาพนั้น มี
“ความแตกต่างหลากหลาย” เฉพาะตัวระหว่างคู่กรณีที่
ถูกละเลยไปพร้อมๆกันด้วย
จากนั้น พัฒนาการในระยะต่อมาปรากฏว่าระบบ
งานยุติธรรมได้เพิ่มเรื่องของการให้ความสำาคัญกับ
“อาชญากรรมและอาชญากร” มากขึ้น โดยเน้นการนำา
เรื่องของ “การลงโทษ (punishment) มาใช้เพื่อให้ผู้
กระทำาผิดรับผิดชอบต่อกฎเกณฑ์ของรัฐ และเพื่อยับยั้ง
มิให้ผู้อื่นถือเป็นเยี่ยงอย่างที่จะกระทำาผิดเช่นเดียวกันนี้
ขณะเดียวกันก็ไม่ค่อยได้ให้ความสำาคัญกับการชดใช้
เยียวยาเหยื่อ และห่วงใยชุมชนเท่าที่ควร เหยื่อส่วน
ใหญ่ถูกทิ้งให้ทนรับสภาพความเสียหายที่เกิดจาก
อาชญากรรมตามลำาพังทั้งทางเศรษฐกิจและทางอารมณ์
ความรู้สึกที่สูญเสียไป โดยที่ไม่ได้รับการตอบสนอง
ความต้องการและปราศจากความเอื้ออาทรจากชุมชน
รวมทั้งกระบวนการยุติธรรมตามธรรมเนียม (traditional
justice system) ที่ทำาหน้าที่หลักในการพิสูจน์ความ
จริงตามขั้นตอนกระบวนงาน ส่วนของตนตลอดช่วง
เวลาที่ผ่านมาจึงกลายเป็นระบบปิดที่มีความสลับซับ
ซ้อนด้วยกลไกที่ละเอียดอ่อนที่ส่งผ่านผู้ที่กระบวนการ
ยุติธรรมพิสูจน์แล้วว่าเป็นผู้กระทำาผิดไปสู่ “คุก” อย่าง
ต่อเนื่องและทวีจำานวนเพิ่มมากขึ้นเป็นลำาดับ กลายเป็น
กลไกขนาดใหญ่ของสังคมที่ต้องใช้จ่ายเงินงบประมาณ
ห น้ า | 6
จำานวนมหาศาลเพิ่มมากขึ้นทุกปีจนแทบจะทำาให้
สัดส่วนของงานสวัสดิการสังคมของประเทศไม่สมดุลกับ
การลงทุนในเชิงของการพัฒนาประเทศหากจะเพิ่ม
วงเงินสวัสดิการให้เหมาะสมกับการจัดการปัญหา
อาชญากรรมอย่างเต็มรูปแบบ
ดังนั้น จึงอาจกล่าวได้ว่า “กระบวนการ
ยุติธรรมตามธรรมเนียมได้พัฒนาไปถึงจุดที่
แสดงความรับผิดชอบต่อผู้กระทำาผิดสูงสุดเป็น
สำาคัญ ขณะที่จัดให้มีบริการแก่เหยื่อ
อาชญากรรมและชุมชนที่เกิดอาชญากรรมเหล่า
นั้นเพียงเล็กน้อย ขาดกระบวนการในการชดใช้
เยียวยาแก่เหยื่อหรือหากจะมีส่วนใหญ่เป็นเรื่อง
”ที่รัฐเป็นผู้ให้การชดเชยแทนผู้กระทำาผิด
การลงโทษด้วยการนำาคนที่กระทำาผิดไปกักขัง
ไว้ในเรือนจำาหรือคุกนั้น เป็นแนวคิดที่เกิดขึ้นพร้อมๆกับ
ธรรมชาติแห่งสังคมมนุษยชาติ หรือ เป็นสิ่งที่สังคม
แต่ละยุคสมัยประดิษฐ์คิดค้นขึ้น ซึ่งจากการสืบค้น
ประวัติภูมิหลังความเป็นมาของคุก ดังกล่าวข้างต้น
แสดงให้เห็นว่า “คุก” ถูกสร้างขึ้นและมีการถ่ายทอด
ผลิตซำ้า เลียนแบบไปยังสังคมต่างๆ รวมทั้งพัฒนา
เทคนิควิธีการ และรูปแบบการกักเก็บผู้คนให้มีความ
หลากหลายเช่นเดียวกับสินค้าอื่นๆ ในระบบทุนนิยมที่
มีการแพร่กระจายไปสู่ผู้บริโภคทั่วโลก และแม้ว่าแต่ละ
สังคมจะมีรูปแบบวิธีการลงโทษดั้งเดิมของตนเองแบบ
ใดก็ตาม แต่ในปัจจุบันดูเสมือนหนึ่งการบริหารจัดการ
คุกจะมีรูปแบบทำานองเดียวกันหมด
เป็นข้อเท็จจริงที่ว่า “ไม่มีปรากฏการณ์ทางสังคม
ใดที่เกิดขึ้นลอยๆ โดยไม่ผูกพันโยงยึดกับบริบทสังค
มนั้นๆ” ไม่ว่าจะเป็นยุคสมัยใดก็ตาม การจับ “คน” ไปใส่
“คุก” โดยเชื่อว่าเป็นวิธีการลงโทษสารพัดนึก ก็เช่น
เดียวกันย่อมมีมิติทางสังคมและการเมืองที่ผูกพันเป็น
ห น้ า | 7
เหตุผลซึ่งกันและกัน โดยเฉพาะในสภาวะที่มีการปฏิวัติ
อุตสาหกรรมต้องการใช้แรงงานในการก่อสร้างและ
ทำางานสาธารณะในรูปแบบหนึ่ง
การกักเก็บ “คน” ไว้ใน “คุก” จนเกิดภาวะ “คน
ล้นคุก” ในปัจจุบันนี้ ได้สะท้อนให้เห็นวิธีคิด หรือกรอบ
ทัศนะลักษณะใดของสังคม เหตุใดสมาชิกสังคมจึง
ยินยอมจ่ายเงินภาษีอากรเป็นค่าอาหารเลี้ยงดู “คนใน
คุก” เหล่านี้ ขณะที่ “เหยื่อ” ซึ่งถูก “คนในคุก” เหล่านี้
กระทำาอันตรายแก่ชีวิตและทรัพย์สินกลับไม่ได้รับการ
เยียวยาเท่าที่ควร ไม่ว่าจะเป็นการชดใช้ค่าเสียหาย
ระหว่าง “คนกระทำา” กับ “คนที่ถูกกระทำา” โดยตรงหรือ
การแสดงความรับผิดชอบ และการขออภัยต่อความเสีย
หายที่เกิดจากการกระทำาของตน เช่นเดียวกับที่
สมาชิกสังคมถูกสอนให้กล่าวขอโทษเมื่อเผอิญไป
เหยียบเท้าผู้อื่น ทั้งๆ ที่การประกอบอาชญากรรม
เป็นการกระทำาละเมิดที่รุนแรงกว่าการเหยียบเท้ากัน
อย่างมากมายมหาศาลก็ตาม แต่ก็ไม่มีเวทีใดที่จะถูก
สร้างขึ้นเพื่อการนี้ มีแต่จะตั้งหน้าตั้งตาต่อสู้กันอย่างคู่
ปฏิปักษ์ในเวทีที่เป็นทางการ และที่สำาคัญคือ
กระบวนการยุติธรรมซึ่งมีศักดิ์และสิทธิ์รวมทั้งอำานาจ
เต็มในการจัดการบังคับควบคุมทิศทางที่เหมาะสมแห่ง
พฤติกรรมของคนในสังคมกลับเพิกเฉยละเลยสาระ
สำาคัญทางจิตใจที่เป็นเรื่องละเอียดอ่อนเหล่านี้ โดย
กล่าวว่าเป็นการปฏิบัติไปตามที่กฎหมายกำาหนด เช่นนี้
นับได้ว่ากระบวนการยุติธรรมที่ผ่านมาดำาเนินงานภาย
ใต้กรอบทัศนะใด และผลแห่งการยึดมั่นถือมั่นในกรอบ
ทัศนะดังกล่าวได้ปรับแต่งรูปลักษณ์และจิตวิญญาณ
ของสังคมให้มีบุคลิกลักษณะเช่นใด
“คน” ที่เข้าไปอยู่ใน “คุก” ทุกคนสมควรที่จะได้
รับโทษเช่นนั้น หรือเพราะสังคมยังไม่ได้ผลิต “ทาง
เลือก” อื่นให้เหมาะสมกับกับผู้คนที่แตกต่างหลากหลาย
เหล่านี้ และกระบวนการคัดกรองคนที่สมควรเข้าคุกมี
ห น้ า | 8
ความเที่ยงตรงตามข้อเท็จจริง (validity) และความเชื่อ
ถือได้ (reliability) เพียงใด บ่อยครั้งที่พบว่า “คน” ที่อยู่
ใน “คุก” ไม่ได้เป็นผู้กระทำาความผิดจริงแต่เป็นผู้ที่ตก
เป็น “เหยื่อ” ของระบบและโครงสร้างทางสังคม เช่น
ยากจน ไม่รู้กฎหมาย ไม่มีช่องทางเข้าถึงอำานาจ ฯลฯ
และคนที่อยู่นอกคุกต่างหากที่เป็นผู้กระทำาความผิดตัว
จริง หรือบางครั้งคนที่เจ็บป่วยมีความบกพร่องทางสังคม
ซึ่งสมควรได้รับการบำาบัดรักษาโดยใช้กระบวนการ
ยุติธรรมทางเลือก กลับต้องถูกกักเก็บไว้เช่นเดียวกับ
อาชญากรมืออาชีพ ขณะที่สังคมกลับมอง “คน” ใน
“คุก” ในลักษณะเหมารวม (stereotype) เฉลี่ยความผิด
โดยทั่วหน้ากัน
กล่าวโดยสรุปได้ว่า วิธีการปฏิบัติต่อ “คน” โดยใช้
“คุก” จึงเป็นวิธีการที่สังคมพยายามแยก “สีขาว” ออก
จาก “สีดำา” โดยคนที่อยู่ในคุกทั้งหมดเป็นสีดำาเท่านั้น
และ ไม่สามารถจะเป็นได้แม้เพียง “สีเทา” ส่วนผู้กระทำา
ผิดที่ลอยนวลอยู่นอกกำาแพงคุกล้วนเป็น “สีขาว” เช่น
เดียวกับสมาชิกสังคมทั่วไป กระทั่งพ้นโทษจำาคุกกลับคืน
สู่สังคม “สีดำา” เหล่านั้นก็ยังติดตัวออกมาโดยไม่อาจ
เกลื่อนกลืนเข้าสู่สังคมได้อีกครั้ง
การลงโทษจำาคุกในสังคมไทยมีระบุไว้ในกฎหมาย
ตราสามดวง โดยใช้คำาตามแบบอย่างในสมัยกรุง
ศรีอยุธยาทั้งหมด คือ คุก ตะราง และเรือนจำา (วิวิทย์
จาตุปาริสุทธิ์, ๒๕๔๐, ๘๒ – ๘๖) และแม้ว่าจะมีการ
ปฏิรูปกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมไทยครั้งใหญ่
เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๓ การจัดการคุมขังนักโทษก็ยังคงปรากฏ
ในสังคมขณะนั้นโดยมีการแก้ไขปรับปรุงให้ดีขึ้น และ
ในสมัยรัชกาลที่ ๖ มีการประกาศจัดตั้ง “กรมราชทัณฑ์”
ขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๕๘
การปฏิบัติต่อผู้กระทำาผิดโดยใช้คุกในสังคมไทย
ปัจจุบันดำาเนินการโดยมีพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ.
ห น้ า | 9
๒๔๗๙ รวมทั้งกฎ ระเบียบต่างๆรองรับอำานาจหน้าที่ใน
การคุมขัง “คน” ไว้ใน “คุก” โดยมีการพัฒนาระบบ รูป
แบบ วิธีการตามแบบมาตรฐานสากล
ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา การปฏิบัติต่อผู้กระทำาผิด
โดยใช้คุกในสังคมเป็นวิธีการที่ได้รับความนิยมอย่างสูง
จากกระบวนการยุติธรรมกระแสหลัก แม้ว่าในช่วงเวลา
๒๐ ปีที่แล้ว วิธีการคุมประพฤติจะช่วยแบ่งเบาผู้กระทำา
ผิดคดีเล็กๆน้อยๆบางส่วนออกไปจากคุกในสัดส่วนที่
เท่าๆ กับที่ยังอยู่ในคุกแล้วก็ตาม แต่ภาพของ “คดีล้น
ศาล คนล้นคุก” ยังเป็น “ความจริง” ที่รอการแก้ไขอยู่ใน
ปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของสัดส่วนผู้ต้องขังก่อน
พิพากษาและอยู่ระหว่างการอุทธรณ์ฎีกาที่มีจำานวนมาก
เกือบจะครึ่งหนึ่งของจำานวนนักโทษทั้งหมด หรือสัดส่วน
ของคดีเสพ และครอบครองยาเสพติดที่ควรเบี่ยงเบน
ออกไปสู่กระบวนการบำาบัดรักษามากกว่าเก็บไว้ในคุก
และคดีกักขังแทนค่าปรับที่เพิ่งได้รับการเบี่ยงเบนใช้วิธี
การทำางานบริการสังคมแทน ก็ตาม ล้วนแต่เพิ่มความ
แออัดให้คุกจนทำาให้ “อาชญากร” กลุ่มที่สมควรอยู่ใน
คุกอย่างแท้จริงเพื่อประโยชน์สูงสุดของสังคมนั้นไม่ได้
รับการบำาบัดเยียวยาและปรับปรุงพฤฒินิสัยเท่าที่ควร
ด้วยเหตุนี้ ความนิยมใช้คุก และการไม่มีทางเลือก
อื่นที่หลากหลายเพียงพอในบริการของกระบวนการ
ยุติธรรมไทยเพื่อปฏิบัติต่อผู้กระทำาผิดหลากประเภท จึง
เป็นปัจจัยดูดให้คนเข้าไปอยู่ในคุกเพิ่มมากขึ้นอย่างเป็น
ระบบ เช่นเดียวกับที่หลายประเทศก็ประสบปัญหาเช่น
เดียวกันนี้ และที่สำาคัญในจำานวนของผู้ที่เข้าไปอยู่ใน
คุกมีกลุ่มคนจำาพวกหนึ่งที่เวียนเข้า ออก คุกเป็นประจำาที่
เราเรียกอย่างเป็นทางการว่าเป็นกลุ่มที่กระทำาความผิด
ซำ้า และกำาลังจะมีแนวโน้มว่าจะมีจำานวนเพิ่มมากขึ้นใน
ทุกๆ ปี นั่นมันเป็นสัญญาณที่แสดงว่าการแก้ไขปัญหา
และการพัฒนาพฤตินิสัยนามแนวนโยบายของภาครัฐ
เดินมาถูกทางหรือไม่ การเน้นฝึกฝนวิชาชีพให้เพื่อให้มี
ห น้ า | 10
อาชีพติดตัวภายหลังกลับพ้นโทษออกไป เป็นไปตาม
เป้าหมายที่ต้องการหรือไม่
กรมราชทัณฑ์มีภารกิจหลักในการควบคุมและ
แก้ไขพฤตินิสัยผู้ต้องขัง โดยมุ่งพัฒนาเป็นองค์การ
พัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อแก้ไขฟื้นฟูผู้ต้องขังให้กลับ
ตนเป็นพลเมืองดีมีคุณค่าปล่อยตัวคืนไปใช้ชีวิตใน
สังคมภายนอก ไม่หวนกลับมากระทำาความผิดซำ้า ให้ผู้
ต้องขังได้รับการพัฒนาทักษะฝีมือในการประกอบอาชีพ
สุจริตและสามารถดำารงตนในสังคมภายนอกได้อย่าง
ปกติสุข โดยหวังว่าสังคมจะให้การยอมรับ กรม
ราชทัณฑ์ได้กำาหนดวิสัยทัศน์ไว้เป็นเป้าหมายในการ
ปฏิบัติงานของหน่วยงานว่า
“กรมราชทัณฑ์เป็นองค์การชั้นนำาของ
อาเซียนในการควบคุม แก้ไข และพัฒนาพฤติ
นิสัยผู้ต้องขัง เพื่อคืนคดี มีคุณค่า ”สู่สังคม
พันธกิจ ๒ ประการ ได้แก่
1. การควบคุมผู้ต้องขังอย่างมืออาชีพ
2. บำาบัดฟื้นฟู และแก้ไขพฤตินิสัยผู้ต้องขังอย่างมี
ประสิทธิภาพ
ภารกิจหลักของกรมราชทัณฑ์ในการแก้ไขพัฒนา
พฤตินิสัยให้กับผู้ต้องขังอย่างมีประสิทธิภาพนับเป็น
ภารกิจที่สำาคัญอย่างยิ่งของกรมราชทัณฑ์ กรม
ราชทัณฑ์ได้นำากระบวนการศึกษามาเป็นหลักในการ
ห น้ า | 11
แก้ไขพัฒนาผู้ต้องขัง โดยได้มีการพัฒนาการมาตั้งแต่
อดีตจนถึงปัจจุบันแบ่งตามห้วงเวลา ดังนี้
พัฒนาการ รูปแบบการ
เรียนการสอน
วัตถุประสงค์
ช่วงที่ ๑
ระหว่าง
พ.ศ.๒๔๓๔ –
พ.ศ.๒๔๗๕
วิชาภาษาไทย
และคิดเลข
เพื่อให้อ่านออก
เขียนได้ คิดเลข
เป็น ไม่เน้นการ
ศึกษา เน้นการ
ลงโทษให้เข็ด
หลาบ และเกิด
การสำานึกผิดใน
สิ่งที่ได้กระทำา
ช่วงที่ ๒
ระหว่าง
พ.ศ.๒๔๗๖ –
พ.ศ.๒๕๑๓
สายสามัญ,
วิชาชีพ, การ
อบรมจริยธรรม,
ศีลธรรมและ
พลศึกษา
เพื่อให้อ่านออก
เขียนได้ มีความรู้
เกี่ยวกับเมืองไทย
มีทักษะในวิชา
ช่าง เพื่อให้นำา
ความรู้ที่ได้รับไป
ระกอบเป็นอาชีพ
มีจริยธรรม/รู้จัก
สุขอนามัยเฉพาะ
ตน
ช่วงที่ ๓ ระหว่าง
พ.ศ.๒๕๑๔ –
พ.ศ.๒๕๒๗
หลักสูตร
กศน. ,วิชาชีพ ,
อุดมศึกษา และ
จริยธรรม
มุ่งให้ผู้ต้องขัง
ขยายผลการ
ศึกษาสู่ระดับ
มัธยมศึกษาตอน
ปลาย/สาย
วิชาชีพ และระดับ
อุดมศึกษา และ
เน้นด้านการ
พัฒนาจิตใจโดย
ห น้ า | 12
ใช้หลักศาสนา
ต่างๆ
ช่วงที่ ๔
ระหว่าง
พ.ศ.๒๕๒๘ –
พ.ศ.๒๕๔๐
หลักสูตร กศน.
(สาย
สามัญ) ,วิชาชีพ
และหลักสูตรการ
เรียนของหน่วย
งานภาครัฐอื่นๆ
และเอกชน
เน้นให้ผู้ต้องขัง
ทุกคนต้องได้รับ
การศึกษาขั้นตำ่า
ในระดับประถม
ศึกษา และ
สนับสนุนให้มี
หลักสูตรที่หลาก
หลาย เป็นการ
เปิดโอกาสให้
หน่วยงาน
ภายนอกทั้งภาค
รัฐและเอกชน เข้า
มามีส่วนร่วมใน
การจัดการศึกษา
ให้กับผู้ต้องขัง
ช่วงที่ ๕ ระหว่าง
พ.ศ.๒๕๔๒ –
ปัจจุบัน
หลักสูตร กศน.
(สาย
สามัญ) ,วิชาชีพ
(ปวช./ปวส./
ระยะสั้น),
อุดมศึกษา
(ปริญญาตรี/
ปริญญา
โท) ,กิจกรรม
ตามอัธยาศัย
จัดการศึกษาผู้
ต้องขังตาม พระ
ราชบัญญัติการ
ศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ.๒๕๔๒ และ
พระราชบัญญัติ
การศึกษานอก
ระบบและการ
ศึกษาตาม
อัธยาศัย พ.ศ.
๒๕๕๑ จัดให้เป็น
ไปตามมาตรฐาน
เดียวกับการศึกษา
ภายนอก และส่ง
เสริมการเรียนรู้
ด้วยกิจกรรมตาม
ห น้ า | 13
อัธยาศัยที่หลาก
หลาย
จากแนวทางการดำาเนินงานการจัดการศึกษาผู้ต้อง
ขังที่ผ่านมาพบว่าประสบปัญหาและอุปสรรคหลายด้าน
เช่น ด้านสถานที่จัดการเรียนการสอนไม่เพียงพอต่อ
จำานวนผู้เรียน ไม่มีอาคารเรียนเฉพาะ การจัดสภาพ
แวดล้อมภายในเรือนจำาไม่เอื้อต่อการเรียนรู้ ด้านงบ
ประมาณ กรมราชทัณฑ์ไม่ใช่สถานบันการศึกษา จึงไม่
สามารถจัดทำางบประมาณสำาหรับบริหารการศึกษา
โดยตรงได้ ต้องอาศัยงบประมาณจากหน่วยงานที่เป็น
ภาคีเครือข่ายที่เข้ามาร่วมดำาเนินการ ทำาให้การจัดสรร
งบประมาณด้านการศึกษาให้กับผู้ต้องขังไม่ทั่วถึง ด้าน
การใช้แรงงานผู้ต้องขัง ทำาให้ผู้ต้องขังต้องแบ่งเวลา
เพื่อไปทำางาน
หากเมื่อมองย้อนกลับไปถึงพัฒนาการที่ได้นำามา
ข้างต้นพบว่า กรมราชทัณฑ์ได้เน้นที่จะแก้ไขและ
พัฒนาพฤตินิสัยของผู้ต้องขังเพื่อให้กลับตนเป็น
พลเมืองดี ไม่หวนไปกระทำาความผิดซำ้า ในแต่ละช่วง
พัฒนาการสิ่งที่ขาดไม่ได้ในการแก้ไขคือการเน้นการ
ฝึกฝนทางวิชาชีพ โดยมีเป้าหมายให้ผู้ต้องขังแต่ละ
คนใช้เวลาในขณะที่ถูกจองจำาให้เกิดประโยชน์สูงสุด
แล้วนำาความรู้เหล่านั้นกลับออกไปใช้ประโยชน์ในการ
หาเลี้ยงชีพเมื่อพ้นโทษออกไป
ในขณะที่กรมราชทัณฑ์ได้พยายามหาแนวทางใน
การแก้ไขและพัฒนาพฤตินิสัยให้กับผู้ต้องขังนั้น แต่
สถิติการกระทำาผิดซำ้าของผู้ต้องขังก็ยังไม่ได้ลดลงแต่
อย่างใด แต่เมื่อกรมราชทัณฑ์ได้มีการศึกษาพบว่า
สาเหตุของการกระทำาความผิดซำ้าของผู้ต้องขังนั้นมีมูล
เหตุมาจากหลายปัจจัย การฝึกฝนวิชาชีพเพื่อให้มี
อาชีพติดตัวก็เป็นปัจจัยที่เป็นสาเหตุหนึ่งซึ่งนักวิจัย
ต้องการที่จะศึกษาว่าสิ่งที่เรือนจำาจังหวัดแพร่พยายาม
ห น้ า | 14
นำามาช่วยแก้ไขนั้นเดินมาถูกทางแล้วหรือไม่ และเกี่ยว
กับการฝึกวิชาชีพได้สร้างความสนใจอยากจะฝึกฝน
เพื่อนำาไปใช้หาเลี้ยงชีพจริงหรือไม่ เป็นสิ่งที่น่าศึกษา
สถิตินักโทษเด็ดขาดของกรมราชทัณฑ์แยก
ตามจำานวนครั้งที่ต้องโทษ
1. ข้อมูล ณ วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๐
จำานวนครั้งที่ต้อง
โทษ
ชาย หญิง รวม ร้อย
ละ
ต้องโทษครั้งที่ ๑ ๙๐,๖
๘๑
๑๕,๘๔
๖
๑๐๖,๕
๒๗
๘๖.
๐๑
ต้องโทษครั้งที่ ๒ ๙,๗๘
๐
๑,๗๗
๓
๑๑,๕๕
๓
๙.๓
๓
ต้องโทษครั้งที่ ๓ ๓,๑๕
๕
๒๔๓ ๓,๓๙
๘
๒.๗
๔
ต้องโทษครั้งที่ ๔ ๑,๔๔
๒
๘๑ ๑,๕๒
๓
๑.๒
๓
ต้องโทษครั้งที่ ๕ ๘๓๐ ๒๙ ๘๕๙ ๐.๖
๙
รวมต้องโทษครั้งที่ ๒
– ๕ ขึ้นไป
๑๕,๒
๐๗
๒,๑๒๖ ๑๗,๓
๓๓
๑๓.
๙๙
รวม ๑๐๕,
๘๘๘
๑๗,๙
๗๒
๑๒๓,
๘๖๐
๑๐๐
ที่มา : รายงานการดำาเนินงานของรัฐต่อสาธารณะ
รายปี ประจำาปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๐
2. ข้อมูล ณ วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๒
จำานวนครั้งที่ต้อง ชาย หญิง รวม ร้อย
ห น้ า | 15
โทษ ละ
ต้องโทษครั้งที่ ๑ ๑๑๒,
๘๑๖
๑๙,๓
๐๙
๑๓๑,๑
๒๕
๘๕.
๖๒
ต้องโทษครั้งที่ ๒ ๑๔,๕
๖๔
๑,๙๕
๐
๑๖,๕๔
๑
๑๐.
๗๘
ต้องโทษครั้งที่ ๓ ๓,๑๖
๔
๑๖๒ ๓,๓๒
๖
๒.๑
๗
ต้องโทษครั้งที่ ๔ ๑,๓๒
๘
๕๘ ๑,๓๘๖ ๐.๙
๐
ต้องโทษครั้งที่ ๕ ๗๗๐ ๓๔ ๘๐๔ ๐.๕
๒
รวมต้องโทษครั้งที่ ๒
– ๕ ขึ้นไป
๑๙,๘
๒๖
๒,๒๐๔ ๒๒,๐๓
๐
๑๔.
๓๘
รวม ๑๓๑,๖
๔๒
๒๑,๕๑
๓
๑๕๓,๑
๕๕
๑๐๐
ที่มา : รายงานการดำาเนินงานของรัฐต่อสาธารณะ
รายปี ประจำาปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๒
3. ข้อมูล ณ วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๓
จำานวนครั้งที่ต้อง
โทษ
ชาย หญิง รวม ร้อย
ละ
ต้องโทษครั้งที่ ๑ ๑๑๐,๑
๓๗
๑๙,๙
๖๓
๑๓๐,๑
๐๐
๘๖.
๔๑
ต้องโทษครั้งที่ ๒ ๑๓,๙
๕๒
๑,๗๗
๔
๑๕,๗
๒๖
๑๐.๔
๔
ต้องโทษครั้งที่ ๓ ๒,๘๔
๑
๑๕๓ ๒,๙๙
๔
๑.๙
๙
ต้องโทษครั้งที่ ๔ ๙๒๘ ๕๙ ๙๘๗ ๐.๖๖
ห น้ า | 16
ต้องโทษครั้งที่ ๕ ๗๐๘ ๔๒ ๗๕๐ ๐.๕๐
รวมต้องโทษครั้งที่ ๒
– ๕ ขึ้นไป
๑๘,๔
๒๙
๒,๐๒
๘
๒๐,๔๕
๗
๑๓.
๕๙
รวม ๑๒๘,๕
๖๖
๒๑,๙
๙๑
๑๕๐,๕
๕๗
๑๐๐
ที่มา : รายงานการดำาเนินงานของรัฐต่อสาธารณะ
รายปี ประจำาปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๓
เรือนจำาจังหวัดแพร่ เป็นเรือนจำาที่อยู่ในระบบ
การบริหารราชการส่วนภูมิภาค อยู่ภายใต้อำานาจศาล
จังหวัดแพร่ มีอำานาจการควบคุมผู้ต้องขังที่เป็นนักโทษ
เด็ดขาดที่มีกำาหนดโทษจำาคุกต่อไปไม่เกิน ๑๕ ปี และผู้
ต้องขังที่อยู่ระหว่างดำาเนินคดี และคนฝาก
สำาหรับสภาพโดยทั่วไป เรือนจำาจังหวัดแพร่มี
เนื้อที่ภายในเรือนจำา ๖ ไร่ ๒ งาน ๖๙ ตารางวา
ภายในมีอาคารที่เป็นเรือนนอน โรงเลี้ยงสูทกรรม และ
โรงงานฝึกวิชาชีพ ณ ปัจจุบันเรือนจำาจังหวัดแพร่มีผู้
ต้องขัง ๑,๐๙๐ คน เป็นผู้ต้องขังชาย ๙๓๐ คน ผู้ต้อง
ขังหญิง ๑๖๐ คน (ข้อมูล ณ วันที่ ๒๐ ธันวาคม
๒๕๕๔) และมีสถิติกระทำาผิดซำ้าร้อยละ ๘ เพิ่มขึ้นจาก
ปี ๒๕๕๓ จำานวน ๑๐ คน และเพิ่มขึ้นจากปี ๒๕๕๒
จำานวน ๗ คน
ด้านการแก้ไขพฤตินิสัยผู้ต้องขังเพื่อพัฒนา
แบ่งเป็น ๓ แนวทาง ดังนี้
1. สายสามัญ เปิดให้ผู้ต้องขังได้เรียนตั้งแต่
ระดับผู้ไม่รู้หนังสือ ระดับประถมศึกษา ระดับ
มัธยมศึกษา ไปจนถึงระดับอุดมศึกษา โดยบูรณ
าการความร่วมมือร่วมกับศูนย์การศึกษาตาม
อัธยาศัยจังหวัดแพร่ และยังมีการเรียนระดับชั้น
ห น้ า | 17
ปวช. ปวส. ที่บูรณาการร่วมกับวิทยาลัย
เกษตรกรรมแพร่
2. สายธรรมศึกษา เปิดให้ผู้ต้องขังได้เรียน
ตั้งแต่นักธรรมตรี นักธรรมโท และนักธรรมเอก
ซึ่งบูรณาการร่วมกับมหาวิทยาลัยมหา
จุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
3. สายอาชีพ เน้นการฝึกฝนวิชาชีพเพื่อนำาไป
ประกอบอาชีพภายหลังพ้นโทษออกไป ประกอบ
ด้วย ช่างไม้ช่างเฟอร์นิเจอร์ ช่างขัดทาสี ซึ่งถือ
เป็นอาชีพหลัก เนื่องจากจังหวัดแพร่โดยหลัก
แล้วจะมีความถนัดและความสนใจอาชีพการทำา
ไม้ ทำาเฟอร์นิเจอร์อยู่แล้ว นอกจากนี้ยังบูรณา
การร่วมกับศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดแพร่
ฝึกฝนอาชีพระยะสั้นให้โดยใช้เวลาศึกษา
ประมาณ ๓๐ – ๕๐ ชั่วโมง จบแล้วมีใบ
ประกาศนียบัตรรับรองให้เพื่อนำาไปสมัครงานได้
และจากแนวทางการแก้ไขพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้อง
ขัง เรือนจำาจังหวัดแพร่จะให้ความสำาคัญกับทั้งสาม
แนวทาง แต่แนวทางที่คิดว่าจะเป็นปัจจัยสำาคัญต่อการ
ลดอัตราการกระทำาผิดซำ้าได้คือ แนวทางสายอาชีพ
เพราะเชื่อว่าหากพ้นโทษออกไปแล้วสามารถที่จะหา
งานทำาได้ มีรายได้เลี้ยงชีพตนเองและครอบครัว ก็จะ
ช่วยลดปัจจัยที่จะทำาให้มีความเสี่ยงต่อการกระทำาความ
ผิดซำ้าได้อีก แต่อย่างไรก็ตามด้วยเหตุที่อัตราการกระ
ทำาความผิดซำ้าทั้งในส่วนที่เป็นภาพรวม และของเรือน
จำาจังหวัดแพร่ ยังไม่ลดลงทั้งๆ ที่นักโทษเด็ดขาดที่ถูก
ส่งเข้าไปอยู่ในเรือนจำาก็ได้เข้ารับการฝึกวิชาชีพ จึง
ทำาให้เกิดความสงสัยว่าแนวทางที่กรมราชทัณฑ์ และ
เรือนจำาจังหวัดแพร่เน้นให้มีการฝึกนั้น ตรงกับความ
ห น้ า | 18
ต้องการของผู้ที่เข้ารับการฝึกหรือไม่ และอาชีพเหล่า
นั้นเป็นที่ต้องการของตลาดแรงงานหรือไม่ หรือเป็น
เพราะเหตุปัจจัยอื่นที่ส่งผลให้อัตราการกระทำาความผิด
ซำ้ายังไม่ลดลง ด้วยเหตุนี้นักวิจัยจึงมีความสนใจที่จะทำา
วิจัยเรื่องนี้ โดยผลการวิจัยที่ได้จะเป็นประโยชน์และ
แนวทางในการพัฒนาหน่วยงานหรือองค์การของรัฐต่อ
ไป
๓. คำาถามของการวิจัย
ประเด็นคำาถามที่ ๑ การฝึกวิชาชีพของเรือนจำา
จังหวัดแพร่สามารถแก้ไขปัญหาการกระทำาผิดซำ้าได้จริง
หรือไม่
ประเด็นคำาถามที่ ๒ การฝึกวิชาชีพช่างไม้ ช่างสี
เฟอร์นิเจอร์ ช่างปูน ช่างซ่อมเครื่องยนต์เล็ก เป็นสาขาที่
ตลาดแรงงานในจังหวัดแพร่มีความต้องการ แต่ทำาไมสถิติ
การกระทำาผิดซำ้าจึงไม่ลดลง
ประเด็นคำาถามที่ ๓ การฝึกวิชาชีพที่เรือนจำา
จังหวัดแพร่จัดให้ผู้ต้องขังเข้ารับการฝึก เป็นที่สนใจของผู้
ต้องขังอย่างแท้จริงหรือไม่ หรือเป็นเพียงความต้องการ
ของหน่วยงานภาครัฐ และมีความสัมพันธ์กันในทิศทางใด
กับอัตราการกระทำาผิดซำ้า
๔. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1. เพื่อศึกษาศักยภาพในการแก้ไขปัญหาการกระ
ทำาความผิดซำ้าของผู้ต้องขังโดยผ่าน
กระบวนการฝึกฝนวิชาชีพ
ห น้ า | 19
2. เพื่อศึกษาปัจจัยที่เป็นสาเหตุที่แท้จริงของการก
ระทำาความผิดซำ้าว่าเกิดจากตัวตนของผู้ต้องขัง
หรือเกิดจากนโยบายของภาครัฐ
3. เพื่อศึกษาผลลัพธ์และความสัมพันธ์ที่เกิดจาก
การฝึกวิชาชีพของเรือนจำาจังหวัดแพร่ต่ออัตรา
การเพิ่มขึ้นของผู้ต้องขังที่กระทำาความผิดซำ้า
๕. สมมติฐานการวิจัย
1. เรือนจำาจังหวัดแพร่มีศักยภาพเพียงพอในการ
แก้ไขปัญหาการกระทำาความผิดซำ้าของผู้ต้องขัง
โดยผ่านกระบวนการฝึกฝนวิชาชีพ
2. ปัจจัยที่เป็นสาเหตุของการกระทำาความผิดซำ้า
ของผู้ต้องขังที่สำาคัญเกิดจากปัจจัยพื้นฐานของผู้
ต้องขัง เช่น อายุ ฐานะทางครอบครัว ความ
สัมพันธ์ในครอบครัว สภาพแวดล้อมทางสังคม
และการคบเพื่อน
3. ผลลัพธ์ของการฝึกวิชาชีพมีความสัมพันธ์กันใน
ทิศทางตรงกันข้ามกับอัตราการกระทำาความผิด
ซำ้า
๖. ขอบเขตของการวิจัย
การวิจัยครั้งนี้จะศึกษาในเรื่องการฝึกวิชาชีพกับ
การแก้ไขพฤตินิสัยผู้ต้องขังเพื่อลดอัตราการกระทำาผิด
ซำ้า ผู้วิจัยได้กำาหนดขอบเขตของการศึกษาดังต่อไปนี้
1. ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง คือ นักโทษเด็ด
ขาดชาย ที่ต้องโทษครั้งที่ ๒ ขึ้นไปและได้
รับการจำาแนกให้เข้ารับการฝึกวิชาชีพ
2. ระหว่างวันที่ 1 กุมภาพันธ์ ถึง วันที่ 31
มีนาคม ๒๕๕๔ มีระยะเวลา ๒ เดือน
ห น้ า | 20
3. ตัวแปรที่ศึกษา คือ ตัวแปรพื้นฐาน
๒.๑ ตัวแปรต้น ได้แก่ ข้อมูลส่วนตัวผู้ต้อง
ขังที่เข้ารับการฝึกวิชาชีพ คือ อายุ ฐานะ
ทางครอบครัว ความสัมพันธ์ในครอบครัว
สภาพแวดล้อมทางสังคม การคบเพื่อน
และระยะเวลาในการฝึกวิชาชีพ
๒.๒ ตัวแปรตาม ได้แก่ อัตราการกระ
ทำาความผิดซำ้า
ห น้ า | 21
กรอบแนวคิดของการวิจัย
ปัจจัยส่งผลอัตราการกระทำาผิดซำ้า
ตัวแปรต้น
ข้อมูลส่วนตัวผู้ต้องขัง
- อายุ
- สถานภาพ
- ระดับการศึกษา
- อาชีพก่อนต้อง
โทษ
- รายได้(สถานะทาง
ครอบครัว)
- ความสัมพันธ์ใน
ครอบครัว
ตัวแปรตาม
อัตราการกระทำา
ผิดซำ้า
- เพิ่มขึ้น
- เท่าเดิม
- ลดลง
การฝึกวิชาชีพ
- ประเภทวิชาชีพที่
ห น้ า | 22
ฝึก
- ระยะเวลาที่ฝึก
- ความสนใจต่อ
วิชาชีพที่ฝึก
๗. นิยามศัพท์เฉพาะ
เรือนจำา หมายความว่า ที่ซึ่งใช้ควบคุม กักขังผู้ต้อง
ขัง กับทั้งสิ่งที่ใช้ต่อเนื่องกัน และ ให้หมายความรวมตลอด
ถึงที่อื่นใดที่รัฐมนตรีได้กำาหนด และ ประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษา วางอาณาเขตไว้โดยชัดเจน
เรือนจำาจังหวัดแพร่ หมายถึง สถานที่ควบคุมตัวผู้
ต้องขัง ซึ่งอยู่ภายใต้อำานาจศาลจังหวัดแพร่ มีอำานาจการ
ควบคุมนักโทษเด็ดขาดที่มีกำาหนดโทษจำาคุกไม่เกิน ๑๕ ปี และ
ผู้ต้องขังระหว่างพิจารณาคดี ตั้งอยู่เลขที่ ๒๐ ถนนไชยบูรณ์
ตำาบลในเวียง อำาเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่
เจ้าหน้าที่ หมายถึง เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานอยู่ใน
เรือนจำาจังหวัดแพร่
ผู้ต้องขัง หมายถึง นักโทษเด็ดขาด คนต้องขัง และ
คนฝาก
การฝึกวิชาชีพ หมายถึง การนำาผู้ต้องขังเข้ารับ
การฝึกฝนวิชาชีพในเรือนจำาตามมติของคณะกรรมการจำาแนก
ลักษณะผู้ต้องขัง
ห น้ า | 23
การกระทำาผิดซำ้า หมายถึง นักโทษเด็ดขาดที่ได้
รับการปล่อยตัวออกไปจากเรือนจำาจังหวัดแพร่แล้วกลับมาต้อง
โทษซำ้าภายใน ๕ ปี
๘. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
๑. เพื่อนำาข้อมูลจากการวิจัยมาพัฒนาปรับวิธีและรูป
แบบการฝึกวิชาชีพผู้ต้องขังเพื่อลดอัตราการกระทำาความผิดซำ้า
๒. ทำาให้ทราบทิศทางของการแก้ไขพัฒนาพฤตินิสัย
ผู้ต้องขังและสามารถดำาเนินการให้เป็นไปในแนวทางที่ถูกต้อง
๓. เพื่อใช้เป็นแนวทางในการกำาหนดนโยบายเพื่อ
การแก้ไขทั้งในภาพรวมของกรมราชทัณฑ์ และของเรือนจำา
จังหวัดแพร่ ตลอดจนเผยแพร่เป็นเอกสารทางวิชาการแก่บุคคล
ผู้สนใจ
๙. ทบทวนวรรณกรรม
การปฏิบัติต่อผู้กระทำาผิดในเรือนจำาด้วยวิธีควบคุม
เพื่อลงโทษและควบคุมมิให้หลบหนี รวมทั้งการแก้ไขพัฒนา
พฤตินิสัยของผู้ต้องขังให้เป็นบุคคลที่สามารถออกไปใช้ชีวิต
ร่วมกับสังคมภายนอกได้อย่างปกติสุขนั้นมีความสำาคัญเท่าๆ กัน
หากแต่ทั้งสองภารกิจมีความแตกต่างกันในบริบทของตัวเอง
การควบคุมมิให้หลบหนีเป็นงานหลัก แต่การแก้ไขก็ต้องเป็น
งานหลักควบคู่กันไป ด้วยเหตุผลที่ว่าแม้จะควบคุมอย่างเดียวแต่
ไม่แก้ไข ปัญหาก็จะไม่มีวันจบสิ้น เปรียบเสมือนการโยนลูกบอล
ใสผนัง เมื่อกระทบผนังแล้วก็จะสะท้อนกลับมาฉันใด ก็ฉันนั้น
เมื่อปล่อยตัวผู้ต้องขังออกไป ผู้ต้องขังไม่ได้รับการแก้ไขพัฒนา
ออกไปไม่มีงานทำา กลายเป็นภาระของสังคม ไม่นานก็ต้องหวน
กลับมากระทำาความผิดซำ้าอีก เป็นวัฎจักรที่ไม่จบสิ้น
ทฤษฎีการลงโทษและวัตถุประสงค์การลงโทษ
ทฤษฎีการลงโทษมี ๔ ทฤษฎีใหญ่ด้วยกันคือ ทฤษฎี
การลงโทษเพื่อ แก้แค้นทดแทน ทฤษฎีการลงโทษแบบ
ห น้ า | 24
อรรถประโยชน์ ทฤษฎีการลงโทษเพื่อแก้ไข ฟื้นฟูผู้กระทำาผิด
(Rehabilitative Theory) และทฤษฎีการลงโทษเพื่อคุ้มครอง
สังคม (Social Protection Theory
๑. ทฤษฎีการลงโทษเพื่อแก้แค้นทดแทน
เป็นปฏิกิริยาของสังคมที่มีต่อพฤติกรรมที่ขัดต่อ
กฎหมายในลักษณะแก้แค้นทดแทนเกิดขึ้นในสภาวะธรรมชาติ
ของคนในความสัมพันธ์กับโลกภายนอกและมีมาตั้งแต่
โบราณกาล ปฏิกิริยาของสังคมต่ออาชญากรรมที่เป็นการ แก้
แค้นทดแทนที่เป็นการกระทำาต่อผู้ประทุษร้ายโดยสมาชิกหรือ
โดยกลุ่มหรือโดยรัฐ
โดยสรุปนักทฤษฎีการลงโทษเพื่อแก้แค้นทดแทนนี้ไม่
ได้สนใจต่ออนาคตของผู้ถูกลงโทษหรือของสังคม สนใจแต่
เพียงอย่างเดียวต่อพฤติกรรมหรือการกระทำาในอดีตของผู้
กระทำาความผิด เมื่อมีการกระทำาความผิดเกิดขึ้นไม่ว่าร้ายแรง
มากน้อยประการใด ผู้กระทำาความผิดสมควรได้รับโทษตามนั้น
ในปัจจุบันนี้การลงโทษตามทฤษฎีนี้ มีแนวโน้มจะนำากลับมาใช้
ในประเทศสหรัฐอเมริกาอีก เพราะเหตุว่าการลงโทษเพื่อ
วัตถุประสงค์ประการอื่น เช่น เพื่อแก้ไขฟื้นฟูไม่ได้ผลในการ
แก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำาความผิดเท่าที่ควร
๒. ทฤษฎีการลงโทษแบบอรรถประโยชน์
นักอาชญาวิทยาสำานักคลาสสิก ซึ่งมีซีซาร์ เบ็คคาเรีย
(Cesare Beccaria) (ค.ศ. ๑๗๑๘ – ๑๗๙๔) และเจเรมี แบน
แธม (Jeremy Bentham) (ค.ศ. ๑๗๔๘ – ๑๘๓๒) เป็นผู้นำา
เสนอทฤษฎีการลงโทษแบบอรรถประโยชน์โดย มีหลักการเบื้อง
ต้นว่า คนเรากระทำาความผิดโดยเจตนา และก่อนจะลงมือ
ห น้ า | 25
กระทำาก็ได้พิจารณาใคร่ครวญแล้วจึงลงมือกระทำา เพราะฉะนั้น
รัฐจึงควรบัญญัติความผิดและโทษสำาหรับความผิดนั้นอย่าง
ชัดเจน เมื่อมีกฎหมายบัญญัติชัดแจ้งอย่างนั้นแล้ว ผู้ที่ฝ่าฝืน
ย่อมจะถูกลงโทษตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ ทั้งนี้การลงโทษจะ
ต้องทำาอย่างรวดเร็ว แน่นอน เสมอภาคกันและรุนแรงตามโทษที่
กำาหนดไว้ การลงโทษดังกล่าวย่อมจะมีประโยชน์ต่อสังคมใน
ด้านการลดอาชญากรรมและส่งเสริมให้คนทั่วไปเคารพ
กฎหมาย
๓. ทฤษฎีการลงโทษเพื่อแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำา
ความผิด
นักอาชญาวิทยาสำานักโพซิตีฟ ซึ่งมีซีซาร์ ลอมโบโซ
(Cesare Lombroso) (ค.ศ. ๑๘๓๕ – ๑๙๐๙) เป็นผู้นำา เห็นว่า
อาชญากรรมเป็นปรากฏการณ์อย่างหนึ่งในสังคม เช่นเดียวกับ
ปรากฏการณ์ธรรมชาติ เช่น ฟ้าร้อง ฟ้าผ่า พายุพัด เป็นต้น
โดยผู้ประกอบอาชญากรรมหาได้มีเจตนาที่จะกระทำาผิด
กฎหมายไม่ เพราะฉะนั้นเมื่อผู้ประกอบอาชญากรรมไม่ได้มี
เจตนาประกอบอาชญากรรม การลงโทษผู้ประกอบ
อาชญากรรมตามโทษที่กฎหมายกำาหนดไว้ จึงน่าจะเป็นการไม่
ถูกต้อง นักอาชญาวิทยาสำานักนี้เน้นการศึกษาที่ตัวผู้กระทำา
ความผิดเพื่อจะค้นหาสาเหตุโดยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ว่า
เพราะเหตุใดจึงกระทำาผิดกฎหมาย
๔. ทฤษฎีการลงโทษเพื่อคุ้มครองสังคม
นักอาชญาวิทยาสำานักป้องกันสังคม (Social
Defence School) ซึ่งมีฟิลิปโป กรามาติกา (Philipo
Gramatica) และมาร์ค แอนเชล (Mark Ancel) เป็นผู้นำา มี
ห น้ า | 26
ทัศนะเกี่ยวกับอาชญากรรมเช่นเดียวกับนักอาชญาวิทยาสำานัก
โพซิตีฟ แต่มีทัศนะในการปฏิบัติต่อผู้กระทำาผิดต่างจากสำานัก
โพซิตีฟตรงที่นำากฎหมายอาญาเข้ามาเป็นเครื่องมือในการ
ปฏิบัติต่อผู้กระทำาความผิด และแตกต่างไปจากนักอาชญาวิทยา
สำานักคลาสสิกในแง่ที่ว่าเน้นการคุ้มครองสังคมโดยการแก้ไข
ปรับปรุงและ อบรมบ่มนิสัยผู้กระทำาความผิดมากกว่าการลงโทษ
ทฤษฎีคุ้มครองสังคมนี้มีมานานแล้ว และแนวความคิดนี้ได้
พัฒนาเรื่อยมาจนเป็นสำานักป้องกันสังคม ในปัจจุบันนักอาชญา
วิทยาสำานักนี้ให้ความสนใจใน
วัตถุประสงค์การลงโทษ
วัตถุประสงค์ในการลงโทษอาจกล่าวได้เป็น ๔ กลุ่ม
คือ เพื่อเป็นการ แก้แค้นการกระทำาความผิด เพื่อเป็นการยับยั้ง
หรือป้องกัน เพื่อเป็นการคุ้มครองสังคม และเพื่อปรับปรุงและ
แก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำาความผิด
กลุ่มที่ ๑ การลงโทษเพื่อแก้แค้นทดแทนหรือ
ชดเชยความผิด แยกออกเป็น
๑. การลงโทษเพื่อเป็นการแก้แค้น(Punishment as a
Retribution, retaliation or revenge) นับว่าเป็นวัตถุประสงค์ที่
ใช้ลงโทษผู้กระทำาความผิดที่มีมาแต่สมัยโบราณและแพร่หลาย
ที่สุด แม้กระทั่งในปัจจุบันระบบการลงโทษแบบตาต่อตา ฟันต่อ
ฟัน ก็เป็นตัวอย่างหนึ่งของการลงโทษเพื่อเป็นการแก้แค้น ซึ่ง
กล่าวได้อีกอย่างหนึ่งว่าผู้กระทำาความผิดสมควรจะได้รับการ
ห น้ า | 27
โต้ตอบด้วยการลงโทษอย่างสาสมกับความผิดที่ได้กระทำาขึ้น
เช่น ผู้ที่ฆ่าผู้อื่นตายโดยเจตนาก็สมควรจะได้รับโทษให้ ตายตก
ไปตามกัน ทั้งนี้ เพื่อเน้นให้เห็นผลกรรมที่ได้กระทำาไว้ต่อผู้อื่น
4. การลงโทษเพื่อเป็นการทดแทนหรือชดเชย
ความผิด (Punishment as a Expiation or
Atonement) การลงโทษเพื่อเป็นการ
ทดแทนหรือชดเชยความผิด ก็เป็นเหตุผลที่
เก่าแก่พอ ๆ กับการลงโทษเพื่อเป็นการแก้
แค้นตามวัตถุประสงค์นี้ผู้กระทำาความผิดจะ
ต้องชดใช้ความผิดด้วยความทุกข์ทรมาน
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ถ้าการลงโทษได้กระทำา
ต่อหน้าสาธารณชน วัตถุประสงค์ของการ
ลงโทษนี้ก็จะมากยิ่งขึ้น
กลุ่มที่ ๒ การลงโทษเพื่อเป็นการยับยั้งหรือ
ป้องกัน (Punishment as a Deterence or Restraint or
Prevention) การลงโทษเพื่อเป็นการยับยั้งหรือป้องกัน เพิ่งจะมี
ขึ้นในศตวรรษที่ ๑๘ ตามแนวความคิดของนักอาชญาวิทยา
แห่งสำานักคลาสสิกซึ่งมีซีซาร์ เบ็คคาเรีย(Cesare
Beccaria)เป็นผู้นำา เบ็คคาเรียได้กล่าวไว้ว่าเจตนาของการ
ลงโทษ ไม่ควรจะเป็นการทรมานผู้กระทำาความผิด หรือชดเชย
ความผิด แต่ควรจะป้องกันบุคคลอื่นมิให้กระทำาความผิดเช่น
เดียวกันนั้น และการลงโทษที่ยุติธรรมควรจะมีอัตราความ
รุนแรงพอเพียงที่จะยับยั้งบุคคลอื่นๆ การลงโทษตาม
วัตถุประสงค์นี้ก็เพื่อจะทำาให้ผู้กระทำาความผิดเข็ดหลาบและ
เกรงกลัวจนไม่กล้ากระทำาความผิดอีกต่อไป อีกประการหนึ่งก็
เพื่อเป็นการเตือนมิให้คนอื่น ๆ ทำาตามอย่างผู้กระทำาความผิด
เพราะจะถูกลงโทษเช่นเดียวกัน
กลุ่มที่ ๓ การลงโทษเพื่อเป็นการคุ้มครองสังคม
(Punishment as a Protection of Society or an
Incapacitation) การลงโทษเพื่อเป็นการป้องกันสังคมเริ่มขึ้น
ห น้ า | 28
เมื่อมีการนำาเอาวิธีการลงโทษจำาคุกมาใช้ แต่ก่อนหน้านี้การ
ลงโทษเพื่อเป็นการแก้แค้นเพื่อเป็นการทดแทน และเพื่อเป็นการ
ยับยั้งมีใช้อยู่เป็นอันมาก เช่น ในการกำาจัดศัตรูทางการเมือง ผู้
มีอำานาจปกครองเนรเทศนักโทษการเมือง หรืออาจกำาจัดด้วยวิธี
การประหารชีวิตหรือขังในห้องใต้ดิน
กลุ่มที่ ๔ การลงโทษเพื่อเป็นการปรับปรุง หรือ
แก้ไขฟื้นฟู (Punishment as a means of Reformation or
Rehabilitation) การลงโทษเพื่อเป็นการปรับปรุงผู้กระทำาความ
ผิดโดยการใช้โทษจำาคุกมีที่มาจากทฤษฎีการลงโทษของนัก
อาชญาวิทยาสำานักคลาสสิกดังกล่าวมาแล้ว เหตุผลก็มีอยู่ว่า
การลงโทษมีแนวโน้มที่จะปรับปรุงผู้กระทำาความผิดและอาจจะ
ปรับปรุงแก้ไขได้สำาเร็จ โดยการก่อให้เกิดความกลัวว่าจะมีการ
ลงโทษซำ้าอีก โดยการก่อให้เกิดความสำานึกว่าอาชญากรรมให้
ประโยชน์ไม่คุ้มกับโทษหรือโดยการทำาลายนิสัยต่างๆ ที่
อาชญากรได้สร้างขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าโทษเป็นการจำาคุก
ระยะยาว ผู้กระทำาความผิดก็จะไม่มีโอกาสแสดงนิสัยเหล่านั้น
ส่วนการลงโทษเพื่อเป็นการแก้ไขฟื้นฟู มีที่มาจากทฤษฎีการ
ปฏิบัติต่อผู้กระทำาความผิดของนักอาชญาวิทยาสำานักโพซิตีฟ
ดังกล่าวมาแล้วเช่นกันด้วยวิธีการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำาความผิด
เป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มแบบต่างๆ
จิตติภรณ์ ฉันทโรจน์ศิริ กองบริการทางการ
แพทย์ กรมราชทัณฑ์ ได้ศึกษาแนวทางการสร้างแบบประเมิน
ความเสี่ยงในการกระทำาผิดซำ้า พบว่า ผู้ต้องขังที่กระทำาผิดซำ้า
อาจจะมีปัจจัยร่วมบางอย่างที่คล้ายคลึงกัน หากสามารถหา
ปัจจัยร่วมดังกล่าวได้ ก็อาจคิดหาวิธีป้องกันรวมทั้งการบำาบัดไม่
ให้ผู้ต้องขังหวนกลับไปกระทำาผิดซำ้าอีกหลังจากถูกปล่อยตัวไป
แล้วได้ เพราะการจะแก้ปัญหานั้น หากทราบสาเหตุของปัญหา
จะทำาให้แก้ไขได้ง่าย
จากข้อมูลที่ได้ทำาให้อนุมานได้ว่า ผู้ต้องขังกระทำาผิด
ซำ้าส่วนมากเป็นผู้ที่มีระดับการศึกษาไม่สูง มีปัญหาทาง
ครอบครัว ไม่ประสบความสำาเร็จในหน้าที่การงาน และรายได้
ห น้ า | 29
ไม่พอต่อค่าใช้จ่าย นอกจากนั้นผู้ต้องขังเกือบทั้งหมดมีประวัติ
เคยใช้สารเสพติด และส่วนมากเป็นผู้ที่ทำาผิดในคดีเกี่ยวกับ
ทรัพย์และยาเสพติด และมากกว่าครึ่งเคยทำาผิดและเข้าสถาน
พินิจในขณะที่ยังเป็นเยาวชนอีกด้วย และประเด็นสำาคัญจาก
การสัมภาษณ์ผู้ต้องขังส่วนใหญ่คิดว่ากิจกรรมที่ทำาขณะต้อง
โทษไม่มีประโยชน์ต่อการดำารงชีพภายหลังปล่อยตัว
สมนึก พงษ์เพชร ผู้บัญชาการเรือนจำากลาง
ยะลา ได้ศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์กับการกระทำาผิดซำ้าของผู้ต้อง
ขังในเรือนจำาจังหวัดนราธิวาส กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ต้องขังใน
เรือนจำาจังหวัดนราธิวาส จำานวน ๒๖๕ คน ซึ่งได้จากการสุ่ม
ตัวอย่างแบบมีระบบ เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูล
ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สถิติที่ใช้ ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนา
และการทดสอบไคสแควร์ ผลการศึกษาพบว่า ผู้ต้องขังในเรือน
จำาจังหวัดนราธิวาส ร้อยละ ๔๔.๕ เป็นผู้ที่กระทำาผิดซำ้า โดยใน
กลุ่ม ผู้กระทำาผิดซำ้านั้น ส่วนมากร้อยละ ๔๙.๑ มีระยะเวลาใน
การต้องโทษครั้งหลังสุดนานน้อยกว่า ๓ ปี รองลงมา ร้อยละ
๒๖.๓, ๑๕.๓ และ ๙.๓ นาน ๓ – ๕ ปี ๖ – ๑๐ ปี และ ๑๐ ปีขึ้น
ไป ตามลำาดับ โดยเฉลี่ยต้องโทษครั้งหลังสุดนาน ๔.๕ ปี ส่วน
มากร้อยละ ๕๕.๑ มีความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด รองลงมา ร้อย
ละ ๓๔.๗ และ ๑๐.๒ มีความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ และความผิด
เกี่ยวกับชีวิตร่างกาย ตามลำาดับ สาเหตุการต้องโทษจำาคุกครั้ง
หลังสุด พบว่า ส่วนมาก ร้อยละ ๔๔.๙ และ ๒๗.๑ เกิดจาก ราย
ได้ไม่พอใช้ และการคบเพื่อนไม่ดี ถูกเพื่อนชักชวน ตามลำาดับ
ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการกระทำาผิดซำ้าของผู้ต้องขัง พบว่า ปัจจัย
ส่วนบุคคล ได้แก่ อายุก่อนต้องโทษ การศึกษา รายได้ ปัจจัย
โครงสร้างทางสังคม ได้แก่ ลักษณะเขตที่อยู่อาศัย พฤติกรรมที่
เกี่ยวข้องกับอบายมุข ปัจจัยกระบวนการทางสังคม ได้แก่ ระยะ
เวลาต้องโทษในเรือนจำาครั้งแรก และการได้รับความรู้ใน
วิชาชีพ มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติกับการกระทำา
ผิดซำ้าของผู้ต้องขัง
ห น้ า | 30
วิชัย เสนชุ่ม ทำาการศึกษาวิจัยประเด็นการเฝ้า
ระวังผู้ต้องขังคดียาเสพติดมิให้กระทำาผิดซำ้า พบว่าปัจจัยที่มีผล
ต่อการกระทำาความผิดซำ้าของผู้ต้องขังวัยหนุ่ม-สาวในคดียา
เสพติด เป็นปัจจัยที่ซับซ้อนและความเชื่อมโยงกัน โดยมี
ประเด็นที่สัมพันธ์กัน ดังนี้
- การกระทำาผิดซำ้ากับอายุเมื่อกระทำาผิดครั้งแรก มี
ความสัมพันธ์กัน กล่าวคือ ในกลุ่มผู้กระทำาผิดซำ้า ส่วนใหญ่
เป็นกลุ่มที่กระทำาผิดครั้งแรกเมื่ออายุไม่เกิน ๑๘ ปี ซึ่งสะท้อนให้
เห็นว่ายิ่งอายุในการกระทำาผิดครั้งแรกของผู้ต้องขังที่กระทำาผิด
ในขณะมีอายุน้อย ก็มีแนวโน้มที่จะกระทำาผิดซำ้าเมื่อโตขึ้น
- การกระทำาผิดซำ้ากับระยะเวลาที่ต้องโทษครั้งแรก มี
ความสัมพันธ์กัน กล่าวคือ ในกลุ่มผู้กระทำาผิดซำ้า ส่วนใหญ่จะ
ถูกลงโทษครั้งแรกในระยะเวลาไม่นานนัก ทำาให้ผู้ต้องขังบาง
คนไม่เกรงกลัวต่อการกระทำาผิดอีก เพราะรู้สึกว่าถ้าถูกจับได้
และต้องเข้ามาอยู่ในทัณฑสถาน เป็นสิ่งที่ไม่น่าเป็นห่วง
เนื่องจากมีประสบการณ์แล้ว
- การกระทำาผิดซำ้ากับการประกอบอาชีพก่อนต้องโทษ
มีความสัมพันธ์กัน กล่าวคือ กลุ่มผู้กระทำาผิดซำ้า ส่วนใหญ่
ประกอบอาชีพรับจ้าง ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่ากลุ่มผู้ต้องขังที่ก่อน
ต้องโทษประกอบอาชีพรับจ้าง จะเป็นกลุ่มที่มีแนวโน้มกระทำาผิด
ซำ้า
- การกระทำาผิดซำ้ามีความเกี่ยวเนื่องอย่างสูงกับความ
อ่อนแอภายในจิตใจของผู้ต้องขังกล่าวคือ ผู้ต้องขังส่วนใหญ่
มองว่าสาเหตุสำาคัญในการเข้าไปข้องเกี่ยวกับยาเสพติดอีก คือ
การที่จิตใจไม่เข้มแข็ง ไม่สามารถทนกับสิ่งยั่วยุต่างๆ ได้
- การกลับสู่สิ่งแวดล้อมทางสังคมเดิม มีโอกาสสูงที่จะ
กลับไปกระทำาผิดซำ้า ซึ่งการกลับสู่สังคมเดิม มีความสัมพันธ์กับ
ภาวะที่ผู้ต้องขังรู้สึกว่าสังคมไม่ยอมรับหรือไม่ให้โอกาส ทำาให้
รู้สึกว่าต้องกลับไปหาเพื่อนกลุ่มเดิม เพื่อให้ได้การยอมรับ ทำาให้
กลับเข้าสู่วงจรของยาเสพติดเหมือนเดิม
- การให้เหตุผลว่าปัจจัยสำาคัญเป็นเรื่องเกี่ยวกับเงิน
และการอยู่รอด เช่น ต้องการเงินมาสู้คดีหรือมองว่าตนเองเคย
อยู่ในทัณฑสถาน ไม่สามารถมีตำาแหน่งหน้าที่ในสังคม จึงกลับ
โครงร่างง..
โครงร่างง..
โครงร่างง..
โครงร่างง..
โครงร่างง..
โครงร่างง..
โครงร่างง..
โครงร่างง..
โครงร่างง..
โครงร่างง..

More Related Content

Featured

How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthThinkNow
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfmarketingartwork
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Applitools
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at WorkGetSmarter
 

Featured (20)

How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work
 
ChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slidesChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slides
 

โครงร่างง..

  • 1. ห น้ า | 1 โครงร่างงานวิจัย 1. ชื่อเรื่อง การฝึกวิชาชีพกับการแก้ไขพฤตินิสัยผู้ต้อง ขังเพื่อลดอัตราการกระทำาผิดซำ้า : กรณีศึกษาเรือนจำาจังหวัดแพร่ 2. ความเป็นมาและความสำาคัญของเรื่องวิจัย การราชทัณฑ์ของไทย ได้มีวิวัฒนาการ เปลี่ยนแปลงและสอดคล้องกับสังคมการเมืองและสภาพ เศรษฐกิจตลอดยุคสมัยที่ผ่านมา ในยุคก่อน รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ กิจการเรือนจำาได้สังกัดอยู่ตาม ส่วนราชการต่างๆ สอดคล้องกับการปกครองแบบจตุ สดมถ์ คือ แบ่งเป็นเรือนจำาในกรุงเทพฯ และเรือนจำา ในหัวเมืองชั้นนอก เรือนจำากรุงเทพฯมี ๒ ประเภทคือ “คุก” เป็นที่คุมขังผู้ต้องขังที่มีโทษตั้งแต่ ๖ เดือนขึ้นไป อยู่ในสังกัดกระทรวงนครบาล ส่วน”ตะราง”ใช้เป็นที่ คุมขังผู้ต้องขังที่มีโทษตำ่ากว่า ๖ เดือน หรือนักโทษที่ มิใช่ผู้ร้าย สังกัดกระทรวง ทบวง กรม ที่บังคับกิจกา รนั้นๆ ส่วนการเรือนจำาในหัวเมืองชั้นนอก มีที่คุมขังผู้ ต้องโทษเรียกว่า”ตะราง” การคุมขังอยู่ในความรับผิด ชอบของผู้ว่าราชการเมือง หรืออาจส่งต่อให้กระทรวง มหาดไทย กระทรวงกลาโหม รับตัวไปคุมขังแล้วแต่ กรณี รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ ได้มีการปรับปรุงระเบียบราชการใหม่ โดยโปรดให้ สร้างคุกใหม่ขึ้นเรียกว่า ”กองมหันตโทษ” และให้สร้าง ตะรางใหม่ขึ้นเรียกว่า ”กองลหุโทษ” สังกัดกระทรวง นครบาล และในปี พ.ศ.๒๔๔๔ (ร.ศ.๑๒๐) ได้มีพระ กรุณาโปรดเกล้าให้ตรา ”พระราชบัญญัติลักษณะเรือน
  • 2. ห น้ า | 2 จำา” ขึ้นเพื่อให้การจัดการเรือนจำาเป็นไปอย่างเรียบร้อย ยิ่งขึ้น จนถึงวันที่ ๑๓ ตุลาคม พ.ศ.๒๔๕๘ พระบาท สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ ได้ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าให้ตรา ”พระราชบัญญัติจัดตั้งกรม ราชทัณฑ์” โดยมีพระยาชัยวิชิตวิศิษฎ์ธรรมธาดา (ขำา ณ ป้อมเพชร) เป็นอธิบดีกรมราชทัณฑ์คนแรก ในปี พ.ศ.๒๔๖๙ ได้เกิดภาวะตกตำ่าทางเศรษฐกิจ งบประมาณรายได้ รายจ่ายไม่ได้ดุลยภาพกัน พระบาท สมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ ได้ทรงยุบกรมราชทัณฑ์ และให้ไปสังกัดกระทรวงยุติธรรม และต่อมาได้โอน กรมราชทัณฑ์ไปเป็น แผนกหนึ่ง (แผนกราชทัณฑ์) สังกัดกระทรวง มหาดไทย ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. ๒๔๗๕ การราชทัณฑ์ได้ยกฐานะเป็นกรมราชทัณฑ์ และมีการตราพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ.๒๔๗๙ มีหน้าที่เกี่ยวด้วยการเรือนจำา การกักกัน ผู้มีสันดาน เป็นโจรผู้ร้ายการฝึก และอบรมเด็กดัดสันดาน และใน ส่วนภูมิภาคได้มีการกำาหนดเป็นเรือนจำาจังหวัด และ เรือนจำาอำาเภอ ในปี พ.ศ.๒๕๔๕ ได้มีการปฏิรูประบบราชการ จึงได้โอนย้ายกรมราชทัณฑ์กลับมาสังกัดกระทรวง ยุติธรรม กระบวนทัศน์ในการปฏิบัติต่อผู้กระทำาผิดตลอด ระยะเวลากว่า ๔๐๐ ปีที่ผ่านมา เป็นกระบวนทัศน์ที่ใช้ ทฤษฎีอาชญาวิทยากระแสหลัก ในการจัดแบ่งวิธีการ ปฏิบัติต่อผู้กระทำาผิดออกเป็น ๒ ประเภทใหญ่ๆ คือ วิธี การปฏิบัติต่อผู้กระทำาผิดในระบบเรือนจำา (custodial treatment) กับ วิธีการปฏิบัติต่อผู้กระทำาผิดโดยไม่ใช้ เรือนจำาหรือในชุมชน (non-custodial treatment) ใน ลักษณะ “แบ่งแยกขาว-ดำา” ออกจากกันอย่างชัดเจน
  • 3. ห น้ า | 3 แต่ในความเป็นจริงแล้วการจำาแนกลักษณะการปฏิบัติ ต่อผู้กระทำาผิดดังกล่าวเป็นเพียงวิธีการจำาแนกรูปแบบ หนึ่งเท่านั้น และเป็นรูปแบบที่ใช้ “พรมแดนแห่งซี่ ลูกกรง” เป็นเครื่องกำาหนดความยุติธรรม ความเหมาะ สม และความสาสมกับโทษานุโทษที่ผู้คนเหล่านั้น กระทำาการล่วงละเมิดกฎเกณฑ์สังคมส่วนรวม กล่าวอีกนัยหนึ่ง ในปัจจุบันยังมีวิธีการปฏิบัติต่อ ผู้กระทำาผิดวิธีอื่นๆ นอกจากการแบ่งแยกกลุ่มผู้กระทำา ผิดโดยใช้อิสรภาพเป็นเกณฑ์ดังกล่าว ซึ่งเป็นวิธีการที่มี ลักษณะ “ไม่แบ่งแยกผู้กระทำาผิดออกจากชุมชน” “ไม่ กีดกันผู้กระทำาผิดออกไปเก็บตัวและยืนอย่างโดดเดี่ยว ตามลำาพัง” และ “ไม่เลือกใช้ช่องทางที่เล็งเห็นได้ว่าจะ สร้างความขัดแย้งแก่คู่กรณีมากขึ้น” ซึ่งรู้จักกันในนาม ของ “กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์” (Restorative Justice) วิธีการดังกล่าวใช้ทฤษฎี อาชญาวิทยาแนวสันติวิธี (peacemaking criminology) และอยู่ภายใต้กระบวนทัศน์การไม่ใช้ ความรุนแรง (non-violence paradigm) ที่สังคมโลก พัฒนาขึ้นเพื่อสร้างสมดุลกับความรุนแรงและความขัด แย้งในสังคม วิธีการปฏิบัติต่อ “คน” โดยใช้ “คุก” วิธีการปฏิบัติต่อ “คน” โดยใช้ “คุก” รู้จักกันใน นามที่เป็นทางการว่า วิธีการปฏิบัติต่อ ผู้กระทำาผิดใน ระบบเรือนจำา (custodial treatment) ซึ่งเป็นการ ลงโทษทางอาญาสถานหนึ่งที่นิยมใช้ในกระบวนการ ยุติธรรมกระแสหลักทั่วโลก ตั้งแต่ปีคริสต์ศตวรรษที่ ๑๖ เป็นต้นมา เราคงไม่สามารถจินตนาการถึงภาพของสังคมที่ ปราศจากคุกได้ว่าสังคมดังกล่าวนั้นจะมีรูปลักษณ์ อย่างไร มีความวุ่นวายสับสนแค่ไหนเมื่อมีผู้คนกระทำา
  • 4. ห น้ า | 4 ผิดกฎกติกามรรยาทของสังคมขึ้น เป็นความคิดของ สังคมที่ว่าสังคมต้องมีวิธีการลงโทษสมาชิกของตนเมื่อ กระทำาความผิด กฎเกณฑ์บรรทัดฐานของสังคม แต่ “คุก” ไม่ใช่วิธีการลงโทษวิธีการเดียวที่สังคมโลกแห่งนี้ คิดค้นขึ้น เพราะในความเป็นจริงแล้วสังคมโลกที่ ปราศจากการใช้คุกในการลงโทษนี้มีอยู่จริง จนกระทั่ง ตอนปลายยุคกลาง โดยคุกในช่วงระยะเวลานั้นถูกใช้ เป็นที่เก็บกักจำาเลยระหว่างการสอบสวนพิจารณาคดี และระหว่างรอการประหารชีวิตเท่านั้น (Freda Adler, Gerhard O. W. Mueller and William S. Laufer, ๑๙๙๖, p. ๒๖๖) ส่วนการลงโทษจริงๆแล้ว มีลักษณะ โหดเหี้ยมทารุณ เช่น ขับไล่ออกจากเมือง ประหารชีวิต ด้วยการแขวนคอ เผาทั้งเป็น ถ่วงนำ้า ใช้ม้าดึงแยกร่าง ออกเป็นสี่ส่วน ใช้ก้อนหินขว้างจนตาย ฯลฯ ส่วนการ ลงโทษที่ไม่หนักถึงขั้นประหารชีวิต ใช้วิธีการต่างๆ เช่น ห้ามคบหาสมาคม ขับออกจากการเป็นสมาชิก เฆี่ยน ทำาให้ทนทุกข์ทรมานแก่ร่างกายและจิตใจ และ วิธีการลงโทษที่ไม่หนักถึงขั้นประหารชีวิตที่ใช้กันมาก อีกวิธีหนึ่ง คือ “การใช้แรงงานสาธารณะ” (public labor) โดยทำางานในเหมืองแร่ งานก่อสร้าง หรือทำางา นอื่นๆ เพื่อประโยชน์สาธารณะ แนวคิดเรื่อง “คุก” เกิดขึ้นครั้งแรกในคริสต์ ศตวรรษที่ ๑๖ ที่ประเทศฮอล์แลนด์ และอังกฤษ โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อใช้งานผู้กระทำาผิดเหล่านี้อย่างหนักใน เวลากลางวันใน “สถานดัดสันดาน” (workhouses) ส่วนกลางคืนให้นอนพักผ่อนในซอกหลืบที่ปราศจากสุข อนามัย ในอังกฤษด้วยความที่ใกล้ชิดกับราชนาวี จึงมี การนำาตัวผู้กระทำาผิดไปกักเก็บไว้ที่เรือเก่าๆ ผุพังใช้ การไม่ได้แล้ว เรียกว่า prison hulks อันเป็นที่มาของ “คุก” ในปัจจุบัน ต่อมาการใช้คุกแทนการลงโทษ ได้พัฒนาขึ้น ควบคู่กับพัฒนาการแห่งรัฐชาติของสังคมโลก โดยใน
  • 5. ห น้ า | 5 ส่วนของกระบวนการยุติธรรม เริ่มมีการพัฒนาความ เป็นวิชาชีพในระบบงานยุติธรรมขึ้นเป็นลำาดับ จน กลายเป็นอาชีพที่มีรายได้อยู่บนความสามารถในการ ค้นหาความจริงและความถูกต้องตามกฎหมาย ทำาให้คดี ความถูกส่งผ่านขับเคลื่อนไปตามขั้นตอนต่างๆ ของ กระบวนการยุติธรรมตามลำาดับ จนบางครั้งห่างไกล จากการตอบสนองความต้องการที่แท้จริงของเหยื่อและ ผู้กระทำาผิดเอง ผู้กระทำาผิดในคดีความประเภทเดียวกัน ส่วนหนึ่งจึงถูกส่งไปเข้า “คุก” อย่างเท่าเทียมกันตาม กระบวนวิธีการ แต่คงไม่สามารถปฏิเสธได้ว่าใน “ความเหมือน” ที่ทำาให้ระบบมีความเป็นเอกภาพนั้น มี “ความแตกต่างหลากหลาย” เฉพาะตัวระหว่างคู่กรณีที่ ถูกละเลยไปพร้อมๆกันด้วย จากนั้น พัฒนาการในระยะต่อมาปรากฏว่าระบบ งานยุติธรรมได้เพิ่มเรื่องของการให้ความสำาคัญกับ “อาชญากรรมและอาชญากร” มากขึ้น โดยเน้นการนำา เรื่องของ “การลงโทษ (punishment) มาใช้เพื่อให้ผู้ กระทำาผิดรับผิดชอบต่อกฎเกณฑ์ของรัฐ และเพื่อยับยั้ง มิให้ผู้อื่นถือเป็นเยี่ยงอย่างที่จะกระทำาผิดเช่นเดียวกันนี้ ขณะเดียวกันก็ไม่ค่อยได้ให้ความสำาคัญกับการชดใช้ เยียวยาเหยื่อ และห่วงใยชุมชนเท่าที่ควร เหยื่อส่วน ใหญ่ถูกทิ้งให้ทนรับสภาพความเสียหายที่เกิดจาก อาชญากรรมตามลำาพังทั้งทางเศรษฐกิจและทางอารมณ์ ความรู้สึกที่สูญเสียไป โดยที่ไม่ได้รับการตอบสนอง ความต้องการและปราศจากความเอื้ออาทรจากชุมชน รวมทั้งกระบวนการยุติธรรมตามธรรมเนียม (traditional justice system) ที่ทำาหน้าที่หลักในการพิสูจน์ความ จริงตามขั้นตอนกระบวนงาน ส่วนของตนตลอดช่วง เวลาที่ผ่านมาจึงกลายเป็นระบบปิดที่มีความสลับซับ ซ้อนด้วยกลไกที่ละเอียดอ่อนที่ส่งผ่านผู้ที่กระบวนการ ยุติธรรมพิสูจน์แล้วว่าเป็นผู้กระทำาผิดไปสู่ “คุก” อย่าง ต่อเนื่องและทวีจำานวนเพิ่มมากขึ้นเป็นลำาดับ กลายเป็น กลไกขนาดใหญ่ของสังคมที่ต้องใช้จ่ายเงินงบประมาณ
  • 6. ห น้ า | 6 จำานวนมหาศาลเพิ่มมากขึ้นทุกปีจนแทบจะทำาให้ สัดส่วนของงานสวัสดิการสังคมของประเทศไม่สมดุลกับ การลงทุนในเชิงของการพัฒนาประเทศหากจะเพิ่ม วงเงินสวัสดิการให้เหมาะสมกับการจัดการปัญหา อาชญากรรมอย่างเต็มรูปแบบ ดังนั้น จึงอาจกล่าวได้ว่า “กระบวนการ ยุติธรรมตามธรรมเนียมได้พัฒนาไปถึงจุดที่ แสดงความรับผิดชอบต่อผู้กระทำาผิดสูงสุดเป็น สำาคัญ ขณะที่จัดให้มีบริการแก่เหยื่อ อาชญากรรมและชุมชนที่เกิดอาชญากรรมเหล่า นั้นเพียงเล็กน้อย ขาดกระบวนการในการชดใช้ เยียวยาแก่เหยื่อหรือหากจะมีส่วนใหญ่เป็นเรื่อง ”ที่รัฐเป็นผู้ให้การชดเชยแทนผู้กระทำาผิด การลงโทษด้วยการนำาคนที่กระทำาผิดไปกักขัง ไว้ในเรือนจำาหรือคุกนั้น เป็นแนวคิดที่เกิดขึ้นพร้อมๆกับ ธรรมชาติแห่งสังคมมนุษยชาติ หรือ เป็นสิ่งที่สังคม แต่ละยุคสมัยประดิษฐ์คิดค้นขึ้น ซึ่งจากการสืบค้น ประวัติภูมิหลังความเป็นมาของคุก ดังกล่าวข้างต้น แสดงให้เห็นว่า “คุก” ถูกสร้างขึ้นและมีการถ่ายทอด ผลิตซำ้า เลียนแบบไปยังสังคมต่างๆ รวมทั้งพัฒนา เทคนิควิธีการ และรูปแบบการกักเก็บผู้คนให้มีความ หลากหลายเช่นเดียวกับสินค้าอื่นๆ ในระบบทุนนิยมที่ มีการแพร่กระจายไปสู่ผู้บริโภคทั่วโลก และแม้ว่าแต่ละ สังคมจะมีรูปแบบวิธีการลงโทษดั้งเดิมของตนเองแบบ ใดก็ตาม แต่ในปัจจุบันดูเสมือนหนึ่งการบริหารจัดการ คุกจะมีรูปแบบทำานองเดียวกันหมด เป็นข้อเท็จจริงที่ว่า “ไม่มีปรากฏการณ์ทางสังคม ใดที่เกิดขึ้นลอยๆ โดยไม่ผูกพันโยงยึดกับบริบทสังค มนั้นๆ” ไม่ว่าจะเป็นยุคสมัยใดก็ตาม การจับ “คน” ไปใส่ “คุก” โดยเชื่อว่าเป็นวิธีการลงโทษสารพัดนึก ก็เช่น เดียวกันย่อมมีมิติทางสังคมและการเมืองที่ผูกพันเป็น
  • 7. ห น้ า | 7 เหตุผลซึ่งกันและกัน โดยเฉพาะในสภาวะที่มีการปฏิวัติ อุตสาหกรรมต้องการใช้แรงงานในการก่อสร้างและ ทำางานสาธารณะในรูปแบบหนึ่ง การกักเก็บ “คน” ไว้ใน “คุก” จนเกิดภาวะ “คน ล้นคุก” ในปัจจุบันนี้ ได้สะท้อนให้เห็นวิธีคิด หรือกรอบ ทัศนะลักษณะใดของสังคม เหตุใดสมาชิกสังคมจึง ยินยอมจ่ายเงินภาษีอากรเป็นค่าอาหารเลี้ยงดู “คนใน คุก” เหล่านี้ ขณะที่ “เหยื่อ” ซึ่งถูก “คนในคุก” เหล่านี้ กระทำาอันตรายแก่ชีวิตและทรัพย์สินกลับไม่ได้รับการ เยียวยาเท่าที่ควร ไม่ว่าจะเป็นการชดใช้ค่าเสียหาย ระหว่าง “คนกระทำา” กับ “คนที่ถูกกระทำา” โดยตรงหรือ การแสดงความรับผิดชอบ และการขออภัยต่อความเสีย หายที่เกิดจากการกระทำาของตน เช่นเดียวกับที่ สมาชิกสังคมถูกสอนให้กล่าวขอโทษเมื่อเผอิญไป เหยียบเท้าผู้อื่น ทั้งๆ ที่การประกอบอาชญากรรม เป็นการกระทำาละเมิดที่รุนแรงกว่าการเหยียบเท้ากัน อย่างมากมายมหาศาลก็ตาม แต่ก็ไม่มีเวทีใดที่จะถูก สร้างขึ้นเพื่อการนี้ มีแต่จะตั้งหน้าตั้งตาต่อสู้กันอย่างคู่ ปฏิปักษ์ในเวทีที่เป็นทางการ และที่สำาคัญคือ กระบวนการยุติธรรมซึ่งมีศักดิ์และสิทธิ์รวมทั้งอำานาจ เต็มในการจัดการบังคับควบคุมทิศทางที่เหมาะสมแห่ง พฤติกรรมของคนในสังคมกลับเพิกเฉยละเลยสาระ สำาคัญทางจิตใจที่เป็นเรื่องละเอียดอ่อนเหล่านี้ โดย กล่าวว่าเป็นการปฏิบัติไปตามที่กฎหมายกำาหนด เช่นนี้ นับได้ว่ากระบวนการยุติธรรมที่ผ่านมาดำาเนินงานภาย ใต้กรอบทัศนะใด และผลแห่งการยึดมั่นถือมั่นในกรอบ ทัศนะดังกล่าวได้ปรับแต่งรูปลักษณ์และจิตวิญญาณ ของสังคมให้มีบุคลิกลักษณะเช่นใด “คน” ที่เข้าไปอยู่ใน “คุก” ทุกคนสมควรที่จะได้ รับโทษเช่นนั้น หรือเพราะสังคมยังไม่ได้ผลิต “ทาง เลือก” อื่นให้เหมาะสมกับกับผู้คนที่แตกต่างหลากหลาย เหล่านี้ และกระบวนการคัดกรองคนที่สมควรเข้าคุกมี
  • 8. ห น้ า | 8 ความเที่ยงตรงตามข้อเท็จจริง (validity) และความเชื่อ ถือได้ (reliability) เพียงใด บ่อยครั้งที่พบว่า “คน” ที่อยู่ ใน “คุก” ไม่ได้เป็นผู้กระทำาความผิดจริงแต่เป็นผู้ที่ตก เป็น “เหยื่อ” ของระบบและโครงสร้างทางสังคม เช่น ยากจน ไม่รู้กฎหมาย ไม่มีช่องทางเข้าถึงอำานาจ ฯลฯ และคนที่อยู่นอกคุกต่างหากที่เป็นผู้กระทำาความผิดตัว จริง หรือบางครั้งคนที่เจ็บป่วยมีความบกพร่องทางสังคม ซึ่งสมควรได้รับการบำาบัดรักษาโดยใช้กระบวนการ ยุติธรรมทางเลือก กลับต้องถูกกักเก็บไว้เช่นเดียวกับ อาชญากรมืออาชีพ ขณะที่สังคมกลับมอง “คน” ใน “คุก” ในลักษณะเหมารวม (stereotype) เฉลี่ยความผิด โดยทั่วหน้ากัน กล่าวโดยสรุปได้ว่า วิธีการปฏิบัติต่อ “คน” โดยใช้ “คุก” จึงเป็นวิธีการที่สังคมพยายามแยก “สีขาว” ออก จาก “สีดำา” โดยคนที่อยู่ในคุกทั้งหมดเป็นสีดำาเท่านั้น และ ไม่สามารถจะเป็นได้แม้เพียง “สีเทา” ส่วนผู้กระทำา ผิดที่ลอยนวลอยู่นอกกำาแพงคุกล้วนเป็น “สีขาว” เช่น เดียวกับสมาชิกสังคมทั่วไป กระทั่งพ้นโทษจำาคุกกลับคืน สู่สังคม “สีดำา” เหล่านั้นก็ยังติดตัวออกมาโดยไม่อาจ เกลื่อนกลืนเข้าสู่สังคมได้อีกครั้ง การลงโทษจำาคุกในสังคมไทยมีระบุไว้ในกฎหมาย ตราสามดวง โดยใช้คำาตามแบบอย่างในสมัยกรุง ศรีอยุธยาทั้งหมด คือ คุก ตะราง และเรือนจำา (วิวิทย์ จาตุปาริสุทธิ์, ๒๕๔๐, ๘๒ – ๘๖) และแม้ว่าจะมีการ ปฏิรูปกฎหมายและกระบวนการยุติธรรมไทยครั้งใหญ่ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๓ การจัดการคุมขังนักโทษก็ยังคงปรากฏ ในสังคมขณะนั้นโดยมีการแก้ไขปรับปรุงให้ดีขึ้น และ ในสมัยรัชกาลที่ ๖ มีการประกาศจัดตั้ง “กรมราชทัณฑ์” ขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ๒๔๕๘ การปฏิบัติต่อผู้กระทำาผิดโดยใช้คุกในสังคมไทย ปัจจุบันดำาเนินการโดยมีพระราชบัญญัติราชทัณฑ์ พ.ศ.
  • 9. ห น้ า | 9 ๒๔๗๙ รวมทั้งกฎ ระเบียบต่างๆรองรับอำานาจหน้าที่ใน การคุมขัง “คน” ไว้ใน “คุก” โดยมีการพัฒนาระบบ รูป แบบ วิธีการตามแบบมาตรฐานสากล ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา การปฏิบัติต่อผู้กระทำาผิด โดยใช้คุกในสังคมเป็นวิธีการที่ได้รับความนิยมอย่างสูง จากกระบวนการยุติธรรมกระแสหลัก แม้ว่าในช่วงเวลา ๒๐ ปีที่แล้ว วิธีการคุมประพฤติจะช่วยแบ่งเบาผู้กระทำา ผิดคดีเล็กๆน้อยๆบางส่วนออกไปจากคุกในสัดส่วนที่ เท่าๆ กับที่ยังอยู่ในคุกแล้วก็ตาม แต่ภาพของ “คดีล้น ศาล คนล้นคุก” ยังเป็น “ความจริง” ที่รอการแก้ไขอยู่ใน ปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของสัดส่วนผู้ต้องขังก่อน พิพากษาและอยู่ระหว่างการอุทธรณ์ฎีกาที่มีจำานวนมาก เกือบจะครึ่งหนึ่งของจำานวนนักโทษทั้งหมด หรือสัดส่วน ของคดีเสพ และครอบครองยาเสพติดที่ควรเบี่ยงเบน ออกไปสู่กระบวนการบำาบัดรักษามากกว่าเก็บไว้ในคุก และคดีกักขังแทนค่าปรับที่เพิ่งได้รับการเบี่ยงเบนใช้วิธี การทำางานบริการสังคมแทน ก็ตาม ล้วนแต่เพิ่มความ แออัดให้คุกจนทำาให้ “อาชญากร” กลุ่มที่สมควรอยู่ใน คุกอย่างแท้จริงเพื่อประโยชน์สูงสุดของสังคมนั้นไม่ได้ รับการบำาบัดเยียวยาและปรับปรุงพฤฒินิสัยเท่าที่ควร ด้วยเหตุนี้ ความนิยมใช้คุก และการไม่มีทางเลือก อื่นที่หลากหลายเพียงพอในบริการของกระบวนการ ยุติธรรมไทยเพื่อปฏิบัติต่อผู้กระทำาผิดหลากประเภท จึง เป็นปัจจัยดูดให้คนเข้าไปอยู่ในคุกเพิ่มมากขึ้นอย่างเป็น ระบบ เช่นเดียวกับที่หลายประเทศก็ประสบปัญหาเช่น เดียวกันนี้ และที่สำาคัญในจำานวนของผู้ที่เข้าไปอยู่ใน คุกมีกลุ่มคนจำาพวกหนึ่งที่เวียนเข้า ออก คุกเป็นประจำาที่ เราเรียกอย่างเป็นทางการว่าเป็นกลุ่มที่กระทำาความผิด ซำ้า และกำาลังจะมีแนวโน้มว่าจะมีจำานวนเพิ่มมากขึ้นใน ทุกๆ ปี นั่นมันเป็นสัญญาณที่แสดงว่าการแก้ไขปัญหา และการพัฒนาพฤตินิสัยนามแนวนโยบายของภาครัฐ เดินมาถูกทางหรือไม่ การเน้นฝึกฝนวิชาชีพให้เพื่อให้มี
  • 10. ห น้ า | 10 อาชีพติดตัวภายหลังกลับพ้นโทษออกไป เป็นไปตาม เป้าหมายที่ต้องการหรือไม่ กรมราชทัณฑ์มีภารกิจหลักในการควบคุมและ แก้ไขพฤตินิสัยผู้ต้องขัง โดยมุ่งพัฒนาเป็นองค์การ พัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อแก้ไขฟื้นฟูผู้ต้องขังให้กลับ ตนเป็นพลเมืองดีมีคุณค่าปล่อยตัวคืนไปใช้ชีวิตใน สังคมภายนอก ไม่หวนกลับมากระทำาความผิดซำ้า ให้ผู้ ต้องขังได้รับการพัฒนาทักษะฝีมือในการประกอบอาชีพ สุจริตและสามารถดำารงตนในสังคมภายนอกได้อย่าง ปกติสุข โดยหวังว่าสังคมจะให้การยอมรับ กรม ราชทัณฑ์ได้กำาหนดวิสัยทัศน์ไว้เป็นเป้าหมายในการ ปฏิบัติงานของหน่วยงานว่า “กรมราชทัณฑ์เป็นองค์การชั้นนำาของ อาเซียนในการควบคุม แก้ไข และพัฒนาพฤติ นิสัยผู้ต้องขัง เพื่อคืนคดี มีคุณค่า ”สู่สังคม พันธกิจ ๒ ประการ ได้แก่ 1. การควบคุมผู้ต้องขังอย่างมืออาชีพ 2. บำาบัดฟื้นฟู และแก้ไขพฤตินิสัยผู้ต้องขังอย่างมี ประสิทธิภาพ ภารกิจหลักของกรมราชทัณฑ์ในการแก้ไขพัฒนา พฤตินิสัยให้กับผู้ต้องขังอย่างมีประสิทธิภาพนับเป็น ภารกิจที่สำาคัญอย่างยิ่งของกรมราชทัณฑ์ กรม ราชทัณฑ์ได้นำากระบวนการศึกษามาเป็นหลักในการ
  • 11. ห น้ า | 11 แก้ไขพัฒนาผู้ต้องขัง โดยได้มีการพัฒนาการมาตั้งแต่ อดีตจนถึงปัจจุบันแบ่งตามห้วงเวลา ดังนี้ พัฒนาการ รูปแบบการ เรียนการสอน วัตถุประสงค์ ช่วงที่ ๑ ระหว่าง พ.ศ.๒๔๓๔ – พ.ศ.๒๔๗๕ วิชาภาษาไทย และคิดเลข เพื่อให้อ่านออก เขียนได้ คิดเลข เป็น ไม่เน้นการ ศึกษา เน้นการ ลงโทษให้เข็ด หลาบ และเกิด การสำานึกผิดใน สิ่งที่ได้กระทำา ช่วงที่ ๒ ระหว่าง พ.ศ.๒๔๗๖ – พ.ศ.๒๕๑๓ สายสามัญ, วิชาชีพ, การ อบรมจริยธรรม, ศีลธรรมและ พลศึกษา เพื่อให้อ่านออก เขียนได้ มีความรู้ เกี่ยวกับเมืองไทย มีทักษะในวิชา ช่าง เพื่อให้นำา ความรู้ที่ได้รับไป ระกอบเป็นอาชีพ มีจริยธรรม/รู้จัก สุขอนามัยเฉพาะ ตน ช่วงที่ ๓ ระหว่าง พ.ศ.๒๕๑๔ – พ.ศ.๒๕๒๗ หลักสูตร กศน. ,วิชาชีพ , อุดมศึกษา และ จริยธรรม มุ่งให้ผู้ต้องขัง ขยายผลการ ศึกษาสู่ระดับ มัธยมศึกษาตอน ปลาย/สาย วิชาชีพ และระดับ อุดมศึกษา และ เน้นด้านการ พัฒนาจิตใจโดย
  • 12. ห น้ า | 12 ใช้หลักศาสนา ต่างๆ ช่วงที่ ๔ ระหว่าง พ.ศ.๒๕๒๘ – พ.ศ.๒๕๔๐ หลักสูตร กศน. (สาย สามัญ) ,วิชาชีพ และหลักสูตรการ เรียนของหน่วย งานภาครัฐอื่นๆ และเอกชน เน้นให้ผู้ต้องขัง ทุกคนต้องได้รับ การศึกษาขั้นตำ่า ในระดับประถม ศึกษา และ สนับสนุนให้มี หลักสูตรที่หลาก หลาย เป็นการ เปิดโอกาสให้ หน่วยงาน ภายนอกทั้งภาค รัฐและเอกชน เข้า มามีส่วนร่วมใน การจัดการศึกษา ให้กับผู้ต้องขัง ช่วงที่ ๕ ระหว่าง พ.ศ.๒๕๔๒ – ปัจจุบัน หลักสูตร กศน. (สาย สามัญ) ,วิชาชีพ (ปวช./ปวส./ ระยะสั้น), อุดมศึกษา (ปริญญาตรี/ ปริญญา โท) ,กิจกรรม ตามอัธยาศัย จัดการศึกษาผู้ ต้องขังตาม พระ ราชบัญญัติการ ศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๒ และ พระราชบัญญัติ การศึกษานอก ระบบและการ ศึกษาตาม อัธยาศัย พ.ศ. ๒๕๕๑ จัดให้เป็น ไปตามมาตรฐาน เดียวกับการศึกษา ภายนอก และส่ง เสริมการเรียนรู้ ด้วยกิจกรรมตาม
  • 13. ห น้ า | 13 อัธยาศัยที่หลาก หลาย จากแนวทางการดำาเนินงานการจัดการศึกษาผู้ต้อง ขังที่ผ่านมาพบว่าประสบปัญหาและอุปสรรคหลายด้าน เช่น ด้านสถานที่จัดการเรียนการสอนไม่เพียงพอต่อ จำานวนผู้เรียน ไม่มีอาคารเรียนเฉพาะ การจัดสภาพ แวดล้อมภายในเรือนจำาไม่เอื้อต่อการเรียนรู้ ด้านงบ ประมาณ กรมราชทัณฑ์ไม่ใช่สถานบันการศึกษา จึงไม่ สามารถจัดทำางบประมาณสำาหรับบริหารการศึกษา โดยตรงได้ ต้องอาศัยงบประมาณจากหน่วยงานที่เป็น ภาคีเครือข่ายที่เข้ามาร่วมดำาเนินการ ทำาให้การจัดสรร งบประมาณด้านการศึกษาให้กับผู้ต้องขังไม่ทั่วถึง ด้าน การใช้แรงงานผู้ต้องขัง ทำาให้ผู้ต้องขังต้องแบ่งเวลา เพื่อไปทำางาน หากเมื่อมองย้อนกลับไปถึงพัฒนาการที่ได้นำามา ข้างต้นพบว่า กรมราชทัณฑ์ได้เน้นที่จะแก้ไขและ พัฒนาพฤตินิสัยของผู้ต้องขังเพื่อให้กลับตนเป็น พลเมืองดี ไม่หวนไปกระทำาความผิดซำ้า ในแต่ละช่วง พัฒนาการสิ่งที่ขาดไม่ได้ในการแก้ไขคือการเน้นการ ฝึกฝนทางวิชาชีพ โดยมีเป้าหมายให้ผู้ต้องขังแต่ละ คนใช้เวลาในขณะที่ถูกจองจำาให้เกิดประโยชน์สูงสุด แล้วนำาความรู้เหล่านั้นกลับออกไปใช้ประโยชน์ในการ หาเลี้ยงชีพเมื่อพ้นโทษออกไป ในขณะที่กรมราชทัณฑ์ได้พยายามหาแนวทางใน การแก้ไขและพัฒนาพฤตินิสัยให้กับผู้ต้องขังนั้น แต่ สถิติการกระทำาผิดซำ้าของผู้ต้องขังก็ยังไม่ได้ลดลงแต่ อย่างใด แต่เมื่อกรมราชทัณฑ์ได้มีการศึกษาพบว่า สาเหตุของการกระทำาความผิดซำ้าของผู้ต้องขังนั้นมีมูล เหตุมาจากหลายปัจจัย การฝึกฝนวิชาชีพเพื่อให้มี อาชีพติดตัวก็เป็นปัจจัยที่เป็นสาเหตุหนึ่งซึ่งนักวิจัย ต้องการที่จะศึกษาว่าสิ่งที่เรือนจำาจังหวัดแพร่พยายาม
  • 14. ห น้ า | 14 นำามาช่วยแก้ไขนั้นเดินมาถูกทางแล้วหรือไม่ และเกี่ยว กับการฝึกวิชาชีพได้สร้างความสนใจอยากจะฝึกฝน เพื่อนำาไปใช้หาเลี้ยงชีพจริงหรือไม่ เป็นสิ่งที่น่าศึกษา สถิตินักโทษเด็ดขาดของกรมราชทัณฑ์แยก ตามจำานวนครั้งที่ต้องโทษ 1. ข้อมูล ณ วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๐ จำานวนครั้งที่ต้อง โทษ ชาย หญิง รวม ร้อย ละ ต้องโทษครั้งที่ ๑ ๙๐,๖ ๘๑ ๑๕,๘๔ ๖ ๑๐๖,๕ ๒๗ ๘๖. ๐๑ ต้องโทษครั้งที่ ๒ ๙,๗๘ ๐ ๑,๗๗ ๓ ๑๑,๕๕ ๓ ๙.๓ ๓ ต้องโทษครั้งที่ ๓ ๓,๑๕ ๕ ๒๔๓ ๓,๓๙ ๘ ๒.๗ ๔ ต้องโทษครั้งที่ ๔ ๑,๔๔ ๒ ๘๑ ๑,๕๒ ๓ ๑.๒ ๓ ต้องโทษครั้งที่ ๕ ๘๓๐ ๒๙ ๘๕๙ ๐.๖ ๙ รวมต้องโทษครั้งที่ ๒ – ๕ ขึ้นไป ๑๕,๒ ๐๗ ๒,๑๒๖ ๑๗,๓ ๓๓ ๑๓. ๙๙ รวม ๑๐๕, ๘๘๘ ๑๗,๙ ๗๒ ๑๒๓, ๘๖๐ ๑๐๐ ที่มา : รายงานการดำาเนินงานของรัฐต่อสาธารณะ รายปี ประจำาปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๐ 2. ข้อมูล ณ วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๒ จำานวนครั้งที่ต้อง ชาย หญิง รวม ร้อย
  • 15. ห น้ า | 15 โทษ ละ ต้องโทษครั้งที่ ๑ ๑๑๒, ๘๑๖ ๑๙,๓ ๐๙ ๑๓๑,๑ ๒๕ ๘๕. ๖๒ ต้องโทษครั้งที่ ๒ ๑๔,๕ ๖๔ ๑,๙๕ ๐ ๑๖,๕๔ ๑ ๑๐. ๗๘ ต้องโทษครั้งที่ ๓ ๓,๑๖ ๔ ๑๖๒ ๓,๓๒ ๖ ๒.๑ ๗ ต้องโทษครั้งที่ ๔ ๑,๓๒ ๘ ๕๘ ๑,๓๘๖ ๐.๙ ๐ ต้องโทษครั้งที่ ๕ ๗๗๐ ๓๔ ๘๐๔ ๐.๕ ๒ รวมต้องโทษครั้งที่ ๒ – ๕ ขึ้นไป ๑๙,๘ ๒๖ ๒,๒๐๔ ๒๒,๐๓ ๐ ๑๔. ๓๘ รวม ๑๓๑,๖ ๔๒ ๒๑,๕๑ ๓ ๑๕๓,๑ ๕๕ ๑๐๐ ที่มา : รายงานการดำาเนินงานของรัฐต่อสาธารณะ รายปี ประจำาปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๒ 3. ข้อมูล ณ วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๓ จำานวนครั้งที่ต้อง โทษ ชาย หญิง รวม ร้อย ละ ต้องโทษครั้งที่ ๑ ๑๑๐,๑ ๓๗ ๑๙,๙ ๖๓ ๑๓๐,๑ ๐๐ ๘๖. ๔๑ ต้องโทษครั้งที่ ๒ ๑๓,๙ ๕๒ ๑,๗๗ ๔ ๑๕,๗ ๒๖ ๑๐.๔ ๔ ต้องโทษครั้งที่ ๓ ๒,๘๔ ๑ ๑๕๓ ๒,๙๙ ๔ ๑.๙ ๙ ต้องโทษครั้งที่ ๔ ๙๒๘ ๕๙ ๙๘๗ ๐.๖๖
  • 16. ห น้ า | 16 ต้องโทษครั้งที่ ๕ ๗๐๘ ๔๒ ๗๕๐ ๐.๕๐ รวมต้องโทษครั้งที่ ๒ – ๕ ขึ้นไป ๑๘,๔ ๒๙ ๒,๐๒ ๘ ๒๐,๔๕ ๗ ๑๓. ๕๙ รวม ๑๒๘,๕ ๖๖ ๒๑,๙ ๙๑ ๑๕๐,๕ ๕๗ ๑๐๐ ที่มา : รายงานการดำาเนินงานของรัฐต่อสาธารณะ รายปี ประจำาปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๓ เรือนจำาจังหวัดแพร่ เป็นเรือนจำาที่อยู่ในระบบ การบริหารราชการส่วนภูมิภาค อยู่ภายใต้อำานาจศาล จังหวัดแพร่ มีอำานาจการควบคุมผู้ต้องขังที่เป็นนักโทษ เด็ดขาดที่มีกำาหนดโทษจำาคุกต่อไปไม่เกิน ๑๕ ปี และผู้ ต้องขังที่อยู่ระหว่างดำาเนินคดี และคนฝาก สำาหรับสภาพโดยทั่วไป เรือนจำาจังหวัดแพร่มี เนื้อที่ภายในเรือนจำา ๖ ไร่ ๒ งาน ๖๙ ตารางวา ภายในมีอาคารที่เป็นเรือนนอน โรงเลี้ยงสูทกรรม และ โรงงานฝึกวิชาชีพ ณ ปัจจุบันเรือนจำาจังหวัดแพร่มีผู้ ต้องขัง ๑,๐๙๐ คน เป็นผู้ต้องขังชาย ๙๓๐ คน ผู้ต้อง ขังหญิง ๑๖๐ คน (ข้อมูล ณ วันที่ ๒๐ ธันวาคม ๒๕๕๔) และมีสถิติกระทำาผิดซำ้าร้อยละ ๘ เพิ่มขึ้นจาก ปี ๒๕๕๓ จำานวน ๑๐ คน และเพิ่มขึ้นจากปี ๒๕๕๒ จำานวน ๗ คน ด้านการแก้ไขพฤตินิสัยผู้ต้องขังเพื่อพัฒนา แบ่งเป็น ๓ แนวทาง ดังนี้ 1. สายสามัญ เปิดให้ผู้ต้องขังได้เรียนตั้งแต่ ระดับผู้ไม่รู้หนังสือ ระดับประถมศึกษา ระดับ มัธยมศึกษา ไปจนถึงระดับอุดมศึกษา โดยบูรณ าการความร่วมมือร่วมกับศูนย์การศึกษาตาม อัธยาศัยจังหวัดแพร่ และยังมีการเรียนระดับชั้น
  • 17. ห น้ า | 17 ปวช. ปวส. ที่บูรณาการร่วมกับวิทยาลัย เกษตรกรรมแพร่ 2. สายธรรมศึกษา เปิดให้ผู้ต้องขังได้เรียน ตั้งแต่นักธรรมตรี นักธรรมโท และนักธรรมเอก ซึ่งบูรณาการร่วมกับมหาวิทยาลัยมหา จุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย 3. สายอาชีพ เน้นการฝึกฝนวิชาชีพเพื่อนำาไป ประกอบอาชีพภายหลังพ้นโทษออกไป ประกอบ ด้วย ช่างไม้ช่างเฟอร์นิเจอร์ ช่างขัดทาสี ซึ่งถือ เป็นอาชีพหลัก เนื่องจากจังหวัดแพร่โดยหลัก แล้วจะมีความถนัดและความสนใจอาชีพการทำา ไม้ ทำาเฟอร์นิเจอร์อยู่แล้ว นอกจากนี้ยังบูรณา การร่วมกับศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดแพร่ ฝึกฝนอาชีพระยะสั้นให้โดยใช้เวลาศึกษา ประมาณ ๓๐ – ๕๐ ชั่วโมง จบแล้วมีใบ ประกาศนียบัตรรับรองให้เพื่อนำาไปสมัครงานได้ และจากแนวทางการแก้ไขพัฒนาพฤตินิสัยผู้ต้อง ขัง เรือนจำาจังหวัดแพร่จะให้ความสำาคัญกับทั้งสาม แนวทาง แต่แนวทางที่คิดว่าจะเป็นปัจจัยสำาคัญต่อการ ลดอัตราการกระทำาผิดซำ้าได้คือ แนวทางสายอาชีพ เพราะเชื่อว่าหากพ้นโทษออกไปแล้วสามารถที่จะหา งานทำาได้ มีรายได้เลี้ยงชีพตนเองและครอบครัว ก็จะ ช่วยลดปัจจัยที่จะทำาให้มีความเสี่ยงต่อการกระทำาความ ผิดซำ้าได้อีก แต่อย่างไรก็ตามด้วยเหตุที่อัตราการกระ ทำาความผิดซำ้าทั้งในส่วนที่เป็นภาพรวม และของเรือน จำาจังหวัดแพร่ ยังไม่ลดลงทั้งๆ ที่นักโทษเด็ดขาดที่ถูก ส่งเข้าไปอยู่ในเรือนจำาก็ได้เข้ารับการฝึกวิชาชีพ จึง ทำาให้เกิดความสงสัยว่าแนวทางที่กรมราชทัณฑ์ และ เรือนจำาจังหวัดแพร่เน้นให้มีการฝึกนั้น ตรงกับความ
  • 18. ห น้ า | 18 ต้องการของผู้ที่เข้ารับการฝึกหรือไม่ และอาชีพเหล่า นั้นเป็นที่ต้องการของตลาดแรงงานหรือไม่ หรือเป็น เพราะเหตุปัจจัยอื่นที่ส่งผลให้อัตราการกระทำาความผิด ซำ้ายังไม่ลดลง ด้วยเหตุนี้นักวิจัยจึงมีความสนใจที่จะทำา วิจัยเรื่องนี้ โดยผลการวิจัยที่ได้จะเป็นประโยชน์และ แนวทางในการพัฒนาหน่วยงานหรือองค์การของรัฐต่อ ไป ๓. คำาถามของการวิจัย ประเด็นคำาถามที่ ๑ การฝึกวิชาชีพของเรือนจำา จังหวัดแพร่สามารถแก้ไขปัญหาการกระทำาผิดซำ้าได้จริง หรือไม่ ประเด็นคำาถามที่ ๒ การฝึกวิชาชีพช่างไม้ ช่างสี เฟอร์นิเจอร์ ช่างปูน ช่างซ่อมเครื่องยนต์เล็ก เป็นสาขาที่ ตลาดแรงงานในจังหวัดแพร่มีความต้องการ แต่ทำาไมสถิติ การกระทำาผิดซำ้าจึงไม่ลดลง ประเด็นคำาถามที่ ๓ การฝึกวิชาชีพที่เรือนจำา จังหวัดแพร่จัดให้ผู้ต้องขังเข้ารับการฝึก เป็นที่สนใจของผู้ ต้องขังอย่างแท้จริงหรือไม่ หรือเป็นเพียงความต้องการ ของหน่วยงานภาครัฐ และมีความสัมพันธ์กันในทิศทางใด กับอัตราการกระทำาผิดซำ้า ๔. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาศักยภาพในการแก้ไขปัญหาการกระ ทำาความผิดซำ้าของผู้ต้องขังโดยผ่าน กระบวนการฝึกฝนวิชาชีพ
  • 19. ห น้ า | 19 2. เพื่อศึกษาปัจจัยที่เป็นสาเหตุที่แท้จริงของการก ระทำาความผิดซำ้าว่าเกิดจากตัวตนของผู้ต้องขัง หรือเกิดจากนโยบายของภาครัฐ 3. เพื่อศึกษาผลลัพธ์และความสัมพันธ์ที่เกิดจาก การฝึกวิชาชีพของเรือนจำาจังหวัดแพร่ต่ออัตรา การเพิ่มขึ้นของผู้ต้องขังที่กระทำาความผิดซำ้า ๕. สมมติฐานการวิจัย 1. เรือนจำาจังหวัดแพร่มีศักยภาพเพียงพอในการ แก้ไขปัญหาการกระทำาความผิดซำ้าของผู้ต้องขัง โดยผ่านกระบวนการฝึกฝนวิชาชีพ 2. ปัจจัยที่เป็นสาเหตุของการกระทำาความผิดซำ้า ของผู้ต้องขังที่สำาคัญเกิดจากปัจจัยพื้นฐานของผู้ ต้องขัง เช่น อายุ ฐานะทางครอบครัว ความ สัมพันธ์ในครอบครัว สภาพแวดล้อมทางสังคม และการคบเพื่อน 3. ผลลัพธ์ของการฝึกวิชาชีพมีความสัมพันธ์กันใน ทิศทางตรงกันข้ามกับอัตราการกระทำาความผิด ซำ้า ๖. ขอบเขตของการวิจัย การวิจัยครั้งนี้จะศึกษาในเรื่องการฝึกวิชาชีพกับ การแก้ไขพฤตินิสัยผู้ต้องขังเพื่อลดอัตราการกระทำาผิด ซำ้า ผู้วิจัยได้กำาหนดขอบเขตของการศึกษาดังต่อไปนี้ 1. ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง คือ นักโทษเด็ด ขาดชาย ที่ต้องโทษครั้งที่ ๒ ขึ้นไปและได้ รับการจำาแนกให้เข้ารับการฝึกวิชาชีพ 2. ระหว่างวันที่ 1 กุมภาพันธ์ ถึง วันที่ 31 มีนาคม ๒๕๕๔ มีระยะเวลา ๒ เดือน
  • 20. ห น้ า | 20 3. ตัวแปรที่ศึกษา คือ ตัวแปรพื้นฐาน ๒.๑ ตัวแปรต้น ได้แก่ ข้อมูลส่วนตัวผู้ต้อง ขังที่เข้ารับการฝึกวิชาชีพ คือ อายุ ฐานะ ทางครอบครัว ความสัมพันธ์ในครอบครัว สภาพแวดล้อมทางสังคม การคบเพื่อน และระยะเวลาในการฝึกวิชาชีพ ๒.๒ ตัวแปรตาม ได้แก่ อัตราการกระ ทำาความผิดซำ้า
  • 21. ห น้ า | 21 กรอบแนวคิดของการวิจัย ปัจจัยส่งผลอัตราการกระทำาผิดซำ้า ตัวแปรต้น ข้อมูลส่วนตัวผู้ต้องขัง - อายุ - สถานภาพ - ระดับการศึกษา - อาชีพก่อนต้อง โทษ - รายได้(สถานะทาง ครอบครัว) - ความสัมพันธ์ใน ครอบครัว ตัวแปรตาม อัตราการกระทำา ผิดซำ้า - เพิ่มขึ้น - เท่าเดิม - ลดลง การฝึกวิชาชีพ - ประเภทวิชาชีพที่
  • 22. ห น้ า | 22 ฝึก - ระยะเวลาที่ฝึก - ความสนใจต่อ วิชาชีพที่ฝึก ๗. นิยามศัพท์เฉพาะ เรือนจำา หมายความว่า ที่ซึ่งใช้ควบคุม กักขังผู้ต้อง ขัง กับทั้งสิ่งที่ใช้ต่อเนื่องกัน และ ให้หมายความรวมตลอด ถึงที่อื่นใดที่รัฐมนตรีได้กำาหนด และ ประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา วางอาณาเขตไว้โดยชัดเจน เรือนจำาจังหวัดแพร่ หมายถึง สถานที่ควบคุมตัวผู้ ต้องขัง ซึ่งอยู่ภายใต้อำานาจศาลจังหวัดแพร่ มีอำานาจการ ควบคุมนักโทษเด็ดขาดที่มีกำาหนดโทษจำาคุกไม่เกิน ๑๕ ปี และ ผู้ต้องขังระหว่างพิจารณาคดี ตั้งอยู่เลขที่ ๒๐ ถนนไชยบูรณ์ ตำาบลในเวียง อำาเภอเมืองแพร่ จังหวัดแพร่ เจ้าหน้าที่ หมายถึง เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานอยู่ใน เรือนจำาจังหวัดแพร่ ผู้ต้องขัง หมายถึง นักโทษเด็ดขาด คนต้องขัง และ คนฝาก การฝึกวิชาชีพ หมายถึง การนำาผู้ต้องขังเข้ารับ การฝึกฝนวิชาชีพในเรือนจำาตามมติของคณะกรรมการจำาแนก ลักษณะผู้ต้องขัง
  • 23. ห น้ า | 23 การกระทำาผิดซำ้า หมายถึง นักโทษเด็ดขาดที่ได้ รับการปล่อยตัวออกไปจากเรือนจำาจังหวัดแพร่แล้วกลับมาต้อง โทษซำ้าภายใน ๕ ปี ๘. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ๑. เพื่อนำาข้อมูลจากการวิจัยมาพัฒนาปรับวิธีและรูป แบบการฝึกวิชาชีพผู้ต้องขังเพื่อลดอัตราการกระทำาความผิดซำ้า ๒. ทำาให้ทราบทิศทางของการแก้ไขพัฒนาพฤตินิสัย ผู้ต้องขังและสามารถดำาเนินการให้เป็นไปในแนวทางที่ถูกต้อง ๓. เพื่อใช้เป็นแนวทางในการกำาหนดนโยบายเพื่อ การแก้ไขทั้งในภาพรวมของกรมราชทัณฑ์ และของเรือนจำา จังหวัดแพร่ ตลอดจนเผยแพร่เป็นเอกสารทางวิชาการแก่บุคคล ผู้สนใจ ๙. ทบทวนวรรณกรรม การปฏิบัติต่อผู้กระทำาผิดในเรือนจำาด้วยวิธีควบคุม เพื่อลงโทษและควบคุมมิให้หลบหนี รวมทั้งการแก้ไขพัฒนา พฤตินิสัยของผู้ต้องขังให้เป็นบุคคลที่สามารถออกไปใช้ชีวิต ร่วมกับสังคมภายนอกได้อย่างปกติสุขนั้นมีความสำาคัญเท่าๆ กัน หากแต่ทั้งสองภารกิจมีความแตกต่างกันในบริบทของตัวเอง การควบคุมมิให้หลบหนีเป็นงานหลัก แต่การแก้ไขก็ต้องเป็น งานหลักควบคู่กันไป ด้วยเหตุผลที่ว่าแม้จะควบคุมอย่างเดียวแต่ ไม่แก้ไข ปัญหาก็จะไม่มีวันจบสิ้น เปรียบเสมือนการโยนลูกบอล ใสผนัง เมื่อกระทบผนังแล้วก็จะสะท้อนกลับมาฉันใด ก็ฉันนั้น เมื่อปล่อยตัวผู้ต้องขังออกไป ผู้ต้องขังไม่ได้รับการแก้ไขพัฒนา ออกไปไม่มีงานทำา กลายเป็นภาระของสังคม ไม่นานก็ต้องหวน กลับมากระทำาความผิดซำ้าอีก เป็นวัฎจักรที่ไม่จบสิ้น ทฤษฎีการลงโทษและวัตถุประสงค์การลงโทษ ทฤษฎีการลงโทษมี ๔ ทฤษฎีใหญ่ด้วยกันคือ ทฤษฎี การลงโทษเพื่อ แก้แค้นทดแทน ทฤษฎีการลงโทษแบบ
  • 24. ห น้ า | 24 อรรถประโยชน์ ทฤษฎีการลงโทษเพื่อแก้ไข ฟื้นฟูผู้กระทำาผิด (Rehabilitative Theory) และทฤษฎีการลงโทษเพื่อคุ้มครอง สังคม (Social Protection Theory ๑. ทฤษฎีการลงโทษเพื่อแก้แค้นทดแทน เป็นปฏิกิริยาของสังคมที่มีต่อพฤติกรรมที่ขัดต่อ กฎหมายในลักษณะแก้แค้นทดแทนเกิดขึ้นในสภาวะธรรมชาติ ของคนในความสัมพันธ์กับโลกภายนอกและมีมาตั้งแต่ โบราณกาล ปฏิกิริยาของสังคมต่ออาชญากรรมที่เป็นการ แก้ แค้นทดแทนที่เป็นการกระทำาต่อผู้ประทุษร้ายโดยสมาชิกหรือ โดยกลุ่มหรือโดยรัฐ โดยสรุปนักทฤษฎีการลงโทษเพื่อแก้แค้นทดแทนนี้ไม่ ได้สนใจต่ออนาคตของผู้ถูกลงโทษหรือของสังคม สนใจแต่ เพียงอย่างเดียวต่อพฤติกรรมหรือการกระทำาในอดีตของผู้ กระทำาความผิด เมื่อมีการกระทำาความผิดเกิดขึ้นไม่ว่าร้ายแรง มากน้อยประการใด ผู้กระทำาความผิดสมควรได้รับโทษตามนั้น ในปัจจุบันนี้การลงโทษตามทฤษฎีนี้ มีแนวโน้มจะนำากลับมาใช้ ในประเทศสหรัฐอเมริกาอีก เพราะเหตุว่าการลงโทษเพื่อ วัตถุประสงค์ประการอื่น เช่น เพื่อแก้ไขฟื้นฟูไม่ได้ผลในการ แก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำาความผิดเท่าที่ควร ๒. ทฤษฎีการลงโทษแบบอรรถประโยชน์ นักอาชญาวิทยาสำานักคลาสสิก ซึ่งมีซีซาร์ เบ็คคาเรีย (Cesare Beccaria) (ค.ศ. ๑๗๑๘ – ๑๗๙๔) และเจเรมี แบน แธม (Jeremy Bentham) (ค.ศ. ๑๗๔๘ – ๑๘๓๒) เป็นผู้นำา เสนอทฤษฎีการลงโทษแบบอรรถประโยชน์โดย มีหลักการเบื้อง ต้นว่า คนเรากระทำาความผิดโดยเจตนา และก่อนจะลงมือ
  • 25. ห น้ า | 25 กระทำาก็ได้พิจารณาใคร่ครวญแล้วจึงลงมือกระทำา เพราะฉะนั้น รัฐจึงควรบัญญัติความผิดและโทษสำาหรับความผิดนั้นอย่าง ชัดเจน เมื่อมีกฎหมายบัญญัติชัดแจ้งอย่างนั้นแล้ว ผู้ที่ฝ่าฝืน ย่อมจะถูกลงโทษตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ ทั้งนี้การลงโทษจะ ต้องทำาอย่างรวดเร็ว แน่นอน เสมอภาคกันและรุนแรงตามโทษที่ กำาหนดไว้ การลงโทษดังกล่าวย่อมจะมีประโยชน์ต่อสังคมใน ด้านการลดอาชญากรรมและส่งเสริมให้คนทั่วไปเคารพ กฎหมาย ๓. ทฤษฎีการลงโทษเพื่อแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำา ความผิด นักอาชญาวิทยาสำานักโพซิตีฟ ซึ่งมีซีซาร์ ลอมโบโซ (Cesare Lombroso) (ค.ศ. ๑๘๓๕ – ๑๙๐๙) เป็นผู้นำา เห็นว่า อาชญากรรมเป็นปรากฏการณ์อย่างหนึ่งในสังคม เช่นเดียวกับ ปรากฏการณ์ธรรมชาติ เช่น ฟ้าร้อง ฟ้าผ่า พายุพัด เป็นต้น โดยผู้ประกอบอาชญากรรมหาได้มีเจตนาที่จะกระทำาผิด กฎหมายไม่ เพราะฉะนั้นเมื่อผู้ประกอบอาชญากรรมไม่ได้มี เจตนาประกอบอาชญากรรม การลงโทษผู้ประกอบ อาชญากรรมตามโทษที่กฎหมายกำาหนดไว้ จึงน่าจะเป็นการไม่ ถูกต้อง นักอาชญาวิทยาสำานักนี้เน้นการศึกษาที่ตัวผู้กระทำา ความผิดเพื่อจะค้นหาสาเหตุโดยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ว่า เพราะเหตุใดจึงกระทำาผิดกฎหมาย ๔. ทฤษฎีการลงโทษเพื่อคุ้มครองสังคม นักอาชญาวิทยาสำานักป้องกันสังคม (Social Defence School) ซึ่งมีฟิลิปโป กรามาติกา (Philipo Gramatica) และมาร์ค แอนเชล (Mark Ancel) เป็นผู้นำา มี
  • 26. ห น้ า | 26 ทัศนะเกี่ยวกับอาชญากรรมเช่นเดียวกับนักอาชญาวิทยาสำานัก โพซิตีฟ แต่มีทัศนะในการปฏิบัติต่อผู้กระทำาผิดต่างจากสำานัก โพซิตีฟตรงที่นำากฎหมายอาญาเข้ามาเป็นเครื่องมือในการ ปฏิบัติต่อผู้กระทำาความผิด และแตกต่างไปจากนักอาชญาวิทยา สำานักคลาสสิกในแง่ที่ว่าเน้นการคุ้มครองสังคมโดยการแก้ไข ปรับปรุงและ อบรมบ่มนิสัยผู้กระทำาความผิดมากกว่าการลงโทษ ทฤษฎีคุ้มครองสังคมนี้มีมานานแล้ว และแนวความคิดนี้ได้ พัฒนาเรื่อยมาจนเป็นสำานักป้องกันสังคม ในปัจจุบันนักอาชญา วิทยาสำานักนี้ให้ความสนใจใน วัตถุประสงค์การลงโทษ วัตถุประสงค์ในการลงโทษอาจกล่าวได้เป็น ๔ กลุ่ม คือ เพื่อเป็นการ แก้แค้นการกระทำาความผิด เพื่อเป็นการยับยั้ง หรือป้องกัน เพื่อเป็นการคุ้มครองสังคม และเพื่อปรับปรุงและ แก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำาความผิด กลุ่มที่ ๑ การลงโทษเพื่อแก้แค้นทดแทนหรือ ชดเชยความผิด แยกออกเป็น ๑. การลงโทษเพื่อเป็นการแก้แค้น(Punishment as a Retribution, retaliation or revenge) นับว่าเป็นวัตถุประสงค์ที่ ใช้ลงโทษผู้กระทำาความผิดที่มีมาแต่สมัยโบราณและแพร่หลาย ที่สุด แม้กระทั่งในปัจจุบันระบบการลงโทษแบบตาต่อตา ฟันต่อ ฟัน ก็เป็นตัวอย่างหนึ่งของการลงโทษเพื่อเป็นการแก้แค้น ซึ่ง กล่าวได้อีกอย่างหนึ่งว่าผู้กระทำาความผิดสมควรจะได้รับการ
  • 27. ห น้ า | 27 โต้ตอบด้วยการลงโทษอย่างสาสมกับความผิดที่ได้กระทำาขึ้น เช่น ผู้ที่ฆ่าผู้อื่นตายโดยเจตนาก็สมควรจะได้รับโทษให้ ตายตก ไปตามกัน ทั้งนี้ เพื่อเน้นให้เห็นผลกรรมที่ได้กระทำาไว้ต่อผู้อื่น 4. การลงโทษเพื่อเป็นการทดแทนหรือชดเชย ความผิด (Punishment as a Expiation or Atonement) การลงโทษเพื่อเป็นการ ทดแทนหรือชดเชยความผิด ก็เป็นเหตุผลที่ เก่าแก่พอ ๆ กับการลงโทษเพื่อเป็นการแก้ แค้นตามวัตถุประสงค์นี้ผู้กระทำาความผิดจะ ต้องชดใช้ความผิดด้วยความทุกข์ทรมาน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ถ้าการลงโทษได้กระทำา ต่อหน้าสาธารณชน วัตถุประสงค์ของการ ลงโทษนี้ก็จะมากยิ่งขึ้น กลุ่มที่ ๒ การลงโทษเพื่อเป็นการยับยั้งหรือ ป้องกัน (Punishment as a Deterence or Restraint or Prevention) การลงโทษเพื่อเป็นการยับยั้งหรือป้องกัน เพิ่งจะมี ขึ้นในศตวรรษที่ ๑๘ ตามแนวความคิดของนักอาชญาวิทยา แห่งสำานักคลาสสิกซึ่งมีซีซาร์ เบ็คคาเรีย(Cesare Beccaria)เป็นผู้นำา เบ็คคาเรียได้กล่าวไว้ว่าเจตนาของการ ลงโทษ ไม่ควรจะเป็นการทรมานผู้กระทำาความผิด หรือชดเชย ความผิด แต่ควรจะป้องกันบุคคลอื่นมิให้กระทำาความผิดเช่น เดียวกันนั้น และการลงโทษที่ยุติธรรมควรจะมีอัตราความ รุนแรงพอเพียงที่จะยับยั้งบุคคลอื่นๆ การลงโทษตาม วัตถุประสงค์นี้ก็เพื่อจะทำาให้ผู้กระทำาความผิดเข็ดหลาบและ เกรงกลัวจนไม่กล้ากระทำาความผิดอีกต่อไป อีกประการหนึ่งก็ เพื่อเป็นการเตือนมิให้คนอื่น ๆ ทำาตามอย่างผู้กระทำาความผิด เพราะจะถูกลงโทษเช่นเดียวกัน กลุ่มที่ ๓ การลงโทษเพื่อเป็นการคุ้มครองสังคม (Punishment as a Protection of Society or an Incapacitation) การลงโทษเพื่อเป็นการป้องกันสังคมเริ่มขึ้น
  • 28. ห น้ า | 28 เมื่อมีการนำาเอาวิธีการลงโทษจำาคุกมาใช้ แต่ก่อนหน้านี้การ ลงโทษเพื่อเป็นการแก้แค้นเพื่อเป็นการทดแทน และเพื่อเป็นการ ยับยั้งมีใช้อยู่เป็นอันมาก เช่น ในการกำาจัดศัตรูทางการเมือง ผู้ มีอำานาจปกครองเนรเทศนักโทษการเมือง หรืออาจกำาจัดด้วยวิธี การประหารชีวิตหรือขังในห้องใต้ดิน กลุ่มที่ ๔ การลงโทษเพื่อเป็นการปรับปรุง หรือ แก้ไขฟื้นฟู (Punishment as a means of Reformation or Rehabilitation) การลงโทษเพื่อเป็นการปรับปรุงผู้กระทำาความ ผิดโดยการใช้โทษจำาคุกมีที่มาจากทฤษฎีการลงโทษของนัก อาชญาวิทยาสำานักคลาสสิกดังกล่าวมาแล้ว เหตุผลก็มีอยู่ว่า การลงโทษมีแนวโน้มที่จะปรับปรุงผู้กระทำาความผิดและอาจจะ ปรับปรุงแก้ไขได้สำาเร็จ โดยการก่อให้เกิดความกลัวว่าจะมีการ ลงโทษซำ้าอีก โดยการก่อให้เกิดความสำานึกว่าอาชญากรรมให้ ประโยชน์ไม่คุ้มกับโทษหรือโดยการทำาลายนิสัยต่างๆ ที่ อาชญากรได้สร้างขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าโทษเป็นการจำาคุก ระยะยาว ผู้กระทำาความผิดก็จะไม่มีโอกาสแสดงนิสัยเหล่านั้น ส่วนการลงโทษเพื่อเป็นการแก้ไขฟื้นฟู มีที่มาจากทฤษฎีการ ปฏิบัติต่อผู้กระทำาความผิดของนักอาชญาวิทยาสำานักโพซิตีฟ ดังกล่าวมาแล้วเช่นกันด้วยวิธีการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำาความผิด เป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มแบบต่างๆ จิตติภรณ์ ฉันทโรจน์ศิริ กองบริการทางการ แพทย์ กรมราชทัณฑ์ ได้ศึกษาแนวทางการสร้างแบบประเมิน ความเสี่ยงในการกระทำาผิดซำ้า พบว่า ผู้ต้องขังที่กระทำาผิดซำ้า อาจจะมีปัจจัยร่วมบางอย่างที่คล้ายคลึงกัน หากสามารถหา ปัจจัยร่วมดังกล่าวได้ ก็อาจคิดหาวิธีป้องกันรวมทั้งการบำาบัดไม่ ให้ผู้ต้องขังหวนกลับไปกระทำาผิดซำ้าอีกหลังจากถูกปล่อยตัวไป แล้วได้ เพราะการจะแก้ปัญหานั้น หากทราบสาเหตุของปัญหา จะทำาให้แก้ไขได้ง่าย จากข้อมูลที่ได้ทำาให้อนุมานได้ว่า ผู้ต้องขังกระทำาผิด ซำ้าส่วนมากเป็นผู้ที่มีระดับการศึกษาไม่สูง มีปัญหาทาง ครอบครัว ไม่ประสบความสำาเร็จในหน้าที่การงาน และรายได้
  • 29. ห น้ า | 29 ไม่พอต่อค่าใช้จ่าย นอกจากนั้นผู้ต้องขังเกือบทั้งหมดมีประวัติ เคยใช้สารเสพติด และส่วนมากเป็นผู้ที่ทำาผิดในคดีเกี่ยวกับ ทรัพย์และยาเสพติด และมากกว่าครึ่งเคยทำาผิดและเข้าสถาน พินิจในขณะที่ยังเป็นเยาวชนอีกด้วย และประเด็นสำาคัญจาก การสัมภาษณ์ผู้ต้องขังส่วนใหญ่คิดว่ากิจกรรมที่ทำาขณะต้อง โทษไม่มีประโยชน์ต่อการดำารงชีพภายหลังปล่อยตัว สมนึก พงษ์เพชร ผู้บัญชาการเรือนจำากลาง ยะลา ได้ศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์กับการกระทำาผิดซำ้าของผู้ต้อง ขังในเรือนจำาจังหวัดนราธิวาส กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ต้องขังใน เรือนจำาจังหวัดนราธิวาส จำานวน ๒๖๕ คน ซึ่งได้จากการสุ่ม ตัวอย่างแบบมีระบบ เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูล ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สถิติที่ใช้ ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนา และการทดสอบไคสแควร์ ผลการศึกษาพบว่า ผู้ต้องขังในเรือน จำาจังหวัดนราธิวาส ร้อยละ ๔๔.๕ เป็นผู้ที่กระทำาผิดซำ้า โดยใน กลุ่ม ผู้กระทำาผิดซำ้านั้น ส่วนมากร้อยละ ๔๙.๑ มีระยะเวลาใน การต้องโทษครั้งหลังสุดนานน้อยกว่า ๓ ปี รองลงมา ร้อยละ ๒๖.๓, ๑๕.๓ และ ๙.๓ นาน ๓ – ๕ ปี ๖ – ๑๐ ปี และ ๑๐ ปีขึ้น ไป ตามลำาดับ โดยเฉลี่ยต้องโทษครั้งหลังสุดนาน ๔.๕ ปี ส่วน มากร้อยละ ๕๕.๑ มีความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด รองลงมา ร้อย ละ ๓๔.๗ และ ๑๐.๒ มีความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ และความผิด เกี่ยวกับชีวิตร่างกาย ตามลำาดับ สาเหตุการต้องโทษจำาคุกครั้ง หลังสุด พบว่า ส่วนมาก ร้อยละ ๔๔.๙ และ ๒๗.๑ เกิดจาก ราย ได้ไม่พอใช้ และการคบเพื่อนไม่ดี ถูกเพื่อนชักชวน ตามลำาดับ ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการกระทำาผิดซำ้าของผู้ต้องขัง พบว่า ปัจจัย ส่วนบุคคล ได้แก่ อายุก่อนต้องโทษ การศึกษา รายได้ ปัจจัย โครงสร้างทางสังคม ได้แก่ ลักษณะเขตที่อยู่อาศัย พฤติกรรมที่ เกี่ยวข้องกับอบายมุข ปัจจัยกระบวนการทางสังคม ได้แก่ ระยะ เวลาต้องโทษในเรือนจำาครั้งแรก และการได้รับความรู้ใน วิชาชีพ มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติกับการกระทำา ผิดซำ้าของผู้ต้องขัง
  • 30. ห น้ า | 30 วิชัย เสนชุ่ม ทำาการศึกษาวิจัยประเด็นการเฝ้า ระวังผู้ต้องขังคดียาเสพติดมิให้กระทำาผิดซำ้า พบว่าปัจจัยที่มีผล ต่อการกระทำาความผิดซำ้าของผู้ต้องขังวัยหนุ่ม-สาวในคดียา เสพติด เป็นปัจจัยที่ซับซ้อนและความเชื่อมโยงกัน โดยมี ประเด็นที่สัมพันธ์กัน ดังนี้ - การกระทำาผิดซำ้ากับอายุเมื่อกระทำาผิดครั้งแรก มี ความสัมพันธ์กัน กล่าวคือ ในกลุ่มผู้กระทำาผิดซำ้า ส่วนใหญ่ เป็นกลุ่มที่กระทำาผิดครั้งแรกเมื่ออายุไม่เกิน ๑๘ ปี ซึ่งสะท้อนให้ เห็นว่ายิ่งอายุในการกระทำาผิดครั้งแรกของผู้ต้องขังที่กระทำาผิด ในขณะมีอายุน้อย ก็มีแนวโน้มที่จะกระทำาผิดซำ้าเมื่อโตขึ้น - การกระทำาผิดซำ้ากับระยะเวลาที่ต้องโทษครั้งแรก มี ความสัมพันธ์กัน กล่าวคือ ในกลุ่มผู้กระทำาผิดซำ้า ส่วนใหญ่จะ ถูกลงโทษครั้งแรกในระยะเวลาไม่นานนัก ทำาให้ผู้ต้องขังบาง คนไม่เกรงกลัวต่อการกระทำาผิดอีก เพราะรู้สึกว่าถ้าถูกจับได้ และต้องเข้ามาอยู่ในทัณฑสถาน เป็นสิ่งที่ไม่น่าเป็นห่วง เนื่องจากมีประสบการณ์แล้ว - การกระทำาผิดซำ้ากับการประกอบอาชีพก่อนต้องโทษ มีความสัมพันธ์กัน กล่าวคือ กลุ่มผู้กระทำาผิดซำ้า ส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพรับจ้าง ซึ่งสะท้อนให้เห็นว่ากลุ่มผู้ต้องขังที่ก่อน ต้องโทษประกอบอาชีพรับจ้าง จะเป็นกลุ่มที่มีแนวโน้มกระทำาผิด ซำ้า - การกระทำาผิดซำ้ามีความเกี่ยวเนื่องอย่างสูงกับความ อ่อนแอภายในจิตใจของผู้ต้องขังกล่าวคือ ผู้ต้องขังส่วนใหญ่ มองว่าสาเหตุสำาคัญในการเข้าไปข้องเกี่ยวกับยาเสพติดอีก คือ การที่จิตใจไม่เข้มแข็ง ไม่สามารถทนกับสิ่งยั่วยุต่างๆ ได้ - การกลับสู่สิ่งแวดล้อมทางสังคมเดิม มีโอกาสสูงที่จะ กลับไปกระทำาผิดซำ้า ซึ่งการกลับสู่สังคมเดิม มีความสัมพันธ์กับ ภาวะที่ผู้ต้องขังรู้สึกว่าสังคมไม่ยอมรับหรือไม่ให้โอกาส ทำาให้ รู้สึกว่าต้องกลับไปหาเพื่อนกลุ่มเดิม เพื่อให้ได้การยอมรับ ทำาให้ กลับเข้าสู่วงจรของยาเสพติดเหมือนเดิม - การให้เหตุผลว่าปัจจัยสำาคัญเป็นเรื่องเกี่ยวกับเงิน และการอยู่รอด เช่น ต้องการเงินมาสู้คดีหรือมองว่าตนเองเคย อยู่ในทัณฑสถาน ไม่สามารถมีตำาแหน่งหน้าที่ในสังคม จึงกลับ