SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
บทที่ 3
การขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน
การขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน
 เครื่องปั้นดินเผาเป็นการนาวัตถุดิบประเภทดิน และหินมาผสมเป็นอัตราส่วนในรูปเนื้อดินปั้น จากนั้นนามาขึ้นรูปเป็นรูปทรงด้วยวิธีการต่างๆ ตามลักษณะ
ของเนื้อผลิตภัณฑ์วิธีการขึ้นรูป ได้แก่ การขึ้นรูปด้วยมือ (Hand forming) การขึ้นรูปด้วยวิธีการหล่อแบบ (slip casting) การขึ้นรูปด้วย
ใบมีด (jiggering หรือ jellying) การขึ้นรูปด้วยการรีด (extruding) การขึ้นรูปด้วยการอัด (pressing) และการขึ้นรูปด้วยแป้น
หมุน โดยการขึ้นแป้นหมุนออกแบบมาให้ปั้นภาชนะที่เป็นทรงกลมในความหนาที่แตกต่างกัน แต่สามารถเปลี่ยนแปลงได้หลากหลายรูปทรง การปั้นด้วย
แป้นหมุนสามารถปั้นภาชนะทรงกลมได้เร็วกว่าการปั้นด้วยมือ แต่ต้องมีความชานาญโดยช่างปั้นต้องฝึกฝนอย่างยาวนานจึงจะมีประสบการณ์ และมีความ
ชานาญปั้นได้อย่างรวดเร็ว และถูกต้องแม่นยา ดังนั้นเนื้อหาในบทนี้เป็นเนื้อหาที่นาไปสู่การเรียนรู้ในรายวิชาการขึ้นรูปด้วยแป้นหมุนเบื้องต้น เนื้อหาในบทนี้
ประกอบด้วย ประวัตความเป็นมาของการขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน ความสาคัญ ประโยชน์ ลักษณะ และระบบการทางานของแป้นหมุน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่
ใช้ในการขึ้นรูปด้วยแป้นหมุนดังมีรายละเอียดเนื้อหาดังนี้
ประวัติและวิวัฒนาการของการขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน
 การขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน มีวิธีการโดยการนาก้อนดินเหนียววางตรงศูนย์กลางของแป้นที่หมุนโดยใช้สายพานเชื่อมต่อกับมอเตอร์ไฟฟ้าหรือใช้เท้าและใช้มือ
ไม่มีหลักฐานปรากฏแน่ชัดว่าแป้นหมุน เริ่มมีใช้ตั้งแต่เมื่อใด แต่มีนักวิชาการมีเชื่อว่า เครื่องปั้นดินเผาถูกสร้างขึ้นครั้งแรกในช่วงประมาณ 8,000–
1,400ปีก่อนคริสต์ศักราช ในสมัยเมโสโปเตเมีย (Mesopotamia) โดยมีการพบชิ้นส่วนของผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการขึ้นรูปด้วยแป้นหมุนทาง
ตอนใต้ของยุโรป อียิปต์ และในภูมิภาคอื่น ๆ ที่เชื่อว่ามีการใช้แป้นหมุนในช่วง ระยะเวลาใกล้เคียงกัน โดยพบบันทึกเกี่ยวกับการขึ้นรูปด้วยแป้นหมุนของ
ชาวอียิปต์ (Egyptians) ในยุคกลางของอาณาจักรอียิปต์โบราณ ในยุคแรกการขึ้นรูปเครื่องปั้นดินเผาใช้วิธีการขด ซึ่งผู้ขึ้นรูปต้องใช้การขดดินบน
ฐานรองและเดินหมุนไปรอบ ๆ ฐานรองแทนซึ่งมีความเป็นไปได้ว่าวิธีนี้ได้พัฒนาการมาเป็นการขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน สุขุมาล เล็กสวัสดิ์ (2548:78) ได้
กล่าวไว้ว่า การใช้แป้นหมุนเริ่มมีขึ้นตั้งแต่ 5,000 ปีก่อนคริสต์ศักราชจากอียิปต์ตะวันออกกลางและเอเชีย จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใช้แป้นหมุนตั้งแต่
3,500 ปี การขึ้นรูปด้วยแป้นหมุนเริ่มแรกจะใช้เท้าถีบตัวแป้นหมุน ต่อมาใช้มือหมุนแทนเท้าถีบ ส่วนแป้นหมุนของจีนใช้คนจานวนสองคนในการขึ้นรูป
คนหนึ่งใช้มือในการขึ้นรูปภาชนะอีกคนใช้เท้าถีบหรือใช้มือหมุนทาให้สะดวกรวดเร็วในการปั้นขึ้นรูปทั้งยังสามารถขึ้นรูปผลิตอภัณฑ์ขนาดใหญ่ได้ อินเดีย
ได้พัฒนาโดยใช้ไม้มาช่วยในการหมุน ทาให้มีกาลังมากสามารถผลิตได้รวดเร็วเช่นกัน การขึ้นรูปด้วยแป้นหมุนได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจากการที่ใช้
แรงงานคนในการหมุนเครื่องแป้นหมุน จนปัจจุบันได้ใช้กาลังไฟฟ้าเป็นพลังงานเพื่อช่วยหมุนแป้นก็ตาม แต่มีสิ่งหนึ่งที่ไม่ว่าระยะเวลาจะยาวนานเท่าใดการ
ขึ้นรูปด้วยแป้นหมุนก็ยังคงต้องใช้ทักษะความชานาญของช่างปั้น
หลักวิธีการขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน
 การปั้นบนแป้นหมุน( Throwing on the Potter’s Wheel ) การปั้นวิธีนี้เข้าใจว่าเป็นวิธีแรกทีใช้แป้นเป็นเครื่องประกอบ แป้นหมุน
อันแรกทาด้วยหิน ซึ่งสลักให้มีรูปกลม ตั้งอยู่บนก้อนหิน หมุนด้วยมือ ซึ่งเป็นการยากลาบากมากกว่าจะทาให้แป้นหมุนได้เที่ยง ครั้นต่อมาแป้นได้ถูก
ดัดแปลงจากหินมาทาด้วยไม้ซีเมนต์ แผ่นเหล็ก ปูนพลาสเตอร์ หรือทาด้วยล้อรถยนต์ มีเพลาเหล็กและลูกปืนรองรับ ทาให้หมุนได้เที่ยงแน่นอน ใช้หมุน
ด้วยมือหรือฝ่าเท้าหรือหมุนด้วยเครื่องยนต์ไฟฟ้า การปั้นบนแป้นหมุนนี้จะได้เฉพาะภาชนะที่มีรูปกลมและปั้นด้วยดินเหนียว ทาให้เป็นรูปภาชนะต่างๆได้
โดยการรีดบีบเนื้อดินเหนียวด้วยมือบนแป้นหมุน ใช้หมุนด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า เครื่องมือแป้นหมุน มีทั้งชนิดยืนและนั่ง ความเร็วที่ใช้ 2-3 จังหวะ
ความเร็วรอบของแป้นหมุนที่เป็นมาตรฐานประมาณ 80 รอบต่อนาที ดินที่นามาปั้นต้องเป็นดินชนิดที่มีความเหนียวจึงจะช่วยให้การขึ้นรูปได้ผลดี การขึ้น
รูปแบบแป้นหมุนต้องอาศัยการฝึกฝนและทักษะพอสมควร จึงจะสามารถขึ้นรูปได้ดี โดยวิธีการขึ้นรูปบนแป้นหมุน
หลักวิธีการขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน
มีขั้นตอนดังนี้
 1. การตั้งดินให้ได้ศูนย์ นับว่าสาคัญมากแล้วใช้มือทั้งสองกดและดึงดินขึ้นหลาย ๆ ครั้ง เพื่อให้ดินเกาะกับแป้นหมุน ข้อศอกและแขนจะต้องไม่แกว่ง
ความเร็วของแป้นหมุนช่วงนี้จะต้องใช้ความเร็วสูง ใช้น้าผสมเข้าช่วยในการตั้งศูนย์
 2.เมื่อตั้งดินได้ศูนย์ดีแล้ว ใช้หัวแม่มือกดดินให้ลึกลงไปเป็นรูกลวง แต่อย่าให้ลึกถึงแป้นหมุน
 3. การดึงดินขึ้น เทคนิคและวิธีการตอนนี้สาคัญมาก โดยใช้มือข้างซ้ายและข้าวขวาดึงดินขึ้น ให้ได้ความสูงตามต้องการ ในขณะที่ดึงดินขึ้นต้องให้อยู่ใน
แนวดิ่งอย่าให้เอียงไปทางใดทางหนึ่ง ความเร็วที่ใช้ระดับปานกลาง
 4.การทารูปทรงต่าง ๆ ใช้นิ้วมือกดและดันให้ได้รูปทรงตามต้องการหรือจะใช้เครื่องมือที่เตรียมไว้ก็ได้ ตอนปากรูปทรงไม่สม่าเสมอควรใช้
เครื่องมือตัดทิ้งเสียก่อนแล้วจึงค่อยขึ้นรูปใหม่
 5.ขึ้นตกแต่งหรือขั้นสาเร็จ ขึ้นนี้ต้องรอให้ดินที่ปั้นภาชนะหมาด ๆ เสียก่อน แล้วใช้เครื่องมือขูดผิวให้เรียบร้อย ใช้ฟองน้าลูบให้เรียบอีกครั้ง
ประโยชน์และความสาคัญ
 1. ประโยชน์ของแป้นหมุน
การขึ้นรูปด้วยแป้นหมุนเป็นวิธีการการขึ้นรูปเครื่องปั้นดินเผาที่ได้รับความนิยม และใช้กันมอย่างแพร่หลายตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ประโยชน์ของแป้น
หมุนในฐานะเป็นเครื่องมือที่ประดิษฐ์ขึ้นมาเพื่อช่วยในการผลิตภาชนะเครื่องปั้นดินเผาให้สะดวกและรวดเร็วขึ้น ในหัวข้อนี้จะกล่าวถึงประโยชน์ของการขึ้นรูปด้วย
แป้นหมุนที่สาคัญ พอสังเขปดังนี้
1.1 ด้านการผลิต
ในการผลิตเครื่องปั้นดินเผามีความจาเป็นที่ผูผลิตต้องคานึงถึงการวิธีการขึ้นรูปที่ประหยัดเวลาในการทางาน และได้งานที่เรียบร้อย
สม่าเสมอรวดเร็ว ช่วยทุ่นแรงในการทางานลงไปได้มาก เพิ่มจานวนการผลิตได้คือ สามารถผลิตได้เป็นจานวนมากในระยะเวลาเพียงสั้นๆทันตามความต้องการ
ของตลาด การขึ้นรูปด้วยแป้นหมุนเป็นวิธีหนึ่งที่ตอบสนองความต้องการในการผลิตในส่วนของภาชนะเครื่องปั้นดินเผาเพราะได้งานที่มีปริมาณมาก สามารถทาใน
ระบบอุตสาหกรรมได้
 1.2. ด้านการใช้สอย
ประโยชน์ของการขึ้นรูปเครื่องปั้นดินเผาด้วยแป้นหมุนกับการใช้สอยและประดับตกแต่ง ได้แก่ เครื่องครัว และของใช้ภายในบ้าน เช่น
ถ้วย ชาม จาน แจกัน และที่เขี่ยบุหรี่ เครื่องประดับ เป็นของที่ระลึกในโอกาสต่างๆ เป็นภาชนะสาหรับใช้สอยในชีวิตประจาวัน อาจจะนามาใช้ในการบรรจุ
อาหารต่างๆ ใช้ในการหุงต้มอาหาร ในสมัยก่อนใช้เครื่องปั้นดินเผาในการบรรจุศพเด็ก ใช้โรยหลุมศพ ภาชนะเหล่านี้ถูกสร้างสรรค์ขึ้นด้วยการขึ้นรูปด้วย
แป้นหมุนแทบทั้งสิ้น
 1.3. ด้านประดับตกแต่ง
ในการสร้างผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผาเป็นเครื่องประดับตกแต่งด้วยแป้นหุน ในปัจจุบันเครื่องปั้นดินเผาที่ทาออกมาส่วนใหญ่ล้วนแต่
ทาขึ้นมาเน้นเป็นเครื่องประดับตกแต่งเสียส่วน มาก โดยเน้นความสวยงามทางด้านสีสัน ลักษณะรูปทรง หรือความแปลกใหม่ เช่น แจกันรูปทรงต่างๆ ตุ๊กตา
เครื่องปั้นดินเผา เป็นการสร้างงานศิลปะที่ให้คุณค่าความงามของจิตใจ
 1.4. ด้านเศรษฐกิจ
ความสามารถผลิตสินค้าเครื่องปั้นดินเผาสินโดยเพิ่มรายได้ให้แก่ชุมชน เพราะหากตั้งใจผลิตขึ้นมาด้วยความประณีต ขนาดมีมาตรฐาน มี
เอกลักษณ์ของตนเองและชุมชน เช่น เครื่องปั้นดินเผาด่านเกวียนที่มีเอกลักษณะในการขึ้นรูปด้วยแป้นหมุนแบบใช้แรงคนเหวี่ยง ก็จะสามารถนามาสร้างเป็น
สินค้าได้เป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวและสร้างรายได้อีกทางหนึ่ง ทาให้ชุมชนและช่างปั้นสามารถหันมายึดวิถีทางการทาเครื่องปั้นดินเผาเป็นอาชีพได้
 2.ความสาคัญ
การขึ้นรูปด้วยแป้นหมุนเป็นการสร้างสรรค์จากแนวความคิดสู่การขึ้นรูปโดยอาศัยเครื่องมือช่วยคือแป้นหมุนสร้างเนื้อดินปั้นให้เป็นรูปทรงต่างๆ แป้นหมุนจึงมี
ความสาคัญต่อกระบวนการสร้างผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผา ดังนี้
 1. สัญลักษณ์ที่แสดงถึงศิลปวัฒนธรรมของแต่ละชาติสืบต่อเนื่องกันมา
สัญลักษณ์ที่แสดงถึงศิลปวัฒนธรรมคือ แป้นหมุนถูกสร้างขึ้นเพื่อผลิตเครื่องปั้นดินเผาให้เป็นเครื่องมือเครื่องใช้ที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกับวิถีชีวิตของมนุษย์
อย่างแนบแน่นมาเป็นเวลายาวนาน ทั้งนี้เพราะการขึ้นรูปเครื่องปั้นดินเผาด้วยแป้นหมุนที่สร้างขึ้นบนเงื่อนไขความต้องการของสังคมที่เป็นเจ้าของ เป็นผลงานจากมันสมอง
และฝีมือแนวคิดของผู้สร้าง ซึ่งไม่ได้มีความหมายแต่เพียงคุณค่าทางสุนทรียะเท่านั้น หากแต่ยังเป็นงานช่างฝีมือที่แสดงถึงภูมิปัญญาและพัฒนาการทางด้านเทคโนโลยีของ
ชุมชนที่สั่งสมและสืบเนื่องกันมาเป็นเวลานาน หรือประดิษฐ์วัตถุเครื่องใช้ต่างๆ เป็นแบบของตนเองหรือบางครั้งอาจจะได้รับอิทธิพลจากประเทศใกล้เคียง
 2. การสร้างภาชนะเครื่องใช้ในชีวิตประจาวัน
จากหลักฐานการขุดค้นทางโบราณคดี สันนิษฐานว่า การทาหม้อปั้นดินเผาขึ้นเป็นภาชนะสาหรับใช้หุงข้าว คงจะเกิดขึ้นเพราะความจาเป็นทางความเป็นอยู่ของคนที่
อยู่ในวัฒนธรรมเกษตร ซึ่งได้คิดทาหม้อข้าวขึ้นในภาคอีสานมีการเก็บถนอมอาหาร เช่นปลาร้า หรือนาใส่ของเหลว จึงนาเครื่องปั้นดิน เผามาใช้ในการถนอมรักษาอาหาร
และใส่น้าดื่ม หม้อดินเป็นอุปกรณ์สาคัญในการต้มยารักษาโรค มาแต่โบราณภาชนะเหล่านี้ ล้วนถูกสรรค์สร้างด้วยเครื่องปั้นดินเผาที่ขึ้นรูปด้วยแป้นหมุนแทบทั้งสิ้น เช่น
การปั้นไหที่บ้านท่าไห จ้งหวัดอุบลราชธานี
 3. เกี่ยวกับความเชื่อและพิธีกรรม
แป้นหมุนสาหรับการขึ้นรูปเครื่องปั้นดินเผามีความสาคัญในฐานะสิ่งที่ประดิษฐ์ขึ้นมาเพื่อความจาเป็นในการดารงชีวิตแล้ว มนุษย์ยังใช้
เครื่องปั้นดินเผาในการประกอบพิธีกรรมเกี่ยวกับความเชื่อของสังคมเช่น ใช้ไหดินเผาบรรจุศพ ทั้งแบบบรรจุลงทั้งโครงและแบบบรรจุกระดูกบางส่วนลงไหซึ่งเป็น
ประเพณีการปลงศพแบบโบราณอีกแบบหนึ่ง ซึ่งได้รับความนิยมมากในกลุ่มชนโบราณในเอเชีย นอกจากนั้นบางทีได้ฝังภาชนะดินเผาลงพร้อมกับศพผู้ตายใน
จังหวัดบุรีรัมย์ อาเภอบ้านกรวดและอาเภอละหานทราย บางท้องถิ่นได้ใช้ภาชนะประเภทตลับ โถ ไห แบบต่างๆนามาบรรจุอัฐิและอังคาร ลักษณะรูปแบบภาชนะ
ดินเผาที่ใช้บรรจุอิฐนี้จะมีลักษณะพิเศษเช่น ไหรูปช้าง โถรูปลิงหรือ คนโทที่มีรูปหน้าคน หรือกระปุกที่มีฝาเป็นรูปหน้าคน ซึ่งส่วนใหญ่เมื่อบรรจุอัฐิแล้วจะนาไปฝัง
ไว้รอบฐานอาคาร และ ศาสนสถาน พิธีกรรมที่ถูกจัดขึ้นโดยคนส่วนรวมในสังคม โดยมากแล้วจะเป็นพิธีที่ก่อให้เกิดความสุขแก่หมู่คณะ นามาซึ่งความอุดม
สมบูรณ์แก่พืชพรรณธัญญาหาร ตลอดจนขจัดภัยพิบัติที่เกิดขึ้นในสังคม ในภาคอีสานจากหลักฐานบนภาชนะดินเผาที่ค้นพบที่บ้านเชียง ตาบลบ้านเชียง อาเภอ
หนองหาน จังหวัดอุดรธานี ซึ่งทาเป็นรูปอวัยวะสืบพันธุ์ ที่ขูดลึกลงบนผิวภาชนะดินเผาสีเทาเป็นรูปอวัยวะเพศชายและหญิงอยู่ด้วยกัน นอกจากนี้ยังพบเขาสัตว์
จาหลักเป็นอวัยวะสืบพันธุ์ของ
ผู้ชายอีกด้วย จากหลักฐานดังกล่าวแสดงให้เห็นว่ามนุษย์ในดินแดนแถบนี้มีคติความเชื่อเกี่ยวกับ ความอุดมสมบูรณ์
ประเภทของแป้นหมุน
แป้นหมุน มีหลายชนิดประเภทการเลือกใช้แป้นหมุนขึ้นอยู่กับความต้องการของช่างปั้นตามที่ได้กล่าวไว้แล้ว สามารถแบ่งออกเป็น 2 ชนิดได้แก่แป้น
หมุนที่ใช้แรงคนหมุนและแป้นหมุนที่ใช้ระบบมอเตอร์ไฟฟ้าเป็นแรงหมุน ซึ่งทั้ง 2 ชนิดแบ่งออกเป็นลักษณะต่างๆได้พอสังเขปดังนี้
 1. แป้นหมุนชนิดใช้แรงคน ประกอบไปด้วย
1.1 แป้นหมุนชนิดใช้เท้าถีบกับแป้น ( kick Wheel ) ตัวแป้นมีขนาดค่อนข้างใหญ่น้าหนักมากลักษณะของแป้นจะอยู่ต่าคือสูงจากพื้นดินเพียง
เล็กน้อย เพื่อสะดวกต่อการใช้เท้าถีบให้หมุน หรืออาจมีคนช่วยถีบหรือโดยการใช้มือช่วยหมุนแป้นให้คนปั้นก็ได้เช่นกัน ซึ่งตัวแป้นจะทาด้วยไม้เนื้อแข็ง หรือโดย
การใช้ปูนซีเมนต์เททับลงบนกระทะล้อรถยนต์โดยตลับลูกปืนโดยมีแกนแป้นที่สั้นอยู่ข้างล่างช่วยให้หมุนได้คล่องและนาน เหมาะสาหรับไว้ขึ้นผลิตภัณฑ์ขนาด
ใหญ่ เพราะตัวแป้นสามารถรับน้าหนักตัวผลิตภัณฑ์ได้มาก ตัวแป้นจะนิ่งสะเทือนในขณะที่ทาการปั้น แต่ผู้ที่ถีบแป้นหรือหมุนแป้นจะต้องออกแรงมาก เพราะมี่
เครื่องทุ่นแรงใดๆช่วย แป้นชนิดนีในปัจจุบันก็ยังนิยมตามชนบทที่ทาผลิตภัณฑ์เซรามิกส์แบบพื้นบ้านที่มีขนาดใหญ่ เช่นแจกันใบใหญ่ โอ่งไห และอ่างบัว เป็นต้น
 1.2 แป้นหมุนชนิดที่มีคันสาหรับใช้เท้าถีบ แป้นหมุนชนิดนี้ตัวแป้นจะมีข้อต่อที่เชื่อมไปยังล้อถ่วง แล้วมีคันโยกจากแกนหรือเพลาออกไปเป็นที่เท้าถีบ
เวลาออกแรงถีบจะทาให้แป้นหมุนเพราะน้าหนักของล้อข้างล่าง ในการออกแรงใช้เท้าถีบจะน้อยกว่าแป้นแรก โดยขณะที่ทาการปั้นคันโยกที่ต่อออกมา
สาหรับใช้เท้าถีบจะเคลื่อนไหวตาจังหวะการหมุนของแป้นตลอดเวลา แป้นชนิดนี้โครงภายนอกจะทาด้วยไหรือโลหะก็ได้ระดับของตัวแป้นที่ปั้นจะมีความสูง
โดยประมาณ 75-80 เซนติเมตร
 1.3 แป้นหมุนชนิดที่ใช้มือหมุน แป้นชนิดนี้นิยมใช้ในหมู่ช่างปั้นพื้นบ้านมีชื่อเรียกตามพื้นถิ่น เช่นพะมอน แป้นหมุนดินเผาด่านเกวียน จังหวัดนคราช
สีมา ลักษณะเป็นแป้นหมุนวงกลม โดยช่างปั้นและลูกศิษย์ (คนหมุนพะมอน) จะทางานร่วมกัน โดยช่างปั้นจะนาดินเหนียวขึ้นล่อ ( แปะดินขึ้นรูป )ไล่
รูปทรงขึ้นเรื่อยๆตามความต้องการของขนาดภาชนะในขณะที่ลูกศิษย์จะทาหน้าที่หมุนพะมอนตามจังหวะที่ช่างปั้นต้องการและสัมพันธ์กัน และตลอดเวลา
การขึ้นรูปนั้น ช่างปั้นจะต้องใช้ผ้าชุบน้าซับดินที่ขึ้นรูปเพื่อป้องกันดินแห้ง ในอดีตพะมอนจะทาด้วยไม้ ปัจจุบันตัวพะมอนจะทาด้วยโลหะ แป้นหมุนมือ
บ้านเหมืองกุง จังหวัดเชียงใหม่ที่เรียกว่า “จ๊าก” ซึ่งเป็นคาไทยลื้อ เป็นแป้นหมุนที่ทาขึ้นอย่างง่ายๆ โดยกลึงไม้สักให้เป็นแป้นกลม ด้านบนเรียบแต่ด้านล่าง
มีแกนหนา และตรงกลางมีรูเสียบด้ามไม้ไผ่ แกนกลางไม้ไผ่เสียบแท่งโลหะปักยึดไว้กับพื้นดิน ส่วนตัวด้ามไม้ไผ่ชาวบ้านเหมืองกุงได้มีการดัดแปลงใช้ท่อ
น้าพาสติก (ท่อ PVC) มาใส่แทน เพราะขนาดพอเหมาะและทนทานกว่า นอกจากนี้ ยังมีการดัดแปลงแท่นเสียบ “จ๊าก” โดยสร้างเป็นแท่นเหล็กปัก
“จ๊าก” จากเหล็กเส้นและปักลงดินหรือทาฐานปักแท่นด้วยการหล่อปูนซีเมนต์
 2. แป้นหมุนไฟฟ้า
แป้นหมุนไฟฟ้าเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการขึ้นรูปเครื่องปั้นดินเผาที่นิยมกันอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน มีความสะดวกแก่ผู้ใช้ แป้นหมุนไฟฟ้ามีอยู่หลายแบบหลายชนิด แบ่งออก
พอสังเขปดังนี้
2.1 แป้นหมุนไฟฟ้าแบบนั่งทางาน
โดยลักษณะของตัวแป้นจะอยู่ต่าสูงมากนักพอดีหรือเสมอที่นั่ง เวลาปั้นช่างปั้นจะนั่งลงกับที่นั่งแล้วทาการปั้น มีระบบการหมุนของแป้นหมุนแบ่งออกดังนี้
2.1.1 ระบบการหมุนของแป้นมีแบบการหมุนด้วยสายพาน บางชนิดจะใช้อเตอร์เพียงตัวเดียวแล้วต่อกับแป้นหมุนหนึ่งที่ หรือต่อกับแป้นหมุนหลายๆตัวบางที่เรียก แป้น
ราว มีความเร็วรอบบางชนิดคงที่ บางชนิดสามารถปรับความเร็วรอบได้ ข้อเสียคือเวลาใช้ดินปั้นก้อนใหญ่มีน้าหนักมากจับบนแป้นอาจทาให้แป้นฟรีได้
2.1.2 ระบบการหมุนของแป้นมีแบบการหมุนด้วยเฟืองแป้นโดยแกนมอเตอร์ ระบบนี้จะมีกาลังในการหมุนมากกว่าแบบสายพานในขณะที่กาลังมอเตอร์เท่ากันไต้องกังวลเรื่องแป้น
หมุนฟรี จึงเหมาะกับการปั้นผลิตภัณฑ์ที่ขนาดใหญ่ ปกติจะสารถปรับความเร็วรอบได้แต่มีราคาค่อนข้างแพง
2.2 แป้นหมุนไฟฟ้าแบบยืนทางาน
แป้นหุนชนิดนี้ส่วนมากจะใช้สายพานในการหมุน เวลาปั้นต้องยืนปั้น มีความเร็วรอบคงที่และสามารถปรับรอบควาเร็วได้ การปั้นส่วนใหญ่จะปั้นได้ผลิตภัณฑ์ขนาดเล็กจนถึงปานกลาง
ปั้นผลิตภัณฑ์ขนาดใหญ่ได้ลาบากเนื่องจากไม่สามารถดึงดินให้สูงต่อเนื่องได้เพราะตัวแป้นมีความสูงจากพื้นประมาณ 75 – 80 เซนติเตร ปกตทั่วไปแป้นหมุนจะมีเบรกให้หยุดโดยการ
เหยียบ มีสวิตซ์ปิด เปิดและรอบการหมุนตามต้องการ
2.3. แป้นหมุนที่สามารถปรับตัวแป้นให้เลื่อนขึ้น ลง และคว่าหงายได้
แป้นหมุนชนิดนี้ส่วนมากตัวแป้นจะยึดอยู่กับแกนเหล็กที่ปรับสูงและต่าเลื่อนขึ้น ลง ด้วยระบบเฟืองและยังสามารถปรับให้คว่าหงายได้อีก จากลักษณะพิเศษนี้จะช่วยให้ปั้นผลิตภัณฑ์ที่
มีรูปแบบทรงสูงที่ไม่กว้าง และใหญ่มากนักได้ดีกว่าการปั้นแป้นหมุนบนแป้นธรรมดาทั่วไป ในขั้นแรกจะปรับระดับตัวแป้นให้มีความสูงขนาดพอเหมาะในการจับศูนย์และเจาะศูนย์กลางดิน พอ
ถึงขั้นการดึงดินจะต้องปรับตัวแป้นให้สูงขึ้นแล้วทาการคว่าแป้นลง จากนั้นทาการรีดดินหรือดึงดินให้เป็นรูปทรงกระบอกยาวลงมาข้างล่างจึงทาให้ปั้นได้สูงกว่าแป้นหมุนธรรมดา แป้นหมุนแบบนี้
ไม่ค่อยนิยมใช้
กันมากเนื่องจากราคาแพงและมีข้อจากัดในการขึ้นรูปคือจะขึ้นได้เฉพาะรูปทรงสูงเพียวเท่านั้น และผลิตภัณฑ์มักจะแตกร้าว
เครื่องมือและอุปกรณ์ในการขึ้นรูป
 การขึ้นรูปด้วยแป้นหมุนนั้นต้องใช้ทักษะทางมือมาก การใช้เครื่องมือที่มาช่วยให้การขึ้นรูปนั้นทาให้มีความสะดวกมากขึ้น โดยเฉพาะการแต่งให้ผลิตภัณฑ์
ที่ได้มีรูปทรงโค้งเว้าและกลมตามความต้องการ เครื่องมือและอึปกรณ์ที่ใช้ในการขึ้นรูปเหล่านี้ได้แก่ เครื่องมือขูดดิน (trimming tools หรือ
turning tools) เครื่องมือ ช่วยตัด(cutting tools)และเครื่องมือวัด(measuring tools) นอกจากนี้ยังมีเครื่องมือหรือ
อุปกรณ์ อื่น ๆ ที่เป็นอุปกรณ์สาหรับงานขึ้นรูปเครื่องปั้นดินเผาทั่วไปทั่วไปแต่จาเป็นที่สาคัญสาหรับการใช้งานขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน โดยเครื่องมือและ
อุปกรณ์ที่ใช้ขึ้นรูปด้วยแป้นหมุนเหล่านี้มีดังนี้
 1 แผ่นรองขึ้นรูป
เป็นเครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่ช่วยให้ผู้ขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน สามารถเคลื่อนย้ายผลิตภัณฑ์ที่ขึ้นรูปเสร็จออกมาจากเครื่องแป้นหมุนได้สะดวกขึ้น
โดยไม่ต้องสัมผัสกับตัวผลิตภัณฑ์ที่ยังอ่อนนุ่ม อาจทาให้เสียรูปทรงและพื้นผิว (texture) ซึ่งอาจถูกทาลายได้ซึ่งแผ่นรองนี้ทาจากปูนปลาสเตอร์หรือจากไม้
มีรูปทรงกลม หรือทรงสี่เหลี่ยมก็ได้ การใช้งานแผ่นรองโดยการใช้ดินเหนียวที่มีความอ่อนนุ่มมากกว่าปกติเป็นตัวเชื่อมประสานระหว่างแผ่นรองและผิวด้านหน้า
ของหัวแป้นหมุนและอาจใช้ดินเหนียวยึดติดที่ด้านข้างเพิ่มได้
 2 ฟองน้า
ในการขึ้นรูปด้วยแป้นหมุนน้ามีส่วนช่วยให้ดินที่ปั้นเกิดความลื่นดังนั้นฟองน้าให้การขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน ดังนั้นเราใช้ฟองน้ามาใช้ซับน้าส่วนเกิน
ขณะปั้น หรือใช้ฟองน้าซับน้าแล้วบีบชโลมใส่เนื้อดินปั้นและช่างปั้นบางคนใช้ฟองน้าในการประคองรูปทรง ใช้เช็ดทาความสะอาดแป้นหมุนลือของช่างปั้นเอง
 3. เครื่องมือช่วยในการปรับแต่งรูปทรง
เครื่องมือทาด้วยไม้ ยาง พลาสติก หรือแผ่นโลหะ ออกแบบมาเพื่อช่วยในการขึ้นรูปตามความเหมาะสมทาให้การขึ้นรูปด้วยแป้นหมุนมีความสะดวก
และขึ้นรูปได้รวดเร็วตรงตามความต้องการ เครื่องมือช่วยในการปรับแต่งรูปทรงนี้ถูกออกแบบมาให้มีขนาด และรูปร่างรูปทรงต่างๆกันเพื่ออานวยความสะดวกใน
การปั้นของช่างปั้น
 4 เครื่องมือวัด
เครื่องมือวัดสามารถวัดขนาดความกว้าง ความยาว ความสูง รวมทั้งวัดขนาดได้ทั้งภายในและภายนอกของผลิตภัณฑ์หรือภาชนะที่มีรูปทรงกลม เช่นวัด
ขอบถ้วยด้านนอก ขอบฝากาน้าชาด้านใน เป็นต้น
 5 ถุงพลาสติก
มีไว้สาหรับเก็บใส่เนื้อดินหรือคลุมผลิตภัณฑ์ที่ขึ้นรูปเสร็จแล้วไม่ต้องการให้อากาศถ่ายเทถ้าอากาศถ่ายเทในเนื้อดินปั้นมีผลทาให้เนื้อดินปั้นหรือ
ผลิตภัณฑ์แห้ง
 6. กระดาษทรายและสก๊อตไบรต์
หลังจากผลิตภัณฑ์หมาดดีแล้วหรือแห้งแล้ว หากเราต้องการให้พื้นผิวผลิตภัณฑ์มีความเรียบจะใช้กระดาษทรายและสก๊อตไบรต์เป็นตัวขัดแต่ง
 7. คอนเนกส์
เป็นภาชนะที่รองรับผลิตภัณฑ์ที่ขึ้นรูปด้วยแป้นหมุนที่ทาการขูดแต่งก้นภาชนะ ผิวภาชนะบนแป้นหมุน ทาด้วยดินเหนียวที่ขึ้นรูปทรงต่างๆ เช่น ทรง
กรวย ทรงกระบอกมีความกว้าง ความสูงแตกต่างกันหลายขนาด แล้วปล่อยให้แห้งไม่ต้องเผา เวลาใช้ต้องนาฐานคอนเนกส์จุ่มน้าเพื่อให้ยึดติดกับตัวแป้น แล้ว
ใช้ดินเหนียวเปียกน้า แล้วยึดฐานคอนเนกส์กับแป้นจานวน 3 จุดเพื่อความมั่นคง แล้วจึงนาผลืตภัณฑ์ที่ต้องการขูดแต่งวางบนคอนเนกส์ให้ได้ศูนย์
 8. ถังน้า
น้ามีส่วนช่วยให้ดินที่ปั้นเกิดความลื่น เราใช้ถังน้าในการเป็นภาชนะใส่น้า ถังน้าควรมีขนาดเล็กลไม่สูงมากสามารถวางตรงขอบแป้นหมุน ไว้ใส่น้าจุ่มลูบ
ดินทาให้ง่ายต่อการปั้นและลื่นมือ
 10. เครื่องมือช่วยตัด
เป็นเครื่องมือที่ช่วยในการตัดปากภาชนะให้เรียบเสมอกันในขณะขึ้นรูปผลิตภัณฑ์ ที่มีรูปร่าง รูปทรงและขนาดแตกต่างกัน อาจทาจากวัสดุที่แตกต่างกันเช่น
ทาจากพลาสติก ไม้หรือสแตนเลส อาจมีลักษณะ เหมือนเข็ม มีรูปร่างเรียวเล็กยาว หรือแบนคล้ายใบมีด ใช้สาหรับตัดปากภาชนะให้ปากเรียบสม่าเสมอขนาด
เท่ากัน นอกจากนี้ ยังมีลวด เชือก หรือด้าย ใช้สาหรับตัดผลิตภัณฑ์ออกจากหัวแป้นหมุนในกรณีที่ไม่ได้ใช้แผ่นรองขึ้นรูป รวมทั้งใช้ตัด แบ่งก้อนดินเหนียวเพื่อ
พิจารณาฟองอากาศที่อยู่ในก้อนดิน ลักษณะของลวดตัด
 9. เครื่องมือขูด
ใช้สาหรับการปรับแต่งรูปทรง โดยการขูดเนื้อดินบริเวณผิวดินด้านนอกออกเหมือนการใช้กบไสไม้แต่แตกต่างกันที่รูปร่างรูปทรงของเครื่องมือขูด และ
หลักการขูด โดยเครื่องมือขูดดินมีลักษณะเป็นแผ่นเหล็กพับปลายสองข้างเป็นรูปตัวแซด ตัดและลับให้คมใช้ขูดดินเรียกว่าเหล็กขูด หากบริเวณที่ใช้ขูดดินเป็นเส้น
ลวด รูปทรงแตกต่างกัน ต่อกับด้ามจับที่ทาจากไม้หรือสแตนเลส หรือพลาสติกที่มีขนาดใหญ่กว่า แท่งดินสอเล็กน้อย เรียกว่า “ลวดขูด” เครื่องมือขูดดินทั้งสอง
ลักษณะใช้ขูดดินจากผลิตภัณฑ์ที่ขึ้นรูปเสร็จแล้วและเนื้อดินแข็งขึ้นเล็กน้อยหรือมีลักษณะเป็นดินหมาด
การเก็บรักษาเครื่องแป้นหมุน
เครื่องแป้นหมุนมีข้อคานึงในการใช้และการบารุงรักษาดังต่อไปนี้
 1. เครื่องแป้นหมุนที่ใช้ไฟฟ้าควรต่อสายไฟลงดินก่อนการใช้งาน โดยปกติเครื่อง แป้นหมุนไฟฟ้าที่สร้างมาอย่างได้มาตรฐานจะมีส่วนป้องกันน้าในบริเวณ
ที่มีกระแสไฟฟ้าแต่ ผู้ปฏิบัติงานควรสวมใส่รองเท้ายางหุ้มส้นเสมอเพื่อป้องกันการถูกกระแสไฟฟ้าดูด
 2. เครื่องแป้นหมุนควรวางให้ได้ระดับ เพราะการวางเครื่องแป้นหมุนไม่ได้ระดับ จะมีปัญหาในการขึ้นรูปภาชนะที่มีขนาดใหญ่ซึ่งมักจะเสียศูนย์เอียงและ
ล้มได้ง่าย
 3. การเคลื่อนย้ายเครื่องแป้นหมุนไม่ควรดึงหรือลากเพื่อรักษาความเที่ยงตรงหรือ ศูนย์ของหัวแป้นและแกน รวมทั้งระนาบของพื้นผิวหัวแป้น
 4. ไม่ควรวางวัตถุที่มีน้าหนักมากลงบนหัวแป้น โดยปกติแป้นหมุนที่ดีจะออกแบบ มาให้รับน้าหนักของก้อนดินได้มากพอสมควร การรับน้าหนักของหัว
แป้นมากเกินไปจะทาให้ขาดความเที่ยงตรงของศูนย์และเสียระดับในแนวระนาบของพื้นผิวหัวแป้น
 5. ไม่ควรวางวัตถุแหลมคมบนหัวแป้น เพราะเมื่อเครื่องทางานจะหมุนเหวี่ยง ทุกอย่างออกจากหัวแป้นทาให้ได้รับอันตรายได้
 6. ควรทาความสะอาดเครื่องแป้นหมุนหลังการใช้งานเสมอ บริเวณหัวแป้นที่ทาจากเหล็กควรเช็ดให้แห้งหากปล่อยทั้งไว้จะเกิดสนิม และสนิมนี้จะปะปนไป
อยู่ในเนื้อดินต่อไป
 7. ควรหลีกเลี่ยงการใช้ปูนปลาสเตอร์กับเครื่องแป้นหมุน เนื่องจากเศษปูน ปลาสเตอร์ที่เข้าไปปนในเนื้อดินปั้นจะส่งผลทาให้เกิดตาหนิหลังเผาได้
 8. การใช้งานเครื่องแป้นหมุนและเครื่องจักรที่ใช้มอเตอร์ทุกชนิด ผู้ใช้งานควรแต่ง กายรัดกุม ไม่ควรปล่อยผมและเครื่องแต่งกายอื่น เช่น แขนเสื้อ เน็ค
ไท ชายเสื้อ เป็นต้น ให้ยาว รุ่มร่าม จนสามารถเข้าไปพันกับเครื่องได้

More Related Content

Viewers also liked (7)

บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
Nrru 003
Nrru 003Nrru 003
Nrru 003
 
Nrru 001
Nrru 001Nrru 001
Nrru 001
 
Nrru 002
Nrru 002Nrru 002
Nrru 002
 
Nrru 004
Nrru 004Nrru 004
Nrru 004
 

More from Smile Suputtra

บทที่5 จานชัย
บทที่5 จานชัยบทที่5 จานชัย
บทที่5 จานชัยSmile Suputtra
 
บทที่4 จานชัย
บทที่4 จานชัยบทที่4 จานชัย
บทที่4 จานชัยSmile Suputtra
 
วิธีเคลือบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์
วิธีเคลือบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์วิธีเคลือบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์
วิธีเคลือบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์Smile Suputtra
 
การออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์
การออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์การออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์
การออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์Smile Suputtra
 

More from Smile Suputtra (10)

บทที่5 จานชัย
บทที่5 จานชัยบทที่5 จานชัย
บทที่5 จานชัย
 
บทที่4 จานชัย
บทที่4 จานชัยบทที่4 จานชัย
บทที่4 จานชัย
 
วิธีเคลือบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์
วิธีเคลือบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์วิธีเคลือบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์
วิธีเคลือบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
การออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์
การออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์การออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์
การออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิกส์
 
ชล2 (1) (3) (2)
ชล2 (1) (3) (2)ชล2 (1) (3) (2)
ชล2 (1) (3) (2)
 
อ.ชล1
อ.ชล1อ.ชล1
อ.ชล1
 
อ.ชล2
อ.ชล2อ.ชล2
อ.ชล2
 
อ.ชล2
อ.ชล2อ.ชล2
อ.ชล2
 

บทที่3 pptx

  • 2. การขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน  เครื่องปั้นดินเผาเป็นการนาวัตถุดิบประเภทดิน และหินมาผสมเป็นอัตราส่วนในรูปเนื้อดินปั้น จากนั้นนามาขึ้นรูปเป็นรูปทรงด้วยวิธีการต่างๆ ตามลักษณะ ของเนื้อผลิตภัณฑ์วิธีการขึ้นรูป ได้แก่ การขึ้นรูปด้วยมือ (Hand forming) การขึ้นรูปด้วยวิธีการหล่อแบบ (slip casting) การขึ้นรูปด้วย ใบมีด (jiggering หรือ jellying) การขึ้นรูปด้วยการรีด (extruding) การขึ้นรูปด้วยการอัด (pressing) และการขึ้นรูปด้วยแป้น หมุน โดยการขึ้นแป้นหมุนออกแบบมาให้ปั้นภาชนะที่เป็นทรงกลมในความหนาที่แตกต่างกัน แต่สามารถเปลี่ยนแปลงได้หลากหลายรูปทรง การปั้นด้วย แป้นหมุนสามารถปั้นภาชนะทรงกลมได้เร็วกว่าการปั้นด้วยมือ แต่ต้องมีความชานาญโดยช่างปั้นต้องฝึกฝนอย่างยาวนานจึงจะมีประสบการณ์ และมีความ ชานาญปั้นได้อย่างรวดเร็ว และถูกต้องแม่นยา ดังนั้นเนื้อหาในบทนี้เป็นเนื้อหาที่นาไปสู่การเรียนรู้ในรายวิชาการขึ้นรูปด้วยแป้นหมุนเบื้องต้น เนื้อหาในบทนี้ ประกอบด้วย ประวัตความเป็นมาของการขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน ความสาคัญ ประโยชน์ ลักษณะ และระบบการทางานของแป้นหมุน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ ใช้ในการขึ้นรูปด้วยแป้นหมุนดังมีรายละเอียดเนื้อหาดังนี้
  • 3. ประวัติและวิวัฒนาการของการขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน  การขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน มีวิธีการโดยการนาก้อนดินเหนียววางตรงศูนย์กลางของแป้นที่หมุนโดยใช้สายพานเชื่อมต่อกับมอเตอร์ไฟฟ้าหรือใช้เท้าและใช้มือ ไม่มีหลักฐานปรากฏแน่ชัดว่าแป้นหมุน เริ่มมีใช้ตั้งแต่เมื่อใด แต่มีนักวิชาการมีเชื่อว่า เครื่องปั้นดินเผาถูกสร้างขึ้นครั้งแรกในช่วงประมาณ 8,000– 1,400ปีก่อนคริสต์ศักราช ในสมัยเมโสโปเตเมีย (Mesopotamia) โดยมีการพบชิ้นส่วนของผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการขึ้นรูปด้วยแป้นหมุนทาง ตอนใต้ของยุโรป อียิปต์ และในภูมิภาคอื่น ๆ ที่เชื่อว่ามีการใช้แป้นหมุนในช่วง ระยะเวลาใกล้เคียงกัน โดยพบบันทึกเกี่ยวกับการขึ้นรูปด้วยแป้นหมุนของ ชาวอียิปต์ (Egyptians) ในยุคกลางของอาณาจักรอียิปต์โบราณ ในยุคแรกการขึ้นรูปเครื่องปั้นดินเผาใช้วิธีการขด ซึ่งผู้ขึ้นรูปต้องใช้การขดดินบน ฐานรองและเดินหมุนไปรอบ ๆ ฐานรองแทนซึ่งมีความเป็นไปได้ว่าวิธีนี้ได้พัฒนาการมาเป็นการขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน สุขุมาล เล็กสวัสดิ์ (2548:78) ได้ กล่าวไว้ว่า การใช้แป้นหมุนเริ่มมีขึ้นตั้งแต่ 5,000 ปีก่อนคริสต์ศักราชจากอียิปต์ตะวันออกกลางและเอเชีย จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใช้แป้นหมุนตั้งแต่ 3,500 ปี การขึ้นรูปด้วยแป้นหมุนเริ่มแรกจะใช้เท้าถีบตัวแป้นหมุน ต่อมาใช้มือหมุนแทนเท้าถีบ ส่วนแป้นหมุนของจีนใช้คนจานวนสองคนในการขึ้นรูป คนหนึ่งใช้มือในการขึ้นรูปภาชนะอีกคนใช้เท้าถีบหรือใช้มือหมุนทาให้สะดวกรวดเร็วในการปั้นขึ้นรูปทั้งยังสามารถขึ้นรูปผลิตอภัณฑ์ขนาดใหญ่ได้ อินเดีย ได้พัฒนาโดยใช้ไม้มาช่วยในการหมุน ทาให้มีกาลังมากสามารถผลิตได้รวดเร็วเช่นกัน การขึ้นรูปด้วยแป้นหมุนได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจากการที่ใช้ แรงงานคนในการหมุนเครื่องแป้นหมุน จนปัจจุบันได้ใช้กาลังไฟฟ้าเป็นพลังงานเพื่อช่วยหมุนแป้นก็ตาม แต่มีสิ่งหนึ่งที่ไม่ว่าระยะเวลาจะยาวนานเท่าใดการ ขึ้นรูปด้วยแป้นหมุนก็ยังคงต้องใช้ทักษะความชานาญของช่างปั้น
  • 4. หลักวิธีการขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน  การปั้นบนแป้นหมุน( Throwing on the Potter’s Wheel ) การปั้นวิธีนี้เข้าใจว่าเป็นวิธีแรกทีใช้แป้นเป็นเครื่องประกอบ แป้นหมุน อันแรกทาด้วยหิน ซึ่งสลักให้มีรูปกลม ตั้งอยู่บนก้อนหิน หมุนด้วยมือ ซึ่งเป็นการยากลาบากมากกว่าจะทาให้แป้นหมุนได้เที่ยง ครั้นต่อมาแป้นได้ถูก ดัดแปลงจากหินมาทาด้วยไม้ซีเมนต์ แผ่นเหล็ก ปูนพลาสเตอร์ หรือทาด้วยล้อรถยนต์ มีเพลาเหล็กและลูกปืนรองรับ ทาให้หมุนได้เที่ยงแน่นอน ใช้หมุน ด้วยมือหรือฝ่าเท้าหรือหมุนด้วยเครื่องยนต์ไฟฟ้า การปั้นบนแป้นหมุนนี้จะได้เฉพาะภาชนะที่มีรูปกลมและปั้นด้วยดินเหนียว ทาให้เป็นรูปภาชนะต่างๆได้ โดยการรีดบีบเนื้อดินเหนียวด้วยมือบนแป้นหมุน ใช้หมุนด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า เครื่องมือแป้นหมุน มีทั้งชนิดยืนและนั่ง ความเร็วที่ใช้ 2-3 จังหวะ ความเร็วรอบของแป้นหมุนที่เป็นมาตรฐานประมาณ 80 รอบต่อนาที ดินที่นามาปั้นต้องเป็นดินชนิดที่มีความเหนียวจึงจะช่วยให้การขึ้นรูปได้ผลดี การขึ้น รูปแบบแป้นหมุนต้องอาศัยการฝึกฝนและทักษะพอสมควร จึงจะสามารถขึ้นรูปได้ดี โดยวิธีการขึ้นรูปบนแป้นหมุน
  • 5. หลักวิธีการขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน มีขั้นตอนดังนี้  1. การตั้งดินให้ได้ศูนย์ นับว่าสาคัญมากแล้วใช้มือทั้งสองกดและดึงดินขึ้นหลาย ๆ ครั้ง เพื่อให้ดินเกาะกับแป้นหมุน ข้อศอกและแขนจะต้องไม่แกว่ง ความเร็วของแป้นหมุนช่วงนี้จะต้องใช้ความเร็วสูง ใช้น้าผสมเข้าช่วยในการตั้งศูนย์  2.เมื่อตั้งดินได้ศูนย์ดีแล้ว ใช้หัวแม่มือกดดินให้ลึกลงไปเป็นรูกลวง แต่อย่าให้ลึกถึงแป้นหมุน  3. การดึงดินขึ้น เทคนิคและวิธีการตอนนี้สาคัญมาก โดยใช้มือข้างซ้ายและข้าวขวาดึงดินขึ้น ให้ได้ความสูงตามต้องการ ในขณะที่ดึงดินขึ้นต้องให้อยู่ใน แนวดิ่งอย่าให้เอียงไปทางใดทางหนึ่ง ความเร็วที่ใช้ระดับปานกลาง  4.การทารูปทรงต่าง ๆ ใช้นิ้วมือกดและดันให้ได้รูปทรงตามต้องการหรือจะใช้เครื่องมือที่เตรียมไว้ก็ได้ ตอนปากรูปทรงไม่สม่าเสมอควรใช้ เครื่องมือตัดทิ้งเสียก่อนแล้วจึงค่อยขึ้นรูปใหม่  5.ขึ้นตกแต่งหรือขั้นสาเร็จ ขึ้นนี้ต้องรอให้ดินที่ปั้นภาชนะหมาด ๆ เสียก่อน แล้วใช้เครื่องมือขูดผิวให้เรียบร้อย ใช้ฟองน้าลูบให้เรียบอีกครั้ง
  • 6. ประโยชน์และความสาคัญ  1. ประโยชน์ของแป้นหมุน การขึ้นรูปด้วยแป้นหมุนเป็นวิธีการการขึ้นรูปเครื่องปั้นดินเผาที่ได้รับความนิยม และใช้กันมอย่างแพร่หลายตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ประโยชน์ของแป้น หมุนในฐานะเป็นเครื่องมือที่ประดิษฐ์ขึ้นมาเพื่อช่วยในการผลิตภาชนะเครื่องปั้นดินเผาให้สะดวกและรวดเร็วขึ้น ในหัวข้อนี้จะกล่าวถึงประโยชน์ของการขึ้นรูปด้วย แป้นหมุนที่สาคัญ พอสังเขปดังนี้ 1.1 ด้านการผลิต ในการผลิตเครื่องปั้นดินเผามีความจาเป็นที่ผูผลิตต้องคานึงถึงการวิธีการขึ้นรูปที่ประหยัดเวลาในการทางาน และได้งานที่เรียบร้อย สม่าเสมอรวดเร็ว ช่วยทุ่นแรงในการทางานลงไปได้มาก เพิ่มจานวนการผลิตได้คือ สามารถผลิตได้เป็นจานวนมากในระยะเวลาเพียงสั้นๆทันตามความต้องการ ของตลาด การขึ้นรูปด้วยแป้นหมุนเป็นวิธีหนึ่งที่ตอบสนองความต้องการในการผลิตในส่วนของภาชนะเครื่องปั้นดินเผาเพราะได้งานที่มีปริมาณมาก สามารถทาใน ระบบอุตสาหกรรมได้
  • 7.  1.2. ด้านการใช้สอย ประโยชน์ของการขึ้นรูปเครื่องปั้นดินเผาด้วยแป้นหมุนกับการใช้สอยและประดับตกแต่ง ได้แก่ เครื่องครัว และของใช้ภายในบ้าน เช่น ถ้วย ชาม จาน แจกัน และที่เขี่ยบุหรี่ เครื่องประดับ เป็นของที่ระลึกในโอกาสต่างๆ เป็นภาชนะสาหรับใช้สอยในชีวิตประจาวัน อาจจะนามาใช้ในการบรรจุ อาหารต่างๆ ใช้ในการหุงต้มอาหาร ในสมัยก่อนใช้เครื่องปั้นดินเผาในการบรรจุศพเด็ก ใช้โรยหลุมศพ ภาชนะเหล่านี้ถูกสร้างสรรค์ขึ้นด้วยการขึ้นรูปด้วย แป้นหมุนแทบทั้งสิ้น  1.3. ด้านประดับตกแต่ง ในการสร้างผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผาเป็นเครื่องประดับตกแต่งด้วยแป้นหุน ในปัจจุบันเครื่องปั้นดินเผาที่ทาออกมาส่วนใหญ่ล้วนแต่ ทาขึ้นมาเน้นเป็นเครื่องประดับตกแต่งเสียส่วน มาก โดยเน้นความสวยงามทางด้านสีสัน ลักษณะรูปทรง หรือความแปลกใหม่ เช่น แจกันรูปทรงต่างๆ ตุ๊กตา เครื่องปั้นดินเผา เป็นการสร้างงานศิลปะที่ให้คุณค่าความงามของจิตใจ  1.4. ด้านเศรษฐกิจ ความสามารถผลิตสินค้าเครื่องปั้นดินเผาสินโดยเพิ่มรายได้ให้แก่ชุมชน เพราะหากตั้งใจผลิตขึ้นมาด้วยความประณีต ขนาดมีมาตรฐาน มี เอกลักษณ์ของตนเองและชุมชน เช่น เครื่องปั้นดินเผาด่านเกวียนที่มีเอกลักษณะในการขึ้นรูปด้วยแป้นหมุนแบบใช้แรงคนเหวี่ยง ก็จะสามารถนามาสร้างเป็น สินค้าได้เป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวและสร้างรายได้อีกทางหนึ่ง ทาให้ชุมชนและช่างปั้นสามารถหันมายึดวิถีทางการทาเครื่องปั้นดินเผาเป็นอาชีพได้
  • 8.  2.ความสาคัญ การขึ้นรูปด้วยแป้นหมุนเป็นการสร้างสรรค์จากแนวความคิดสู่การขึ้นรูปโดยอาศัยเครื่องมือช่วยคือแป้นหมุนสร้างเนื้อดินปั้นให้เป็นรูปทรงต่างๆ แป้นหมุนจึงมี ความสาคัญต่อกระบวนการสร้างผลิตภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผา ดังนี้  1. สัญลักษณ์ที่แสดงถึงศิลปวัฒนธรรมของแต่ละชาติสืบต่อเนื่องกันมา สัญลักษณ์ที่แสดงถึงศิลปวัฒนธรรมคือ แป้นหมุนถูกสร้างขึ้นเพื่อผลิตเครื่องปั้นดินเผาให้เป็นเครื่องมือเครื่องใช้ที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกับวิถีชีวิตของมนุษย์ อย่างแนบแน่นมาเป็นเวลายาวนาน ทั้งนี้เพราะการขึ้นรูปเครื่องปั้นดินเผาด้วยแป้นหมุนที่สร้างขึ้นบนเงื่อนไขความต้องการของสังคมที่เป็นเจ้าของ เป็นผลงานจากมันสมอง และฝีมือแนวคิดของผู้สร้าง ซึ่งไม่ได้มีความหมายแต่เพียงคุณค่าทางสุนทรียะเท่านั้น หากแต่ยังเป็นงานช่างฝีมือที่แสดงถึงภูมิปัญญาและพัฒนาการทางด้านเทคโนโลยีของ ชุมชนที่สั่งสมและสืบเนื่องกันมาเป็นเวลานาน หรือประดิษฐ์วัตถุเครื่องใช้ต่างๆ เป็นแบบของตนเองหรือบางครั้งอาจจะได้รับอิทธิพลจากประเทศใกล้เคียง  2. การสร้างภาชนะเครื่องใช้ในชีวิตประจาวัน จากหลักฐานการขุดค้นทางโบราณคดี สันนิษฐานว่า การทาหม้อปั้นดินเผาขึ้นเป็นภาชนะสาหรับใช้หุงข้าว คงจะเกิดขึ้นเพราะความจาเป็นทางความเป็นอยู่ของคนที่ อยู่ในวัฒนธรรมเกษตร ซึ่งได้คิดทาหม้อข้าวขึ้นในภาคอีสานมีการเก็บถนอมอาหาร เช่นปลาร้า หรือนาใส่ของเหลว จึงนาเครื่องปั้นดิน เผามาใช้ในการถนอมรักษาอาหาร และใส่น้าดื่ม หม้อดินเป็นอุปกรณ์สาคัญในการต้มยารักษาโรค มาแต่โบราณภาชนะเหล่านี้ ล้วนถูกสรรค์สร้างด้วยเครื่องปั้นดินเผาที่ขึ้นรูปด้วยแป้นหมุนแทบทั้งสิ้น เช่น การปั้นไหที่บ้านท่าไห จ้งหวัดอุบลราชธานี
  • 9.  3. เกี่ยวกับความเชื่อและพิธีกรรม แป้นหมุนสาหรับการขึ้นรูปเครื่องปั้นดินเผามีความสาคัญในฐานะสิ่งที่ประดิษฐ์ขึ้นมาเพื่อความจาเป็นในการดารงชีวิตแล้ว มนุษย์ยังใช้ เครื่องปั้นดินเผาในการประกอบพิธีกรรมเกี่ยวกับความเชื่อของสังคมเช่น ใช้ไหดินเผาบรรจุศพ ทั้งแบบบรรจุลงทั้งโครงและแบบบรรจุกระดูกบางส่วนลงไหซึ่งเป็น ประเพณีการปลงศพแบบโบราณอีกแบบหนึ่ง ซึ่งได้รับความนิยมมากในกลุ่มชนโบราณในเอเชีย นอกจากนั้นบางทีได้ฝังภาชนะดินเผาลงพร้อมกับศพผู้ตายใน จังหวัดบุรีรัมย์ อาเภอบ้านกรวดและอาเภอละหานทราย บางท้องถิ่นได้ใช้ภาชนะประเภทตลับ โถ ไห แบบต่างๆนามาบรรจุอัฐิและอังคาร ลักษณะรูปแบบภาชนะ ดินเผาที่ใช้บรรจุอิฐนี้จะมีลักษณะพิเศษเช่น ไหรูปช้าง โถรูปลิงหรือ คนโทที่มีรูปหน้าคน หรือกระปุกที่มีฝาเป็นรูปหน้าคน ซึ่งส่วนใหญ่เมื่อบรรจุอัฐิแล้วจะนาไปฝัง ไว้รอบฐานอาคาร และ ศาสนสถาน พิธีกรรมที่ถูกจัดขึ้นโดยคนส่วนรวมในสังคม โดยมากแล้วจะเป็นพิธีที่ก่อให้เกิดความสุขแก่หมู่คณะ นามาซึ่งความอุดม สมบูรณ์แก่พืชพรรณธัญญาหาร ตลอดจนขจัดภัยพิบัติที่เกิดขึ้นในสังคม ในภาคอีสานจากหลักฐานบนภาชนะดินเผาที่ค้นพบที่บ้านเชียง ตาบลบ้านเชียง อาเภอ หนองหาน จังหวัดอุดรธานี ซึ่งทาเป็นรูปอวัยวะสืบพันธุ์ ที่ขูดลึกลงบนผิวภาชนะดินเผาสีเทาเป็นรูปอวัยวะเพศชายและหญิงอยู่ด้วยกัน นอกจากนี้ยังพบเขาสัตว์ จาหลักเป็นอวัยวะสืบพันธุ์ของ ผู้ชายอีกด้วย จากหลักฐานดังกล่าวแสดงให้เห็นว่ามนุษย์ในดินแดนแถบนี้มีคติความเชื่อเกี่ยวกับ ความอุดมสมบูรณ์
  • 10. ประเภทของแป้นหมุน แป้นหมุน มีหลายชนิดประเภทการเลือกใช้แป้นหมุนขึ้นอยู่กับความต้องการของช่างปั้นตามที่ได้กล่าวไว้แล้ว สามารถแบ่งออกเป็น 2 ชนิดได้แก่แป้น หมุนที่ใช้แรงคนหมุนและแป้นหมุนที่ใช้ระบบมอเตอร์ไฟฟ้าเป็นแรงหมุน ซึ่งทั้ง 2 ชนิดแบ่งออกเป็นลักษณะต่างๆได้พอสังเขปดังนี้  1. แป้นหมุนชนิดใช้แรงคน ประกอบไปด้วย 1.1 แป้นหมุนชนิดใช้เท้าถีบกับแป้น ( kick Wheel ) ตัวแป้นมีขนาดค่อนข้างใหญ่น้าหนักมากลักษณะของแป้นจะอยู่ต่าคือสูงจากพื้นดินเพียง เล็กน้อย เพื่อสะดวกต่อการใช้เท้าถีบให้หมุน หรืออาจมีคนช่วยถีบหรือโดยการใช้มือช่วยหมุนแป้นให้คนปั้นก็ได้เช่นกัน ซึ่งตัวแป้นจะทาด้วยไม้เนื้อแข็ง หรือโดย การใช้ปูนซีเมนต์เททับลงบนกระทะล้อรถยนต์โดยตลับลูกปืนโดยมีแกนแป้นที่สั้นอยู่ข้างล่างช่วยให้หมุนได้คล่องและนาน เหมาะสาหรับไว้ขึ้นผลิตภัณฑ์ขนาด ใหญ่ เพราะตัวแป้นสามารถรับน้าหนักตัวผลิตภัณฑ์ได้มาก ตัวแป้นจะนิ่งสะเทือนในขณะที่ทาการปั้น แต่ผู้ที่ถีบแป้นหรือหมุนแป้นจะต้องออกแรงมาก เพราะมี่ เครื่องทุ่นแรงใดๆช่วย แป้นชนิดนีในปัจจุบันก็ยังนิยมตามชนบทที่ทาผลิตภัณฑ์เซรามิกส์แบบพื้นบ้านที่มีขนาดใหญ่ เช่นแจกันใบใหญ่ โอ่งไห และอ่างบัว เป็นต้น
  • 11.  1.2 แป้นหมุนชนิดที่มีคันสาหรับใช้เท้าถีบ แป้นหมุนชนิดนี้ตัวแป้นจะมีข้อต่อที่เชื่อมไปยังล้อถ่วง แล้วมีคันโยกจากแกนหรือเพลาออกไปเป็นที่เท้าถีบ เวลาออกแรงถีบจะทาให้แป้นหมุนเพราะน้าหนักของล้อข้างล่าง ในการออกแรงใช้เท้าถีบจะน้อยกว่าแป้นแรก โดยขณะที่ทาการปั้นคันโยกที่ต่อออกมา สาหรับใช้เท้าถีบจะเคลื่อนไหวตาจังหวะการหมุนของแป้นตลอดเวลา แป้นชนิดนี้โครงภายนอกจะทาด้วยไหรือโลหะก็ได้ระดับของตัวแป้นที่ปั้นจะมีความสูง โดยประมาณ 75-80 เซนติเมตร  1.3 แป้นหมุนชนิดที่ใช้มือหมุน แป้นชนิดนี้นิยมใช้ในหมู่ช่างปั้นพื้นบ้านมีชื่อเรียกตามพื้นถิ่น เช่นพะมอน แป้นหมุนดินเผาด่านเกวียน จังหวัดนคราช สีมา ลักษณะเป็นแป้นหมุนวงกลม โดยช่างปั้นและลูกศิษย์ (คนหมุนพะมอน) จะทางานร่วมกัน โดยช่างปั้นจะนาดินเหนียวขึ้นล่อ ( แปะดินขึ้นรูป )ไล่ รูปทรงขึ้นเรื่อยๆตามความต้องการของขนาดภาชนะในขณะที่ลูกศิษย์จะทาหน้าที่หมุนพะมอนตามจังหวะที่ช่างปั้นต้องการและสัมพันธ์กัน และตลอดเวลา การขึ้นรูปนั้น ช่างปั้นจะต้องใช้ผ้าชุบน้าซับดินที่ขึ้นรูปเพื่อป้องกันดินแห้ง ในอดีตพะมอนจะทาด้วยไม้ ปัจจุบันตัวพะมอนจะทาด้วยโลหะ แป้นหมุนมือ บ้านเหมืองกุง จังหวัดเชียงใหม่ที่เรียกว่า “จ๊าก” ซึ่งเป็นคาไทยลื้อ เป็นแป้นหมุนที่ทาขึ้นอย่างง่ายๆ โดยกลึงไม้สักให้เป็นแป้นกลม ด้านบนเรียบแต่ด้านล่าง มีแกนหนา และตรงกลางมีรูเสียบด้ามไม้ไผ่ แกนกลางไม้ไผ่เสียบแท่งโลหะปักยึดไว้กับพื้นดิน ส่วนตัวด้ามไม้ไผ่ชาวบ้านเหมืองกุงได้มีการดัดแปลงใช้ท่อ น้าพาสติก (ท่อ PVC) มาใส่แทน เพราะขนาดพอเหมาะและทนทานกว่า นอกจากนี้ ยังมีการดัดแปลงแท่นเสียบ “จ๊าก” โดยสร้างเป็นแท่นเหล็กปัก “จ๊าก” จากเหล็กเส้นและปักลงดินหรือทาฐานปักแท่นด้วยการหล่อปูนซีเมนต์
  • 12.  2. แป้นหมุนไฟฟ้า แป้นหมุนไฟฟ้าเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการขึ้นรูปเครื่องปั้นดินเผาที่นิยมกันอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน มีความสะดวกแก่ผู้ใช้ แป้นหมุนไฟฟ้ามีอยู่หลายแบบหลายชนิด แบ่งออก พอสังเขปดังนี้ 2.1 แป้นหมุนไฟฟ้าแบบนั่งทางาน โดยลักษณะของตัวแป้นจะอยู่ต่าสูงมากนักพอดีหรือเสมอที่นั่ง เวลาปั้นช่างปั้นจะนั่งลงกับที่นั่งแล้วทาการปั้น มีระบบการหมุนของแป้นหมุนแบ่งออกดังนี้ 2.1.1 ระบบการหมุนของแป้นมีแบบการหมุนด้วยสายพาน บางชนิดจะใช้อเตอร์เพียงตัวเดียวแล้วต่อกับแป้นหมุนหนึ่งที่ หรือต่อกับแป้นหมุนหลายๆตัวบางที่เรียก แป้น ราว มีความเร็วรอบบางชนิดคงที่ บางชนิดสามารถปรับความเร็วรอบได้ ข้อเสียคือเวลาใช้ดินปั้นก้อนใหญ่มีน้าหนักมากจับบนแป้นอาจทาให้แป้นฟรีได้ 2.1.2 ระบบการหมุนของแป้นมีแบบการหมุนด้วยเฟืองแป้นโดยแกนมอเตอร์ ระบบนี้จะมีกาลังในการหมุนมากกว่าแบบสายพานในขณะที่กาลังมอเตอร์เท่ากันไต้องกังวลเรื่องแป้น หมุนฟรี จึงเหมาะกับการปั้นผลิตภัณฑ์ที่ขนาดใหญ่ ปกติจะสารถปรับความเร็วรอบได้แต่มีราคาค่อนข้างแพง 2.2 แป้นหมุนไฟฟ้าแบบยืนทางาน แป้นหุนชนิดนี้ส่วนมากจะใช้สายพานในการหมุน เวลาปั้นต้องยืนปั้น มีความเร็วรอบคงที่และสามารถปรับรอบควาเร็วได้ การปั้นส่วนใหญ่จะปั้นได้ผลิตภัณฑ์ขนาดเล็กจนถึงปานกลาง ปั้นผลิตภัณฑ์ขนาดใหญ่ได้ลาบากเนื่องจากไม่สามารถดึงดินให้สูงต่อเนื่องได้เพราะตัวแป้นมีความสูงจากพื้นประมาณ 75 – 80 เซนติเตร ปกตทั่วไปแป้นหมุนจะมีเบรกให้หยุดโดยการ เหยียบ มีสวิตซ์ปิด เปิดและรอบการหมุนตามต้องการ 2.3. แป้นหมุนที่สามารถปรับตัวแป้นให้เลื่อนขึ้น ลง และคว่าหงายได้ แป้นหมุนชนิดนี้ส่วนมากตัวแป้นจะยึดอยู่กับแกนเหล็กที่ปรับสูงและต่าเลื่อนขึ้น ลง ด้วยระบบเฟืองและยังสามารถปรับให้คว่าหงายได้อีก จากลักษณะพิเศษนี้จะช่วยให้ปั้นผลิตภัณฑ์ที่ มีรูปแบบทรงสูงที่ไม่กว้าง และใหญ่มากนักได้ดีกว่าการปั้นแป้นหมุนบนแป้นธรรมดาทั่วไป ในขั้นแรกจะปรับระดับตัวแป้นให้มีความสูงขนาดพอเหมาะในการจับศูนย์และเจาะศูนย์กลางดิน พอ ถึงขั้นการดึงดินจะต้องปรับตัวแป้นให้สูงขึ้นแล้วทาการคว่าแป้นลง จากนั้นทาการรีดดินหรือดึงดินให้เป็นรูปทรงกระบอกยาวลงมาข้างล่างจึงทาให้ปั้นได้สูงกว่าแป้นหมุนธรรมดา แป้นหมุนแบบนี้ ไม่ค่อยนิยมใช้ กันมากเนื่องจากราคาแพงและมีข้อจากัดในการขึ้นรูปคือจะขึ้นได้เฉพาะรูปทรงสูงเพียวเท่านั้น และผลิตภัณฑ์มักจะแตกร้าว
  • 13. เครื่องมือและอุปกรณ์ในการขึ้นรูป  การขึ้นรูปด้วยแป้นหมุนนั้นต้องใช้ทักษะทางมือมาก การใช้เครื่องมือที่มาช่วยให้การขึ้นรูปนั้นทาให้มีความสะดวกมากขึ้น โดยเฉพาะการแต่งให้ผลิตภัณฑ์ ที่ได้มีรูปทรงโค้งเว้าและกลมตามความต้องการ เครื่องมือและอึปกรณ์ที่ใช้ในการขึ้นรูปเหล่านี้ได้แก่ เครื่องมือขูดดิน (trimming tools หรือ turning tools) เครื่องมือ ช่วยตัด(cutting tools)และเครื่องมือวัด(measuring tools) นอกจากนี้ยังมีเครื่องมือหรือ อุปกรณ์ อื่น ๆ ที่เป็นอุปกรณ์สาหรับงานขึ้นรูปเครื่องปั้นดินเผาทั่วไปทั่วไปแต่จาเป็นที่สาคัญสาหรับการใช้งานขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน โดยเครื่องมือและ อุปกรณ์ที่ใช้ขึ้นรูปด้วยแป้นหมุนเหล่านี้มีดังนี้  1 แผ่นรองขึ้นรูป เป็นเครื่องมือหรืออุปกรณ์ที่ช่วยให้ผู้ขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน สามารถเคลื่อนย้ายผลิตภัณฑ์ที่ขึ้นรูปเสร็จออกมาจากเครื่องแป้นหมุนได้สะดวกขึ้น โดยไม่ต้องสัมผัสกับตัวผลิตภัณฑ์ที่ยังอ่อนนุ่ม อาจทาให้เสียรูปทรงและพื้นผิว (texture) ซึ่งอาจถูกทาลายได้ซึ่งแผ่นรองนี้ทาจากปูนปลาสเตอร์หรือจากไม้ มีรูปทรงกลม หรือทรงสี่เหลี่ยมก็ได้ การใช้งานแผ่นรองโดยการใช้ดินเหนียวที่มีความอ่อนนุ่มมากกว่าปกติเป็นตัวเชื่อมประสานระหว่างแผ่นรองและผิวด้านหน้า ของหัวแป้นหมุนและอาจใช้ดินเหนียวยึดติดที่ด้านข้างเพิ่มได้
  • 14.  2 ฟองน้า ในการขึ้นรูปด้วยแป้นหมุนน้ามีส่วนช่วยให้ดินที่ปั้นเกิดความลื่นดังนั้นฟองน้าให้การขึ้นรูปด้วยแป้นหมุน ดังนั้นเราใช้ฟองน้ามาใช้ซับน้าส่วนเกิน ขณะปั้น หรือใช้ฟองน้าซับน้าแล้วบีบชโลมใส่เนื้อดินปั้นและช่างปั้นบางคนใช้ฟองน้าในการประคองรูปทรง ใช้เช็ดทาความสะอาดแป้นหมุนลือของช่างปั้นเอง  3. เครื่องมือช่วยในการปรับแต่งรูปทรง เครื่องมือทาด้วยไม้ ยาง พลาสติก หรือแผ่นโลหะ ออกแบบมาเพื่อช่วยในการขึ้นรูปตามความเหมาะสมทาให้การขึ้นรูปด้วยแป้นหมุนมีความสะดวก และขึ้นรูปได้รวดเร็วตรงตามความต้องการ เครื่องมือช่วยในการปรับแต่งรูปทรงนี้ถูกออกแบบมาให้มีขนาด และรูปร่างรูปทรงต่างๆกันเพื่ออานวยความสะดวกใน การปั้นของช่างปั้น  4 เครื่องมือวัด เครื่องมือวัดสามารถวัดขนาดความกว้าง ความยาว ความสูง รวมทั้งวัดขนาดได้ทั้งภายในและภายนอกของผลิตภัณฑ์หรือภาชนะที่มีรูปทรงกลม เช่นวัด ขอบถ้วยด้านนอก ขอบฝากาน้าชาด้านใน เป็นต้น  5 ถุงพลาสติก มีไว้สาหรับเก็บใส่เนื้อดินหรือคลุมผลิตภัณฑ์ที่ขึ้นรูปเสร็จแล้วไม่ต้องการให้อากาศถ่ายเทถ้าอากาศถ่ายเทในเนื้อดินปั้นมีผลทาให้เนื้อดินปั้นหรือ ผลิตภัณฑ์แห้ง
  • 15.  6. กระดาษทรายและสก๊อตไบรต์ หลังจากผลิตภัณฑ์หมาดดีแล้วหรือแห้งแล้ว หากเราต้องการให้พื้นผิวผลิตภัณฑ์มีความเรียบจะใช้กระดาษทรายและสก๊อตไบรต์เป็นตัวขัดแต่ง  7. คอนเนกส์ เป็นภาชนะที่รองรับผลิตภัณฑ์ที่ขึ้นรูปด้วยแป้นหมุนที่ทาการขูดแต่งก้นภาชนะ ผิวภาชนะบนแป้นหมุน ทาด้วยดินเหนียวที่ขึ้นรูปทรงต่างๆ เช่น ทรง กรวย ทรงกระบอกมีความกว้าง ความสูงแตกต่างกันหลายขนาด แล้วปล่อยให้แห้งไม่ต้องเผา เวลาใช้ต้องนาฐานคอนเนกส์จุ่มน้าเพื่อให้ยึดติดกับตัวแป้น แล้ว ใช้ดินเหนียวเปียกน้า แล้วยึดฐานคอนเนกส์กับแป้นจานวน 3 จุดเพื่อความมั่นคง แล้วจึงนาผลืตภัณฑ์ที่ต้องการขูดแต่งวางบนคอนเนกส์ให้ได้ศูนย์  8. ถังน้า น้ามีส่วนช่วยให้ดินที่ปั้นเกิดความลื่น เราใช้ถังน้าในการเป็นภาชนะใส่น้า ถังน้าควรมีขนาดเล็กลไม่สูงมากสามารถวางตรงขอบแป้นหมุน ไว้ใส่น้าจุ่มลูบ ดินทาให้ง่ายต่อการปั้นและลื่นมือ
  • 16.  10. เครื่องมือช่วยตัด เป็นเครื่องมือที่ช่วยในการตัดปากภาชนะให้เรียบเสมอกันในขณะขึ้นรูปผลิตภัณฑ์ ที่มีรูปร่าง รูปทรงและขนาดแตกต่างกัน อาจทาจากวัสดุที่แตกต่างกันเช่น ทาจากพลาสติก ไม้หรือสแตนเลส อาจมีลักษณะ เหมือนเข็ม มีรูปร่างเรียวเล็กยาว หรือแบนคล้ายใบมีด ใช้สาหรับตัดปากภาชนะให้ปากเรียบสม่าเสมอขนาด เท่ากัน นอกจากนี้ ยังมีลวด เชือก หรือด้าย ใช้สาหรับตัดผลิตภัณฑ์ออกจากหัวแป้นหมุนในกรณีที่ไม่ได้ใช้แผ่นรองขึ้นรูป รวมทั้งใช้ตัด แบ่งก้อนดินเหนียวเพื่อ พิจารณาฟองอากาศที่อยู่ในก้อนดิน ลักษณะของลวดตัด  9. เครื่องมือขูด ใช้สาหรับการปรับแต่งรูปทรง โดยการขูดเนื้อดินบริเวณผิวดินด้านนอกออกเหมือนการใช้กบไสไม้แต่แตกต่างกันที่รูปร่างรูปทรงของเครื่องมือขูด และ หลักการขูด โดยเครื่องมือขูดดินมีลักษณะเป็นแผ่นเหล็กพับปลายสองข้างเป็นรูปตัวแซด ตัดและลับให้คมใช้ขูดดินเรียกว่าเหล็กขูด หากบริเวณที่ใช้ขูดดินเป็นเส้น ลวด รูปทรงแตกต่างกัน ต่อกับด้ามจับที่ทาจากไม้หรือสแตนเลส หรือพลาสติกที่มีขนาดใหญ่กว่า แท่งดินสอเล็กน้อย เรียกว่า “ลวดขูด” เครื่องมือขูดดินทั้งสอง ลักษณะใช้ขูดดินจากผลิตภัณฑ์ที่ขึ้นรูปเสร็จแล้วและเนื้อดินแข็งขึ้นเล็กน้อยหรือมีลักษณะเป็นดินหมาด
  • 17. การเก็บรักษาเครื่องแป้นหมุน เครื่องแป้นหมุนมีข้อคานึงในการใช้และการบารุงรักษาดังต่อไปนี้  1. เครื่องแป้นหมุนที่ใช้ไฟฟ้าควรต่อสายไฟลงดินก่อนการใช้งาน โดยปกติเครื่อง แป้นหมุนไฟฟ้าที่สร้างมาอย่างได้มาตรฐานจะมีส่วนป้องกันน้าในบริเวณ ที่มีกระแสไฟฟ้าแต่ ผู้ปฏิบัติงานควรสวมใส่รองเท้ายางหุ้มส้นเสมอเพื่อป้องกันการถูกกระแสไฟฟ้าดูด  2. เครื่องแป้นหมุนควรวางให้ได้ระดับ เพราะการวางเครื่องแป้นหมุนไม่ได้ระดับ จะมีปัญหาในการขึ้นรูปภาชนะที่มีขนาดใหญ่ซึ่งมักจะเสียศูนย์เอียงและ ล้มได้ง่าย  3. การเคลื่อนย้ายเครื่องแป้นหมุนไม่ควรดึงหรือลากเพื่อรักษาความเที่ยงตรงหรือ ศูนย์ของหัวแป้นและแกน รวมทั้งระนาบของพื้นผิวหัวแป้น  4. ไม่ควรวางวัตถุที่มีน้าหนักมากลงบนหัวแป้น โดยปกติแป้นหมุนที่ดีจะออกแบบ มาให้รับน้าหนักของก้อนดินได้มากพอสมควร การรับน้าหนักของหัว แป้นมากเกินไปจะทาให้ขาดความเที่ยงตรงของศูนย์และเสียระดับในแนวระนาบของพื้นผิวหัวแป้น
  • 18.  5. ไม่ควรวางวัตถุแหลมคมบนหัวแป้น เพราะเมื่อเครื่องทางานจะหมุนเหวี่ยง ทุกอย่างออกจากหัวแป้นทาให้ได้รับอันตรายได้  6. ควรทาความสะอาดเครื่องแป้นหมุนหลังการใช้งานเสมอ บริเวณหัวแป้นที่ทาจากเหล็กควรเช็ดให้แห้งหากปล่อยทั้งไว้จะเกิดสนิม และสนิมนี้จะปะปนไป อยู่ในเนื้อดินต่อไป  7. ควรหลีกเลี่ยงการใช้ปูนปลาสเตอร์กับเครื่องแป้นหมุน เนื่องจากเศษปูน ปลาสเตอร์ที่เข้าไปปนในเนื้อดินปั้นจะส่งผลทาให้เกิดตาหนิหลังเผาได้  8. การใช้งานเครื่องแป้นหมุนและเครื่องจักรที่ใช้มอเตอร์ทุกชนิด ผู้ใช้งานควรแต่ง กายรัดกุม ไม่ควรปล่อยผมและเครื่องแต่งกายอื่น เช่น แขนเสื้อ เน็ค ไท ชายเสื้อ เป็นต้น ให้ยาว รุ่มร่าม จนสามารถเข้าไปพันกับเครื่องได้