SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
เครื่องมือพื้นฐานในงาน
เครื่องปั้นดินเผา
เครื่องมือมีความจาเป็ นอย่างมากในงานเครื่องปั้นดินเผา เนื่องจากปัจจุบันเทคโนโลยีมีบทบาทต่อการพัฒนา เครื่องมือใน
งานเครื่องปั้นดินเผาจึงมีความจาเป็ นและจะช่วยให้ช่างปั้นทางานได้รวดเร็วขึ้น ผลงานมีความเรียบร้อยสวยงาม เครื่องมือของ
ช่างปั้นอาจทาขึ้นเอาจากวัตถุใกล้ตัว หรือสามารถหาซื้อจากแหล่งจะหน่ายทั่วไปตามท้องตลาด เครื่องมือดังกล่าว
 1.เครื่ องมือพื้นฐาน
 เครื่ องมือพื้นฐานเป็นเครื่ องมือที่ใช้ในงานเครื่ องปั้นดินเผาระดับขั้นเริ่มต้นเป็นเครื่ องมือที่จาเป็นในห้องปฏิบัติการทั่วไปไม่ได้ใช้เทคโนโลยีสูงเป็น
เครื่ องมืออย่างง่ายๆ สามารถประดิษฐ์ขึ้นมาเพื่อใช้เองเพื่อใช้ปฏิบัติงาน เครื่ องมือเหล่านี้ได้แก่ แป้นหมุนมือ โต๊ะปั้น ถังเก็บดิน อ่างล้างมือ
โกร่งบดเคลือบ ชั้นวางผลงาน ตู้เก็บเครื่ องมือ พัดลมดูดอากาศ เตาเผา เป็นต้น
 2.เครื่ องมือในการขึ้นรูป
 เครื่ องมือในการขึ้นรูปเป็นเครื่ องมือที่ใช้และช่วยในกระบวนการขึ้นรูปให้มีความง่ายและรวดเร็วในการผลิตและเป็นไปตามความต้องการ ถูกต้อง
ตามรูปแบบที่ได้ออกแบบไว้เครื่ องมือเหล่านี้ได้แก่
 2.1เครื่ องมือที่ใช้ในการขึ้นรูปด้วยมือ
 เครื่ องมือที่ใช้ในการขึ้นรูปด้วยมือเป็นอุปกรณ์ที่อานวยความสะดวกให้แก่ช่างปั้น ส่วนใหญ่จะเป็นเครื่ องมือที่ต้องใช้ตามความถนัดและ
ประสบการณ์ของผู้ปั้น เครื่ องมือเหล่านี้ได้แก่
 2.1.1 เครื่ องมือขูดผิว
 โดยส่วนมากจะมีด้ามอยู่ที่ตรงกลาง หัวและท้ายของด้ามทาด้วยโลหะที่เป็นเส้นตัดงอให้เป็นรูปต่าง ๆ ตามลักษณะของการใช้งาน จะมีไม่ต่า
กว่า 5 อัน เครื่ องมือขูดผิวดินใช้สาหรับขึ้นรูปด้วยมือบางครั้งถูกเรียกว่าไม้ปั้นสาหรับขูดแต่งผิว
 2.1.2 เครื่ องมือที่ใช้ในการตัดดิน
 โดยส่วนมากแล้วจะมีวัสดุที่เป็นโลหะหรือไม้แล้วนามาตกแต่งให้มีคมโดยให้มีความเหมาะสมกับการใช้งานหรือจะใช้เส้นลวด เส้นด้าย
เครื่ องตัดดินนี้จะใช้ตัดดินได้ตามลักษณะที่ต้องการ หรือใช้ตัดก้นภาชนะออกจากแป้นหมุนไฟฟ้าหรือแป้นหมุนด้วยมือ เครื่ องมือตัดนี้จะใช้หลังจาก
ขึ้นรูปเครื่ องปั้นดินเผา จะเป็นวัสดุที่เป็นโลหะหรือเป็นไม้ใช้สาหรับตัดดิน หรือจะเป็นเส้นด้าย เส้นลวดก็ได้
 2.1.3 เครื่ องมือตกแต่ง
 โดยส่วยมากมักนิยมทาด้วยไม้ตลอดทั้งอัน มีลักษณะคล้าย ๆ กับเครื่ องมือขูดหิน ซึ่งมีตรงกลางเป็นด้ามจับหัวและท้าย เครื่ องมือทาเป็น
รูปร่างต่าง ๆ ให้เหมาะสมแก่การตกแต่งดินปั้น เครื่ องมือนี้ใช้เมื่อหลังจากการขูดด้วยเครื่ องมือขูดได้รูปร่างแล้ว ใช้เครื่ องมือนี้แกะเป็นรูปร่าง
ภายนอกและแต่งให้เกิดความสวยงามของงานนั้น ๆ เครื่ องมือใช้สาหรับจัดแต่งรูปทรง ตกแต่งความสวยงานทาขึ้นจากวัสดุเหลือใช้ ประยุกต์ขึ้นมา
จากวัสดุธรรมชาติ เช่น ไม้ หิน
 ข้อควรระวังและการเก็บรักษาเครื่ องมือ
ในการใช้เครื่ องมือเพื่อช่วยในการผลิตขึ้นรูปแล้วการเก็บรักษาและการใช้เครื่ องมือให้ถูกกับลักษณะของงานก็มีความสาคัญ การเก็บ
รักษาที่ดีและการใช้งานที่ถูกต้องจะช่วยยึดอายุการใช้งานให้ยาวนานขึ้นลดอายุการใช้งาน ดังนั้นข้อควรระวังและการเก็บรักษาเครื่ องมือที่สาคัญมี
ดังต่อไปนี้
 1. เครื่ องมือขูดดิน ในขณะที่ใช้งานไม่ควรออกแรงขูดมากหรือสุดแรงควรออกเบาๆ เพราะโลหะที่ติดอยู่ที่หัวท้ายของด้ามมีความ
อ่อน ถ้าขูดดินแรงหรือดินแห้งเกินไปจะทาให้โลหะคดงอเสียรูปและอาจหักเสียหายได้
 2. เครื่ องมือเมื่อเลิกใช้งานแล้วควรล้างทาความสะอาดทุกครั้งให้เศษดิน ปูนอย่างให้มีติดค้างและควรเช็ดน้าให้แห้ง ควรทาน้ามันทาไว้
เพื่อป้องกันการเป็นสนิมที่โลหะ
 3. เครื่ องมือทุกชนิดควรมีที่เก็บรวมกันเป็นห่อ หรือใส่กล่องรวมกันไว้เป็นหมวดหมู่
 4. อย่าโยนเครื่ องมือหรือเคาะเล่น เพราะจะทาให้ส่วนที่เป็นโลหะเสียรูปร่างและอาจเป็นอันตรายต่อตนเองและผู้อืน่ได้
 5. อย่าใช้เครื่ องมือผิดประเภท เช่นการงัดแงะสิ่งอื่นๆ เพราะจะทาให้ส่วนที่เป็นโลหะคด-งอ และหักเมื่อภายหลัง เสียรูปได้
 2.2 เครื่ องจักรในการขึ้นรูป
 การขึ้นรูปทรงภาชนะเครื่ องปั้นดินเผาที่มีมาแต่ในอดีต เครื่ องจักรเป็นเครื่ องมือในการปั้นภาชนะทรงกลมปรับเปลี่ยนความหนาและรูปทรงตามความต้องของ
ช่างปั้น เครื่ องจักรถูกพัฒนาตามวิถีของวัฒนธรรมของแต่ละชนชาติ ตามหน้าที่อานวยความสะดวกแก่ช่างปั้น การเลือกใช้เครื่ องจักรจะขึ้นอยู่กับลักษณะงานและความถนัด
ของช่างปั้นแล้วงบประมาณก็มีส่วนสาคัญ และเครื่ องมือเครื่ องจักรที่ใช้ในการขึ้นรูปก็มีส่วนทาให้ช่างปั้นสามารถสร้างผลงานได้ตามความต้องการเครื่ องมือเครื่ องจักร
เครื่ องจักรที่สาคัญได้แก่
 2.2.1เครื่ องแป้นหมุน
 เป็นเครื่ องมือในการขึ้นรูปอิสระและเก่าแก่แบบหนึ่ง เป็นเครื่ องขึ้นรูปแบบทรงกลมโดยอาศัยแป้นหมุน เป็นการประดิษฐ์เครื่ องมือขึ้นมาใช้ในการขึ้นรูป ผลิตภัณฑ์
เครื่ องปั้นดินเผาแทนการปั้นด้วยมือ มีทั้งชนิดยืนและนั่ง ความเร็วที่ใช้ 2-3 จังหวะ ความเร็วรอบของแป้นหมุนที่เป็นมาตรฐานประมาณ 80 รอบมีหลายชนิดการเลือกใช้
เครื่ องแป้นหมุนขึ้นอยู่กับความต้องการของช่างปั้น สามารถแบ่งออกเป็น 2 ชนิดได้แก่แป้นหมุนที่ใช้แรงคนหมุนและแป้นหมุนที่ใช้ระบบมอเตอร์ไฟฟ้าเป็นแรงหมุนการขึ้นรูป
ด้วยแป้นหมุนเป็นวิธีแรกที่มนุษย์รู้จัก ใช้ในการขึ้นรูปในระบบกึ่งอุตสาหกรรม เพราะสามารถผลิตได้รวดเร็ว
 2.2.2 เครื่ องขึ้นรูปด้วยใบมีด
 เครื่ องขึ้นรูปด้วยใบมีดหรือเครื่ องจิ๊กเกอร์ (Jiggering) เป็นการดันแปลงการทางานจากการขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน มีหลักการทางานโดยวางดินลงไปบนแบบปูนปลาสเตอร์ที่
ติดอยู่กับแป้นหมุน แล้วกดแม่แบบอีกด้านลงไปบนเนื้อดินด้วยใบมีด จะได้ผลิตภัณฑ์เหมือนแบบปูนปลาสเตอร์ อีกด้านเหมือนแบบที่กดลงไป ความเร็วของแป้นหมุนต้อง
พอเหมาะ ความเร็ว 300-400 rpm. การขึ้นรูปวิธีนี้เหมาะกับงานขึ้นรูปผลิตภัณฑ์ประเภทถ้วยชาม ผู้ปฏิบัติมีทักษะความชานาญสูง
 2.2.3เครื่ องขึ้นรูปด้วยใบมีดแบบอัตโนมัติ
 เป็นเครื่ องจักรที่มีการพัฒนาจากเครื่ องจิ๊กเกอร์ที่ใช้ใบมีดในการขึ้นรูปด้วยถูกเปลี่ยนมาเป็นจานหมุน ทาให้สามารถผลิตและขึ้นรูปผลิตภัณฑ์เครื่ องปั้นดินเผาได้มากกว่า เครื่ อง
อัตโนมัติจะมีความเร็วรอบ 500-1200 rpm.นิยมใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมประเภทถ้วย ชาม จานเพราะสามารถลดต้นทุนมากกว่าการใช้เครื่ องขึ้นรูปด้วยใบมีด
 2.2.4เครื่ องอัดขึ้นรูป
 เป็นเครื่ องขึ้นรูปชนิดหนึ่งที่ใช้งานสะดวกเหมาะสาหรับการผลิตจานวนมากและไม่เปลืองแบบพิมพ์ การทางานโดยวางระบบท่อลมในพิมพ์เมื่อเครื่ องทาการกด
ชิ้นงานลมจะทาหน้าที่เป่าชิ้นงานหลุดจากพิมพ์ใช้พิมพ์เพียง 1 ตัวเท่านั้นในการผลิตชิ้นงานทาให้ประหยัดเนื้อที่ในการเก็บแบบพิมพ์ ส่วนการอัดดินจากพิมพ์ 2 ชิ้นได้แก่
ผลิตภัณฑ์ที่มีลวดลายทั้ง 2 ด้าน เช่นจานเปลที่ลวดลาย พิมพ์พระเครื่ อง
 2.2.5เครื่ องรีดขึ้นรูป
 เป็นเครื่ องจักรที่ขับเคลื่อนด้วยแรงของมอเตอร์ไฟฟ้าที่ทาหน้าที่รีดดินออกมาตามท่อ โดยใช้หัวรีดเป็นตัวกาหนดรูปแบบ สารถทาเป็นสรูปร่างต่างๆกันเช่นรูป
ทรงกระบอก แท่งสี่เหลี่ยม แท่งสามเหลี่ยม หัวรีดดินสามารถปรับแต่งสับเปลี่ยนรูปแบบที่ต้องการได้ เมื่อแท่งดินถูกรีดออกาจะถูกตัดออกเป็นส่วนๆ ตามความยาวที่ต้องการ
วิธีนี้สามารถควบคุมปริมาณความยาวและน้าหนักของดินได้แน่นอน
 จากที่กล่าวมาสรุปได้ว่าเครื่ องมือพื้นฐานเป็นเครื่ องมือที่ใช้ในงานเครื่ องปั้นดินเผาระดับขั้นเริ่มต้นเป็นเครื่ องมือที่จาเป็นในห้องปฏิบัติการทั่วไปไม่ได้ใช้เทคโนโลยีสูง
เป็นเครื่ องมืออย่างง่ายๆ สามารถประดิษฐ์ขึ้นมาเพื่อใช้เองเพื่อใช้ปฏิบัติงาน ส่วนเครื่ องมือที่ใช้ในการขึ้นรูปด้วยมือเป็นอุปกรณ์ที่อานวยความสะดวกให้แก่ช่างปั้น ส่วนใหญ่
จะเป็นเครื่ องมือที่ต้องใช้ตามความถนัดและประสบการณ์ของผู้ปั้น เครื่ องมือเหล่านี้ได้แก่เครื่ องมือขูดผิว เครื่ องมือที่ใช้ในการตัดดิน เครื่ องมือตกแต่ง ส่วนเครื่ องจักรใน
การขึ้นรูป ถูกพัฒนาตามวิถีของวัฒนธรรมของแต่ละชนชาติ ตามหน้าที่อานวยความสะดวกแก่ช่างปั้น การเลือกใช้เครื่ องจักรจะขึ้นอยู่กับลักษณะงานและความถนัดของ
ช่างปั้นแล้วงบประมาณก็มีส่วนสาคัญ เครื่ องมือเครื่ องจักรที่ใช้ในการขึ้นรูปก็มีส่วนทาให้ช่างปั้นสามารถสร้างผลงานได้ตามความต้องการเครื่ องมือเครื่ องจักร เช่น เครื่ อง
จิกเกอร์ แป้นหมุนขึ้นรูป เครื่ องขึ้นรูปด้วยใบมีดแบบอัตโนมัติ เครื่ องอัดขึ้นรูป เครื่ องรีดขึ้นรูป
 การขึ้นรูปผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผา
ในกระบวนการสร้างสรรค์รูปทรงผลิตภัณฑ์เครื่ องปั้นดินเผาจากที่เป็นเพียงแนวคิดสู่งานสองมิติให้เป็นรูปสามมิติที่เป็นรูปธรรมที่สาเร็จที่
เหลือคือการคงรูปถาวร การใช้มือปั้นขึ้นรูปโดยการนาวัตถุดิบมาปั้นตามรูปร่างลักษณะต้องอาศัยความชานาญของช่างปั้น แต่หากผลิตในระบบ
อุตสาหกรรมอาจจะใช้แม่พิมพ์ซึ่งการใช้แม่พิมพ์วิธีนี้จะทาได้รวดเร็วและจะได้รูปทรงที่เป็นมาตรฐาน
 การขึ้นรูปเครื่องปั้นดินเผา
คือ การนาสูตรส่วนผสมของเนื้อดินปั้นมาเปลี่ยนลักษณะทางกายภาพของเนื้อดินปั้นทาให้เกิดเป็นรูปร่างรูปทรงต่างๆตามแนวคิดให้เกิด
เป็นรูปแบบใหม่ตามที่ได้ออกแบบไว้โดยตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคและผู้ผลิต มีจุดมุ่งหมายทั้งเพื่อประโยชน์ใช้สอยและเพื่อความงามทางศิลปะ
 ประเภทของการขึ้นรูป
การขึ้นรูปผลิตภัณฑ์เครื่ องปั้นดินเผามีอยู่ด้วยกันหลายประเภทหลายวิธี มีความแตกต่างกันออกไปทั้งเครื่ องมือและเนื้อวัตถุดิบในการปั้นขึ้นรูป
ด้วยวิธีต่างๆ การปั้นขึ้นรูปเป็นการนาวัตถุดิบมาปั้นเป็นรูปร่างตามลักษณะการออกแบบที่ต้องการ หากเป็นงานหัตถกรรมการปั้นมักทาด้วยมือซึ่งอาศัย
ความชานาญของช่างปั้น แต่หากผลิตในระบบอุตสาหกรรมจะใช้แม่พิมพ์จะได้รูปทรง รูปร่างๆที่เป็นมาตรฐานวิธีนี้จะทาได้รวดเร็วประหยัดต้นทุนในการ
ผลิต การขึ้นรูปผลิตภัณฑ์เครื่ องปั้นดินเผาสามารถแบ่งได้ดังนี้
 1. การขึ้นรูปผลิตภัณฑ์เครื่ องปั้นดินเผาแบ่งลักษณะดิน
 1.1การขึ้นรูปในขณะที่ดินอยู่ในสถานะแห้ง
 เป็นวิธีขึ้นรูปในในขณะที่ดินอยู่ในที่แห้งเป็นผงซึ่งการขึ้นรูปวิธีนี้จะทาให้ลดเปอร์เซ็นต์การหดตัวในการเผา เพราะดินที่อยู่ในสถานะแห้งจะมี่น้าเจือปนอยู่ มีการระเหยของน้าใน
เวลาเผาทาให้ผลิตภัณฑ์มีความคงรูปเดิมหรือควาเสี่ยงต่อการสูญเสียรูปทรงน้อยแต่ก็มีข้อเสีย คือเหมาะกับการผลิตภัณฑ์รูปทรงที่บางเท่านั้น
 1.2 การขึ้นรูปในขณะที่ดินอยู่ในสถานะหมาด
 เป็นวิธีขึ้นรูปในในขณะที่ดินอยู่ในสถานะหมาดคือลักษณะของดินมีความชื้นพอดีจับแล้วไม่ติดมือ เมื่อการนวดแล้วมีเนื้อนุ่มเนียนปั้นเป็นรูปทรงทรงได้ง่าย ซึ่งดินที่อยู่ใน
สถานะหมาดนี้มีผู้นิยมนามาใช้ในการปั้นงานากที่สุด ทั้งในด้านศิลปะ หัตถกรรมและอุตสาหกรรม
 1.3 การขึ้นรูปในขณะที่ดินอยู่ในสถานะเป็นของเหลว
 เป็นวิธีขึ้นรูปในในขณะที่ดินอยู่ในสถานะของเหลว เรียกว่า สลิป เนื่ องจากดินมีลักษณะเหลวข้นนี้ทาให้ไม่สามารถนามาปั้นขึ้นรูปได้ ดังนั้นการขึ้นรูปจึงต้องอาศัยแม่แบบเข้า
ช่วยซึ่งการขึ้นรูปในขณะที่ดินอยู่ในสถานะเหลวนี้เหมาะสาหรับงานที่มีขนาดเล็ก ไม่ใหญ่เกินไป
 2. การขึ้นรูปผลิตภัณฑ์เครื่ องปั้นดินเผาแบ่งตามลักษณะการขึ้นรูป
 2.1 การขึ้นรูปโดยใช้มือบีบให้เป็นรูปทรง
 การขึ้นรูปโดยใช้มือบีบให้เป็นรูปทรงโดยนาดินที่เตรียมไว้แล้วมาปั้นเป็นก้อน กลมโตตามต้องการใช้หัวแม่มือบีบหรือกดให้เป็นรูปทรงตามต้องการพยายามปั้นให้มีความหนา
ใกล้เคียงกันกับขนาดที่ต้องการ หรือจะสร้างสรรค์ลักษณะประติมากรรมก็ได้เช่นกัน เมื่อดินหมาดหรือเริ่มแข็งตัวบ้างแล้ว จึงทาการตกแต่งด้วยเครื่ องมือหรือต่อเติม
ส่วนประกอบอื่นๆ ได้อีกจนเป็นที่น่าพอใจ
 2.2. การขึ้นรูปโดยใช้เครื่ องมือขูดให้กลวง
 การขึ้นรูปโดยใช้เครื่ องมือขูดให้กลวงนาดินที่เตรียมไว้แล้วมาปั้นเป็นก้อนกลมก้อนสี่เหลี่ยม หรือรูปทรงกระบอกตามต้องการ แล้วใช้เครื่ องมือขูดหรือเจาะ ให้เกิดความหนา
บางหรือ รูปทรงจนได้ความงามตามความเหมาะสม ปล่อยให้แห้ง แล้งตกแต่งให้เรียบร้อย ถ้าเป็นภาชนะก็ต้องทาขาหรือก้นให้เรียบร้อย เพราะเมื่อนาไปเผาไปเผาเคลือบจะช่วย
ให้ไม่ติดชั้นวาง
 2.3 การขึ้นรูปแบบแผ่น
 การขึ้นรูปแบบแผ่น การเตรียมดินใช้ดินแบบเดียวกับเนื้อดินที่ใช้ในการปั้นอิสระ โดยนาดินมาทาให้เป็นแผ่นก่อน แล้วจึงนามาประกอบเป็นรูปทรงต่างๆ เหมาะสาหรับงานที่มีจุดประสงค์ให้เป็น
รูปลักษณะเรขาคณิตและรูปทรงที่แปลกๆ ความหนาของดินขึ้นอยู่กับขนาดของงานที่จะทาโดยปรับตามความเหมาะสม ไม่ว่าจะสร้างสรรค์เป็นรูปทรงอะไรก็ตาม หากทรงตัวยังไม่ดีพอ ควรใช้เศษดินค้าพยุง
ไว้ก่อน เมื่อทรงตัวดีแล้ว จึงนาไปผึ่งให้แห้ง
 2.4 การขึ้นรูปแบบขด
 การขึ้นรูปแบบขดเป็นการขึ้นรูปที่นิยมมาแต่โบราณกาลโดยการขึ้นรูปต้องรีดดินให้เป็นเส้นใหเหมาะสมกับขนาดรูปทรง คลึงเป็นเส้นกลมยาวนาขดลงบนแผ่นฐานประสานรอยต่อระหว่างขดดินและ
แผ่นฐานดินด้วยน้าดินข้น ชื้อบีบกดให้ดินเข้ากันให้สนิทเป็นแผ่นเดียวกัน
 2.5 การขึ้นรูปแบบพิมพ์กด
 การขึ้นรูปแบบพิมพ์กด การเตรียมเนื้อดินใช้วิธีเดียวกับแบบแผ่น และแบบอิสระมีความเหนียวของดินพอประมาณปานกลาง การเตรียมพิมพ์นั้นอาจมีได้ทั้งที่เป็นปูนปลาสเตอร์ หรือดินเผา โดยที่
แม่พิมพ์ไม่ควรเปียกชื้น เช่นเดียวกับแม่พิมพ์ที่ใช้ในการหล่อน้าดิน ทั้งนี้เพื่อให้แม่พิมพ์มีส่วนช่วยในการดูดซึมซับจากเนื้อดินได้ดี แม่พิมพ์นี้อาจมีทั้งแบบชิ้นเดียวหรือสองชิ้น
 2.6 การขึ้นรูปแบบหล่อพิมพ์
 การขึ้นรูปแบบหล่อพิมพ์ เป็นการขึ้นรูปโดยอาศัยแบบพิมพ์ที่ทาด้วยปูนปลาสเตอร์ ซึ่งมีคูณสมบัติเป็นตัวดูดซึมน้า เนื้อดินที่ลอยตัวจะติดกับผนังปูนปลาสเตอร์ที่แบบ การผลิตด้วยแบบหล่อนี้
สามารถผลิตให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่เหมือนกัน มีความหนาเท่ากันได้มากกว่าแบบอื่น มีข้อเสียของการหล่อพิมพ์โดยจะจากัดจานวนแต่ละวันคือ ถ้าดินที่หล่อผสมดินขาวน้อยการดูดซึมน้าจะมากจะหล่อได้วันละ
2-3 ชิ้น ถ้าดินที่หล่อผสมดินขาวมากสามารถหล่อได้วันละ 5-7 ชิ้นทั้งนี้ขึ้นอยู่กับขนาดของพิมพ์และความชื้นของแบบพิมพ์ด้วยการขึ้นรูปแบบพิมพ์หล่อนิยมทากัน 2 วิธีคือการหล่อแบบพิมพ์กลวง
ภายใน (Drain casting) และการหล่อแบบพิมพ์ตัน (Slip casting )
ที่กล่าวมาข้างต้นเป็ นการอาศัยการใช้มือและการขึ้นรูปที่ใช้วัสดุ เช่นปูนปลาสเตอร์มาช่วยทาแบบพิมพ์ในการขึ้นรูป ซึ่งแต่ละลักษณะมีวิธีการที่แตกต่างกันไป จากที่กล่าวมาการขึ้นรูป
ด้วยเครื่องเป็ นการขึ้นรูปเครื่องปั้นดินเผาที่อาศัยเครื่องจักรมาช่วยในการผลิตทาให้ได้ผลิตภัณฑ์ผลงานเครื่องปั้นดินเผาได้รวดเร็วยิ่งขึ้นเป็ นการต่อยอดจากการขึ้นรูปด้วยมือเป็ นระบบ
อุตสาหกรรมสามารถผลิตซ้าได้ในปริมาณมาก เครื่องมือขึ้นรูปด้วยเครื่องนี้สามารถประดิษฐ์จากวัสดุในท้องถิ่นชุมชน มีวิธีการแบบพื้นบ้านหรือเป็ นเครื่องมือที่มีเทคโนโลยีอันทันสมัย สามารถ
หาซื้อได้ การขึ้นรูปด้วยเครื่องประกอบด้วย การขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน การขึ้นรูปด้วยใบมีด การขึ้นรูปด้วยการอัด

More Related Content

Viewers also liked (7)

บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
Nrru 003
Nrru 003Nrru 003
Nrru 003
 
Nrru 001
Nrru 001Nrru 001
Nrru 001
 
Nrru 002
Nrru 002Nrru 002
Nrru 002
 
Nrru 004
Nrru 004Nrru 004
Nrru 004
 

More from Smile Suputtra (10)

บทที่5 จานชัย
บทที่5 จานชัยบทที่5 จานชัย
บทที่5 จานชัย
 
บทที่4 จานชัย
บทที่4 จานชัยบทที่4 จานชัย
บทที่4 จานชัย
 
วิธีเคลือบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์
วิธีเคลือบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์วิธีเคลือบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์
วิธีเคลือบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
การออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์
การออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์การออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์
การออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์
 
ชล2 (1) (3) (2)
ชล2 (1) (3) (2)ชล2 (1) (3) (2)
ชล2 (1) (3) (2)
 
อ.ชล1
อ.ชล1อ.ชล1
อ.ชล1
 
อ.ชล2
อ.ชล2อ.ชล2
อ.ชล2
 
อ.ชล2
อ.ชล2อ.ชล2
อ.ชล2
 

เครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผา

  • 1. เครื่องมือพื้นฐานในงาน เครื่องปั้นดินเผา เครื่องมือมีความจาเป็ นอย่างมากในงานเครื่องปั้นดินเผา เนื่องจากปัจจุบันเทคโนโลยีมีบทบาทต่อการพัฒนา เครื่องมือใน งานเครื่องปั้นดินเผาจึงมีความจาเป็ นและจะช่วยให้ช่างปั้นทางานได้รวดเร็วขึ้น ผลงานมีความเรียบร้อยสวยงาม เครื่องมือของ ช่างปั้นอาจทาขึ้นเอาจากวัตถุใกล้ตัว หรือสามารถหาซื้อจากแหล่งจะหน่ายทั่วไปตามท้องตลาด เครื่องมือดังกล่าว
  • 2.  1.เครื่ องมือพื้นฐาน  เครื่ องมือพื้นฐานเป็นเครื่ องมือที่ใช้ในงานเครื่ องปั้นดินเผาระดับขั้นเริ่มต้นเป็นเครื่ องมือที่จาเป็นในห้องปฏิบัติการทั่วไปไม่ได้ใช้เทคโนโลยีสูงเป็น เครื่ องมืออย่างง่ายๆ สามารถประดิษฐ์ขึ้นมาเพื่อใช้เองเพื่อใช้ปฏิบัติงาน เครื่ องมือเหล่านี้ได้แก่ แป้นหมุนมือ โต๊ะปั้น ถังเก็บดิน อ่างล้างมือ โกร่งบดเคลือบ ชั้นวางผลงาน ตู้เก็บเครื่ องมือ พัดลมดูดอากาศ เตาเผา เป็นต้น  2.เครื่ องมือในการขึ้นรูป  เครื่ องมือในการขึ้นรูปเป็นเครื่ องมือที่ใช้และช่วยในกระบวนการขึ้นรูปให้มีความง่ายและรวดเร็วในการผลิตและเป็นไปตามความต้องการ ถูกต้อง ตามรูปแบบที่ได้ออกแบบไว้เครื่ องมือเหล่านี้ได้แก่  2.1เครื่ องมือที่ใช้ในการขึ้นรูปด้วยมือ  เครื่ องมือที่ใช้ในการขึ้นรูปด้วยมือเป็นอุปกรณ์ที่อานวยความสะดวกให้แก่ช่างปั้น ส่วนใหญ่จะเป็นเครื่ องมือที่ต้องใช้ตามความถนัดและ ประสบการณ์ของผู้ปั้น เครื่ องมือเหล่านี้ได้แก่  2.1.1 เครื่ องมือขูดผิว  โดยส่วนมากจะมีด้ามอยู่ที่ตรงกลาง หัวและท้ายของด้ามทาด้วยโลหะที่เป็นเส้นตัดงอให้เป็นรูปต่าง ๆ ตามลักษณะของการใช้งาน จะมีไม่ต่า กว่า 5 อัน เครื่ องมือขูดผิวดินใช้สาหรับขึ้นรูปด้วยมือบางครั้งถูกเรียกว่าไม้ปั้นสาหรับขูดแต่งผิว
  • 3.  2.1.2 เครื่ องมือที่ใช้ในการตัดดิน  โดยส่วนมากแล้วจะมีวัสดุที่เป็นโลหะหรือไม้แล้วนามาตกแต่งให้มีคมโดยให้มีความเหมาะสมกับการใช้งานหรือจะใช้เส้นลวด เส้นด้าย เครื่ องตัดดินนี้จะใช้ตัดดินได้ตามลักษณะที่ต้องการ หรือใช้ตัดก้นภาชนะออกจากแป้นหมุนไฟฟ้าหรือแป้นหมุนด้วยมือ เครื่ องมือตัดนี้จะใช้หลังจาก ขึ้นรูปเครื่ องปั้นดินเผา จะเป็นวัสดุที่เป็นโลหะหรือเป็นไม้ใช้สาหรับตัดดิน หรือจะเป็นเส้นด้าย เส้นลวดก็ได้  2.1.3 เครื่ องมือตกแต่ง  โดยส่วยมากมักนิยมทาด้วยไม้ตลอดทั้งอัน มีลักษณะคล้าย ๆ กับเครื่ องมือขูดหิน ซึ่งมีตรงกลางเป็นด้ามจับหัวและท้าย เครื่ องมือทาเป็น รูปร่างต่าง ๆ ให้เหมาะสมแก่การตกแต่งดินปั้น เครื่ องมือนี้ใช้เมื่อหลังจากการขูดด้วยเครื่ องมือขูดได้รูปร่างแล้ว ใช้เครื่ องมือนี้แกะเป็นรูปร่าง ภายนอกและแต่งให้เกิดความสวยงามของงานนั้น ๆ เครื่ องมือใช้สาหรับจัดแต่งรูปทรง ตกแต่งความสวยงานทาขึ้นจากวัสดุเหลือใช้ ประยุกต์ขึ้นมา จากวัสดุธรรมชาติ เช่น ไม้ หิน
  • 4.  ข้อควรระวังและการเก็บรักษาเครื่ องมือ ในการใช้เครื่ องมือเพื่อช่วยในการผลิตขึ้นรูปแล้วการเก็บรักษาและการใช้เครื่ องมือให้ถูกกับลักษณะของงานก็มีความสาคัญ การเก็บ รักษาที่ดีและการใช้งานที่ถูกต้องจะช่วยยึดอายุการใช้งานให้ยาวนานขึ้นลดอายุการใช้งาน ดังนั้นข้อควรระวังและการเก็บรักษาเครื่ องมือที่สาคัญมี ดังต่อไปนี้  1. เครื่ องมือขูดดิน ในขณะที่ใช้งานไม่ควรออกแรงขูดมากหรือสุดแรงควรออกเบาๆ เพราะโลหะที่ติดอยู่ที่หัวท้ายของด้ามมีความ อ่อน ถ้าขูดดินแรงหรือดินแห้งเกินไปจะทาให้โลหะคดงอเสียรูปและอาจหักเสียหายได้  2. เครื่ องมือเมื่อเลิกใช้งานแล้วควรล้างทาความสะอาดทุกครั้งให้เศษดิน ปูนอย่างให้มีติดค้างและควรเช็ดน้าให้แห้ง ควรทาน้ามันทาไว้ เพื่อป้องกันการเป็นสนิมที่โลหะ  3. เครื่ องมือทุกชนิดควรมีที่เก็บรวมกันเป็นห่อ หรือใส่กล่องรวมกันไว้เป็นหมวดหมู่  4. อย่าโยนเครื่ องมือหรือเคาะเล่น เพราะจะทาให้ส่วนที่เป็นโลหะเสียรูปร่างและอาจเป็นอันตรายต่อตนเองและผู้อืน่ได้  5. อย่าใช้เครื่ องมือผิดประเภท เช่นการงัดแงะสิ่งอื่นๆ เพราะจะทาให้ส่วนที่เป็นโลหะคด-งอ และหักเมื่อภายหลัง เสียรูปได้
  • 5.  2.2 เครื่ องจักรในการขึ้นรูป  การขึ้นรูปทรงภาชนะเครื่ องปั้นดินเผาที่มีมาแต่ในอดีต เครื่ องจักรเป็นเครื่ องมือในการปั้นภาชนะทรงกลมปรับเปลี่ยนความหนาและรูปทรงตามความต้องของ ช่างปั้น เครื่ องจักรถูกพัฒนาตามวิถีของวัฒนธรรมของแต่ละชนชาติ ตามหน้าที่อานวยความสะดวกแก่ช่างปั้น การเลือกใช้เครื่ องจักรจะขึ้นอยู่กับลักษณะงานและความถนัด ของช่างปั้นแล้วงบประมาณก็มีส่วนสาคัญ และเครื่ องมือเครื่ องจักรที่ใช้ในการขึ้นรูปก็มีส่วนทาให้ช่างปั้นสามารถสร้างผลงานได้ตามความต้องการเครื่ องมือเครื่ องจักร เครื่ องจักรที่สาคัญได้แก่  2.2.1เครื่ องแป้นหมุน  เป็นเครื่ องมือในการขึ้นรูปอิสระและเก่าแก่แบบหนึ่ง เป็นเครื่ องขึ้นรูปแบบทรงกลมโดยอาศัยแป้นหมุน เป็นการประดิษฐ์เครื่ องมือขึ้นมาใช้ในการขึ้นรูป ผลิตภัณฑ์ เครื่ องปั้นดินเผาแทนการปั้นด้วยมือ มีทั้งชนิดยืนและนั่ง ความเร็วที่ใช้ 2-3 จังหวะ ความเร็วรอบของแป้นหมุนที่เป็นมาตรฐานประมาณ 80 รอบมีหลายชนิดการเลือกใช้ เครื่ องแป้นหมุนขึ้นอยู่กับความต้องการของช่างปั้น สามารถแบ่งออกเป็น 2 ชนิดได้แก่แป้นหมุนที่ใช้แรงคนหมุนและแป้นหมุนที่ใช้ระบบมอเตอร์ไฟฟ้าเป็นแรงหมุนการขึ้นรูป ด้วยแป้นหมุนเป็นวิธีแรกที่มนุษย์รู้จัก ใช้ในการขึ้นรูปในระบบกึ่งอุตสาหกรรม เพราะสามารถผลิตได้รวดเร็ว  2.2.2 เครื่ องขึ้นรูปด้วยใบมีด  เครื่ องขึ้นรูปด้วยใบมีดหรือเครื่ องจิ๊กเกอร์ (Jiggering) เป็นการดันแปลงการทางานจากการขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน มีหลักการทางานโดยวางดินลงไปบนแบบปูนปลาสเตอร์ที่ ติดอยู่กับแป้นหมุน แล้วกดแม่แบบอีกด้านลงไปบนเนื้อดินด้วยใบมีด จะได้ผลิตภัณฑ์เหมือนแบบปูนปลาสเตอร์ อีกด้านเหมือนแบบที่กดลงไป ความเร็วของแป้นหมุนต้อง พอเหมาะ ความเร็ว 300-400 rpm. การขึ้นรูปวิธีนี้เหมาะกับงานขึ้นรูปผลิตภัณฑ์ประเภทถ้วยชาม ผู้ปฏิบัติมีทักษะความชานาญสูง  2.2.3เครื่ องขึ้นรูปด้วยใบมีดแบบอัตโนมัติ  เป็นเครื่ องจักรที่มีการพัฒนาจากเครื่ องจิ๊กเกอร์ที่ใช้ใบมีดในการขึ้นรูปด้วยถูกเปลี่ยนมาเป็นจานหมุน ทาให้สามารถผลิตและขึ้นรูปผลิตภัณฑ์เครื่ องปั้นดินเผาได้มากกว่า เครื่ อง อัตโนมัติจะมีความเร็วรอบ 500-1200 rpm.นิยมใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมประเภทถ้วย ชาม จานเพราะสามารถลดต้นทุนมากกว่าการใช้เครื่ องขึ้นรูปด้วยใบมีด
  • 6.  2.2.4เครื่ องอัดขึ้นรูป  เป็นเครื่ องขึ้นรูปชนิดหนึ่งที่ใช้งานสะดวกเหมาะสาหรับการผลิตจานวนมากและไม่เปลืองแบบพิมพ์ การทางานโดยวางระบบท่อลมในพิมพ์เมื่อเครื่ องทาการกด ชิ้นงานลมจะทาหน้าที่เป่าชิ้นงานหลุดจากพิมพ์ใช้พิมพ์เพียง 1 ตัวเท่านั้นในการผลิตชิ้นงานทาให้ประหยัดเนื้อที่ในการเก็บแบบพิมพ์ ส่วนการอัดดินจากพิมพ์ 2 ชิ้นได้แก่ ผลิตภัณฑ์ที่มีลวดลายทั้ง 2 ด้าน เช่นจานเปลที่ลวดลาย พิมพ์พระเครื่ อง  2.2.5เครื่ องรีดขึ้นรูป  เป็นเครื่ องจักรที่ขับเคลื่อนด้วยแรงของมอเตอร์ไฟฟ้าที่ทาหน้าที่รีดดินออกมาตามท่อ โดยใช้หัวรีดเป็นตัวกาหนดรูปแบบ สารถทาเป็นสรูปร่างต่างๆกันเช่นรูป ทรงกระบอก แท่งสี่เหลี่ยม แท่งสามเหลี่ยม หัวรีดดินสามารถปรับแต่งสับเปลี่ยนรูปแบบที่ต้องการได้ เมื่อแท่งดินถูกรีดออกาจะถูกตัดออกเป็นส่วนๆ ตามความยาวที่ต้องการ วิธีนี้สามารถควบคุมปริมาณความยาวและน้าหนักของดินได้แน่นอน  จากที่กล่าวมาสรุปได้ว่าเครื่ องมือพื้นฐานเป็นเครื่ องมือที่ใช้ในงานเครื่ องปั้นดินเผาระดับขั้นเริ่มต้นเป็นเครื่ องมือที่จาเป็นในห้องปฏิบัติการทั่วไปไม่ได้ใช้เทคโนโลยีสูง เป็นเครื่ องมืออย่างง่ายๆ สามารถประดิษฐ์ขึ้นมาเพื่อใช้เองเพื่อใช้ปฏิบัติงาน ส่วนเครื่ องมือที่ใช้ในการขึ้นรูปด้วยมือเป็นอุปกรณ์ที่อานวยความสะดวกให้แก่ช่างปั้น ส่วนใหญ่ จะเป็นเครื่ องมือที่ต้องใช้ตามความถนัดและประสบการณ์ของผู้ปั้น เครื่ องมือเหล่านี้ได้แก่เครื่ องมือขูดผิว เครื่ องมือที่ใช้ในการตัดดิน เครื่ องมือตกแต่ง ส่วนเครื่ องจักรใน การขึ้นรูป ถูกพัฒนาตามวิถีของวัฒนธรรมของแต่ละชนชาติ ตามหน้าที่อานวยความสะดวกแก่ช่างปั้น การเลือกใช้เครื่ องจักรจะขึ้นอยู่กับลักษณะงานและความถนัดของ ช่างปั้นแล้วงบประมาณก็มีส่วนสาคัญ เครื่ องมือเครื่ องจักรที่ใช้ในการขึ้นรูปก็มีส่วนทาให้ช่างปั้นสามารถสร้างผลงานได้ตามความต้องการเครื่ องมือเครื่ องจักร เช่น เครื่ อง จิกเกอร์ แป้นหมุนขึ้นรูป เครื่ องขึ้นรูปด้วยใบมีดแบบอัตโนมัติ เครื่ องอัดขึ้นรูป เครื่ องรีดขึ้นรูป
  • 7.  การขึ้นรูปผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผา ในกระบวนการสร้างสรรค์รูปทรงผลิตภัณฑ์เครื่ องปั้นดินเผาจากที่เป็นเพียงแนวคิดสู่งานสองมิติให้เป็นรูปสามมิติที่เป็นรูปธรรมที่สาเร็จที่ เหลือคือการคงรูปถาวร การใช้มือปั้นขึ้นรูปโดยการนาวัตถุดิบมาปั้นตามรูปร่างลักษณะต้องอาศัยความชานาญของช่างปั้น แต่หากผลิตในระบบ อุตสาหกรรมอาจจะใช้แม่พิมพ์ซึ่งการใช้แม่พิมพ์วิธีนี้จะทาได้รวดเร็วและจะได้รูปทรงที่เป็นมาตรฐาน  การขึ้นรูปเครื่องปั้นดินเผา คือ การนาสูตรส่วนผสมของเนื้อดินปั้นมาเปลี่ยนลักษณะทางกายภาพของเนื้อดินปั้นทาให้เกิดเป็นรูปร่างรูปทรงต่างๆตามแนวคิดให้เกิด เป็นรูปแบบใหม่ตามที่ได้ออกแบบไว้โดยตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคและผู้ผลิต มีจุดมุ่งหมายทั้งเพื่อประโยชน์ใช้สอยและเพื่อความงามทางศิลปะ  ประเภทของการขึ้นรูป การขึ้นรูปผลิตภัณฑ์เครื่ องปั้นดินเผามีอยู่ด้วยกันหลายประเภทหลายวิธี มีความแตกต่างกันออกไปทั้งเครื่ องมือและเนื้อวัตถุดิบในการปั้นขึ้นรูป ด้วยวิธีต่างๆ การปั้นขึ้นรูปเป็นการนาวัตถุดิบมาปั้นเป็นรูปร่างตามลักษณะการออกแบบที่ต้องการ หากเป็นงานหัตถกรรมการปั้นมักทาด้วยมือซึ่งอาศัย ความชานาญของช่างปั้น แต่หากผลิตในระบบอุตสาหกรรมจะใช้แม่พิมพ์จะได้รูปทรง รูปร่างๆที่เป็นมาตรฐานวิธีนี้จะทาได้รวดเร็วประหยัดต้นทุนในการ ผลิต การขึ้นรูปผลิตภัณฑ์เครื่ องปั้นดินเผาสามารถแบ่งได้ดังนี้
  • 8.  1. การขึ้นรูปผลิตภัณฑ์เครื่ องปั้นดินเผาแบ่งลักษณะดิน  1.1การขึ้นรูปในขณะที่ดินอยู่ในสถานะแห้ง  เป็นวิธีขึ้นรูปในในขณะที่ดินอยู่ในที่แห้งเป็นผงซึ่งการขึ้นรูปวิธีนี้จะทาให้ลดเปอร์เซ็นต์การหดตัวในการเผา เพราะดินที่อยู่ในสถานะแห้งจะมี่น้าเจือปนอยู่ มีการระเหยของน้าใน เวลาเผาทาให้ผลิตภัณฑ์มีความคงรูปเดิมหรือควาเสี่ยงต่อการสูญเสียรูปทรงน้อยแต่ก็มีข้อเสีย คือเหมาะกับการผลิตภัณฑ์รูปทรงที่บางเท่านั้น  1.2 การขึ้นรูปในขณะที่ดินอยู่ในสถานะหมาด  เป็นวิธีขึ้นรูปในในขณะที่ดินอยู่ในสถานะหมาดคือลักษณะของดินมีความชื้นพอดีจับแล้วไม่ติดมือ เมื่อการนวดแล้วมีเนื้อนุ่มเนียนปั้นเป็นรูปทรงทรงได้ง่าย ซึ่งดินที่อยู่ใน สถานะหมาดนี้มีผู้นิยมนามาใช้ในการปั้นงานากที่สุด ทั้งในด้านศิลปะ หัตถกรรมและอุตสาหกรรม  1.3 การขึ้นรูปในขณะที่ดินอยู่ในสถานะเป็นของเหลว  เป็นวิธีขึ้นรูปในในขณะที่ดินอยู่ในสถานะของเหลว เรียกว่า สลิป เนื่ องจากดินมีลักษณะเหลวข้นนี้ทาให้ไม่สามารถนามาปั้นขึ้นรูปได้ ดังนั้นการขึ้นรูปจึงต้องอาศัยแม่แบบเข้า ช่วยซึ่งการขึ้นรูปในขณะที่ดินอยู่ในสถานะเหลวนี้เหมาะสาหรับงานที่มีขนาดเล็ก ไม่ใหญ่เกินไป  2. การขึ้นรูปผลิตภัณฑ์เครื่ องปั้นดินเผาแบ่งตามลักษณะการขึ้นรูป  2.1 การขึ้นรูปโดยใช้มือบีบให้เป็นรูปทรง  การขึ้นรูปโดยใช้มือบีบให้เป็นรูปทรงโดยนาดินที่เตรียมไว้แล้วมาปั้นเป็นก้อน กลมโตตามต้องการใช้หัวแม่มือบีบหรือกดให้เป็นรูปทรงตามต้องการพยายามปั้นให้มีความหนา ใกล้เคียงกันกับขนาดที่ต้องการ หรือจะสร้างสรรค์ลักษณะประติมากรรมก็ได้เช่นกัน เมื่อดินหมาดหรือเริ่มแข็งตัวบ้างแล้ว จึงทาการตกแต่งด้วยเครื่ องมือหรือต่อเติม ส่วนประกอบอื่นๆ ได้อีกจนเป็นที่น่าพอใจ  2.2. การขึ้นรูปโดยใช้เครื่ องมือขูดให้กลวง  การขึ้นรูปโดยใช้เครื่ องมือขูดให้กลวงนาดินที่เตรียมไว้แล้วมาปั้นเป็นก้อนกลมก้อนสี่เหลี่ยม หรือรูปทรงกระบอกตามต้องการ แล้วใช้เครื่ องมือขูดหรือเจาะ ให้เกิดความหนา บางหรือ รูปทรงจนได้ความงามตามความเหมาะสม ปล่อยให้แห้ง แล้งตกแต่งให้เรียบร้อย ถ้าเป็นภาชนะก็ต้องทาขาหรือก้นให้เรียบร้อย เพราะเมื่อนาไปเผาไปเผาเคลือบจะช่วย ให้ไม่ติดชั้นวาง
  • 9.  2.3 การขึ้นรูปแบบแผ่น  การขึ้นรูปแบบแผ่น การเตรียมดินใช้ดินแบบเดียวกับเนื้อดินที่ใช้ในการปั้นอิสระ โดยนาดินมาทาให้เป็นแผ่นก่อน แล้วจึงนามาประกอบเป็นรูปทรงต่างๆ เหมาะสาหรับงานที่มีจุดประสงค์ให้เป็น รูปลักษณะเรขาคณิตและรูปทรงที่แปลกๆ ความหนาของดินขึ้นอยู่กับขนาดของงานที่จะทาโดยปรับตามความเหมาะสม ไม่ว่าจะสร้างสรรค์เป็นรูปทรงอะไรก็ตาม หากทรงตัวยังไม่ดีพอ ควรใช้เศษดินค้าพยุง ไว้ก่อน เมื่อทรงตัวดีแล้ว จึงนาไปผึ่งให้แห้ง  2.4 การขึ้นรูปแบบขด  การขึ้นรูปแบบขดเป็นการขึ้นรูปที่นิยมมาแต่โบราณกาลโดยการขึ้นรูปต้องรีดดินให้เป็นเส้นใหเหมาะสมกับขนาดรูปทรง คลึงเป็นเส้นกลมยาวนาขดลงบนแผ่นฐานประสานรอยต่อระหว่างขดดินและ แผ่นฐานดินด้วยน้าดินข้น ชื้อบีบกดให้ดินเข้ากันให้สนิทเป็นแผ่นเดียวกัน  2.5 การขึ้นรูปแบบพิมพ์กด  การขึ้นรูปแบบพิมพ์กด การเตรียมเนื้อดินใช้วิธีเดียวกับแบบแผ่น และแบบอิสระมีความเหนียวของดินพอประมาณปานกลาง การเตรียมพิมพ์นั้นอาจมีได้ทั้งที่เป็นปูนปลาสเตอร์ หรือดินเผา โดยที่ แม่พิมพ์ไม่ควรเปียกชื้น เช่นเดียวกับแม่พิมพ์ที่ใช้ในการหล่อน้าดิน ทั้งนี้เพื่อให้แม่พิมพ์มีส่วนช่วยในการดูดซึมซับจากเนื้อดินได้ดี แม่พิมพ์นี้อาจมีทั้งแบบชิ้นเดียวหรือสองชิ้น  2.6 การขึ้นรูปแบบหล่อพิมพ์  การขึ้นรูปแบบหล่อพิมพ์ เป็นการขึ้นรูปโดยอาศัยแบบพิมพ์ที่ทาด้วยปูนปลาสเตอร์ ซึ่งมีคูณสมบัติเป็นตัวดูดซึมน้า เนื้อดินที่ลอยตัวจะติดกับผนังปูนปลาสเตอร์ที่แบบ การผลิตด้วยแบบหล่อนี้ สามารถผลิตให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่เหมือนกัน มีความหนาเท่ากันได้มากกว่าแบบอื่น มีข้อเสียของการหล่อพิมพ์โดยจะจากัดจานวนแต่ละวันคือ ถ้าดินที่หล่อผสมดินขาวน้อยการดูดซึมน้าจะมากจะหล่อได้วันละ 2-3 ชิ้น ถ้าดินที่หล่อผสมดินขาวมากสามารถหล่อได้วันละ 5-7 ชิ้นทั้งนี้ขึ้นอยู่กับขนาดของพิมพ์และความชื้นของแบบพิมพ์ด้วยการขึ้นรูปแบบพิมพ์หล่อนิยมทากัน 2 วิธีคือการหล่อแบบพิมพ์กลวง ภายใน (Drain casting) และการหล่อแบบพิมพ์ตัน (Slip casting ) ที่กล่าวมาข้างต้นเป็ นการอาศัยการใช้มือและการขึ้นรูปที่ใช้วัสดุ เช่นปูนปลาสเตอร์มาช่วยทาแบบพิมพ์ในการขึ้นรูป ซึ่งแต่ละลักษณะมีวิธีการที่แตกต่างกันไป จากที่กล่าวมาการขึ้นรูป ด้วยเครื่องเป็ นการขึ้นรูปเครื่องปั้นดินเผาที่อาศัยเครื่องจักรมาช่วยในการผลิตทาให้ได้ผลิตภัณฑ์ผลงานเครื่องปั้นดินเผาได้รวดเร็วยิ่งขึ้นเป็ นการต่อยอดจากการขึ้นรูปด้วยมือเป็ นระบบ อุตสาหกรรมสามารถผลิตซ้าได้ในปริมาณมาก เครื่องมือขึ้นรูปด้วยเครื่องนี้สามารถประดิษฐ์จากวัสดุในท้องถิ่นชุมชน มีวิธีการแบบพื้นบ้านหรือเป็ นเครื่องมือที่มีเทคโนโลยีอันทันสมัย สามารถ หาซื้อได้ การขึ้นรูปด้วยเครื่องประกอบด้วย การขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน การขึ้นรูปด้วยใบมีด การขึ้นรูปด้วยการอัด